Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี

สาว ๆ หลายคนอาจจะเคยได้ยินเรื่องการสวมใส่เสื้อผ้าหลายชั้นหรือนักเดินป่าเรียกว่า Layer ที่เป็นกลยุทธ์การแต่งกายกลางแจ้งที่ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวาง สิ่งสำคัญคือการจัดลำดับชั้นของเสื้อผ้าซึ่งเสื้อผ้าแต่ละชั้นมีคุณสมบัติในการสวมใส่ที่เหมาะสมกับทั้งวัตถุประสงค์และสภาพอากาศที่แตกต่างกัน สามารถเพิ่มและถอดออกได้ เมื่อสภาพอากาศและกิจกรรมของคุณเปลี่ยนไป โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ชั้น ได้แก่ เสื้อผ้าชั้นฐาน (Base Layer), เสื้อผ้าชั้นกลาง (Mid Layer) และเสื้อชั้นนอก (Outer Layer) ค่ะ

สำหรับเสื้อผ้าชั้นฐานนั้นจะเป็นชิ้นที่แนบติดกับลำตัวและสัมผัสผิวหนังเราโดยตรง จึงควรดูดซับและระบายอากาศได้ดี รวมถึงสามารถปกป้องผิวจากการเสียดสีหรือรังสี UV ได้ด้วย ส่วนเสื้อผ้าชั้นกลางนั้นจะเป็นเสื้อคลุมเพื่อลดความร้อนออกจากร่างกาย หากเดินป่าในฤดูหนาวอาจใส่มากกว่าหนึ่งชั้นก็ได้ และสุดท้าย เสื้อชั้นนอกนั้นเป็นชั้นที่ต้องระบายอากาศได้เพียงพอ เน้นถอดเข้าออกได้สะดวกตามสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงควรสามารถกันลม ฝน หรือหิมะเข้าสู่เสื้อผ้าได้ด้วยค่ะ

Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี

Pelotonสมาชิก
โพสต์: 51ลงทะเบียนเมื่อ: 29 พ.ย. 2012, 07:02team: ThaiTLSBike: Look, Time, Wilier, Lapierre, Colnago, Brompton, Van Nicholas, ...

  • อ้างอิง

โดย Peloton » 15 เม.ย. 2013, 21:42

อยู่เมืองไทย base layer ไม่มีความจำเป็นเลยครับ จะทำให้อึดอัดมากขึ้นอีกตะหาก ร้อนอยู่แล้ว base layer เพิ่มก็ยิ่งร้อนไปใหญ่เลย
base layer ใช้เวลาปั่นตอนอากาศเย็นๆประมาณ 5-15 องศา แล้วก็ใส่ jersey ธรรมดาทับอีกชั้นนึง ถ้าอุณหภูมิต่ำกว่า 5 ก็ต้องมีกันลมแบบ thermal อีกชั้น

ถ้าเหงื่อเยอะ แนะนำซื้อ jersey แบบพอดีตัวหน่อย ผ้าดีๆ (castelli, nalini, skins, craft, campagnolo, mavic, gore, northwave,...) อะไรเทือกนี้ ชุดพวกนี้ซื้อมาเวลาซักใส่เครื่องซักผ้าแบบปั่นเบา ใส่ผงซักฟอก + น้ำยาฆ่าเชื้อโรคได้(กำจัดกลิ่นอับ) แต่ "ห้ามใส่ยาปรับผ้านุ่มเด็ดขาด" ใช้แล้วผ้าพังทันที ซับเหงื่อได้ไม่เท่าเดิม (ผ้ากีฬาทุกแบบ ห้ามใส่ปรับผ้านุ่ม จริงๆมันเขียนติดอยู่ทุกตัวเลยนะครับ) ถ้าเงินเหลือก็จัด assos ไปเลยครับ (ราคาชุดนึงน่าจะซื้อจักรยานได้เลยคันนึง)

The correct number of bikes to own is n+1 where n is the number of bikes currently owned...
- Velominati, keepers of the cog

Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี

Reyขาประจำ
โพสต์: 1586ลงทะเบียนเมื่อ: 13 ธ.ค. 2009, 04:28Bike: Dahon Mu P8

  • อ้างอิง

โดย Rey » 16 เม.ย. 2013, 01:44

minimalist เขียน:โอ้ว get ละครับ ขอบคุณทุกท่านมากครับ ^_^

เจ้า base layer น่าจะช่วยมนุษย์อย่างผมได้จริงๆ

Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี


ว่าแต่พวกเสื้อของ castelli, nalini มีใครนำเข้ามาขายมั่งมั้ยครับ หรือแค่ Funkier ก็พอ? คือโจทย์ผมไม่ใช่ราคาประหยัด ใส่สบาย แต่อยากให้รองรับความที่เจ้าเหงื่อบ้าที่ท่วมตัวง่ายเหลือเกิน นึกถึงสมัยเรียนชอบเตะบอล เล่นบาส ปิงปอง ฯลฯ ต้องพกโคโลญจ์ขวดเล็กๆ โฟมล้างหน้า กะผ้าเช็ดหน้าติดตัวตลอด
Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี

เท่าที่เห็นในบ้านเรา ผมเจอแต่ของก๊อปครับ(นานๆจะเจอของแท้เป็นของหิ้ว ราคาก็นะ 2-3000+) ส่วน Base Layer สำหรับขี่จักรยานที่เคยเห็นก็มีของ U.CR+ ไม่งั้นก็หาพวก Nike, Adidas ตามห้างก็ได้ครับ
ถ้าอยากได้ของแท้ สั่งเมืองนอกชัวร์สุดครับ จริงๆใช้ Base Layer ก็น่าจะช่วยได้เยอะแล้ว เสื้อตัวนอกใส่พวก Funkier ก็ได้ครับ
ถ้าไงลองซื้อ base layer มาลองสักตัว ถ้่าแก้ปัญหาได้ค่อยขยับขยายไปดู option อื่นๆจะประหยัดกว่าครับ
Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี

เมื่อออกไปเผชิญกับความหนาวเย็น คนกลางแจ้งอย่างเราต้องการเสื้อผ้าที่แตกต่างจากเครื่องกันหนาวของคนทั่วไป เมื่อมาจาก 3 สาเหตุก็คือ 

  1. เราไม่ได้อยู่นิ่งๆ กิจกรรมกลางแจ้งทำให้เราต้องเคลื่อนไหวอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเดิน, แบกของ, กางเต็นท์, ฯ
  2. อากาศกลางแจ้งแปรเปลี่ยนอยู่เสมอ อาจจะหนาวจัด, ฝนตก, ลมแรง, หิมะตก, หรืออาจจะแดดออกอุ่นขึ้นมากระทันหัน การที่เราอยู่กลางแจ้ง หมายถึงเราไม่สามารถวิ่งเข้าบ้าน หลบฝน, หลบลมแรง หรือวิ่งเข้าไปหาเครื่องทำความอุ่นในบ้านได้ เราอาจจะต้องอยู่กลางแจ้งกันทั้งกลางวันกลางคืน 
  3. เราจะมีข้อจำกัดในการนำเสื้อผ้ากันหนาวติดตัวไปได้ไม่มาก อาจจะมีได้แค่ชุดเดียว ทำให้อุปกรณ์กันหนาวที่เราใช้จะต้องสามารถปรับเปลี่ยนรับสภาพต่างๆให้ตลอดเวลา

ถ้าเราย้อนไปคิดให้รอบคอบและทำความเข้าใจกันสักนิด เราจะสรุปพื้นฐานของเสื้อผ้าที่จะทำให้ตัวเราอบอุ่นท่ามกลางความหนาวเย็นได้อยู่สามอย่างคือ

  1. เก็บกักความร้อนที่ร่างกายสร้างขึ้น เสื้อหนาวไม่ได้สร้างความร้อน มันเพียงแต่ทำหน้าที่เก็บความร้อนที่ร่างกายเราสร้างขึ้น 
  2. ลดการสูญเสียความร้อนที่เกิดขึ้นการไหลผ่านของสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น ลม, ฝน, หิมะ ฯ ซึ่งจะทำให้ร่างกายของเราสูญเสียความร้อนได้อย่างรวดเร็ว
  3. ลดการสูญเสียความร้อนจากการระเหยของเหงื่อ โดยปรกตแล้วเหงื่อมีหน้าที่หลักคือลดอุณหภูมิของร่างกายด้วยการระเหยจากผิวหนัง ซึ่งเป็นการดูดความร้อนและทำให้ผิวหนังเย็นลง ในสภาวะแวดล้อมที่หนาวเย็น เราอาจจะมีเหงื่อจากการใช้กำลัง แต่เราไม่ต้องการสูญเสียความร้อนไป
Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี

เมื่อเข้าใจพื้นฐานนี้แล้ว เราจะเห็นได้ชัดเลยว่า การใส่เสื้อหนาวหนาๆเพียงตัวเดียวให้อุ่นเลยนั้นอาจจะไม่เหมาะกับคนกลางแจ้งเท่าไหร่นักเพราะจะทำให้เราปรับเพื่อรับสภาพที่แปรเปลี่ยนได้ยาก

นั้นทำให้เราชาวกลางแจ้งจึงเลือกที่จะแต่งตัวเป็นชั้นหรือ Layer กัน โดยที่จะแบ่งเป็นทั้งหมด 4 ชั้นที่เราสามารถจะเลือกใช้ตามสถานะการณ์และสภาพอากาศ

  1. Base Layer หรือเสื้อผ้าชั้นที่ติดกับผิวหนัง
  2. Work Layer ซึ่งก็คือเสื้อผ้าปรกติที่เราใส่กัน
  3. Mid Layer หรือ Insulation Layer เป็นชั้นหลักที่จะสร้างความอบอุ่น
  4. Outer Layer หรือ Shell คือชั้นนอกสุด

ลองมาดูกันครับว่าแต่ละ Layer นั้นทำหน้าที่อะไรและเรามีตัวเลือกอะไรบ้าง

Base-Layer ขจัดความชื้นออกจากร่างกาย

  1. Base Layer หรือบางครั้งเรียกกันว่า Long John เป็นผ้าไม่หนานักที่ไม่ได้ทำหน้าที่เก็บกักความร้อน แต่ทำหน้าที่ ลดการสูญเสียความร้อนจากการระเหยของเหงื่อ  โดยการซับเหงื่อออกจากผิวหนัง, กระจายเหงื่อออก แล้วให้เหงื่อไประเหยออกจากตัววัสดุของ Base Layer แทน

    Base Layer ที่ดีจะต้องแนบชิดกับผิวหนังให้มากที่สุดเพื่อให้ซับเหงื่อได้เร็วและทั่วถึง, ต้องซับน้ำได้ดี และระเหยน้ำออกได้เร็ว

    วัสดุที่ดีที่สุดตามคุณสมบัตินี้อย่างหนึ่งก็คือผ้าที่ทอจากขนแกะ (wool) โดยเฉพาะขนแกะ Merino ที่เป็นขนแกะที่มีเส้นใยยาวและอ่อนนุ่มทำให้ไม่ค่อยระคายเคืองหรือคันเมื่อสวมติดกับผิวหนัง ผ้า Wool นี้มีข้อดีอีกอย่างก็คือมันจะไม่เก็บกลิ่น

    แต่ถ้าคุณแพ้ขนแกะ ก็ยังมี Base Layer ที่ทำจากวัสดุสังเคราะห์ดีๆให้เลือกได้
     
  • Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Keb Wool T-Shirt
    เสื้อชั้นแรกเนื้อผ้าขนแกะเส้นใยละเอียด
    ราคา 4,800 บาท
    https://thailandoutdoorshop.com/keb-wool-t-shirt-long-sleeve.html
  • Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Pine Half Zip
    เสื้อชั้นแรกเส้นใยโพลีเอสเตอร์
    ราคา 2,900 บาท
    https://thailandoutdoorshop.com/fjallraven-skare-half-zip.html

Work-Layer การเคลื่อนไหวที่สะดวก

2 )  Work Layer ก็คือเสื้อผ้าปรกติที่เราสวมใส่เพื่อปกป้องร่างกาย ซึ่งเราก็สามารถเลือกใส่ให้เข้ากับสภาพอากาศที่เราจะพบเจอได้ เช่นถ้าเป็นที่มีแดดแรง เราก็อาจจะเลือกเสื้อแขนยาวเพื่อปกป้องผิวจากแดด, ถ้าเส้นทางเป็นป่ารก หรือมีแมลงเยอะเราก็ควรจะเลือกกางเกงขายาว, ถ้าอากาศไม่หนาวมากก็ควรเลือกเสื้อที่ถ่ายเทอากาศและความชื้นได้ดี, ถ้าอากาศหนาวมากก็อาจจะเลือกที่เป็น Wool ซึ่งก็จะช่วยเก็บกักความร้อนเพิ่มได้อีกชั้นหนึ่ง

Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
  • Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Abisko Hike Shirt
    ราคา 3,500 บาท
    http://thailandoutdoorshop.com/abisko-hike-shirt-ls.html
  • Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Singi Trekking Shirt
    ราคา 3,600 บาท
    https://thailandoutdoorshop.com/singi-trekking-shirt.html
Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี

Mid-Layer เก็บความอุ่นจากร่างกาย

3) Mid Layer หรือ Insulation คือชั้นที่ทำหน้าที่เป็นฉนวนเพื่อเก็บกักความร้อนที่สร้างกายปล่อยออกมากเหมือนกับขนของสัตว์

เพื่อจะให้มีน้ำหนักเบาแต่อุ่นที่สุด การทำงานของเสื้อผ้าในชั้นนี้จะใช้วิธี เก็บกักอากาศไว้ให้เป็นฉนวนให้มากที่สุดแทนที่จะใช้เนื้อวัสดุที่หน้าและหนัก ดังนั้นเสื้อผ้าในชั้นนี้จะมีลักษณะที่มีเนื้อพองฟูเพื่อเก็บกักอากาศ 

Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
วัสดุขนห่านที่บุอยู่ในเสื้อ Down และ ถุงนอน / ผ้าห่ม Down

ถ้าอากาศไม่หนาวเย็นมาก ตัวเลือกที่ดีสำหรับชั้นนี้ก็คือเสื้อ Fleece ซึ่งมีลักษณะไม่หนาและหนักมากนัก ข้อดีอีกอย่างของเสื้อ Fleece ก็คือ มันเป็นเสื้อที่ดูแลรักษาง่ายและทนทานมาก

ถ้าอากาศหนาวเย็นมาก ตัวเลือกที่ดีก็คือเสื้อที่บุหน้าด้วยขนห่านหรือใยสังเคราะห์ ซึ่งเสื้อชนิดนี้จะทำให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อมันฟูตัว

แม้เราจะอยู่ในยุควัสดุ Hi-tech เพียงใด ขนห่านหรือขนเป็ด ที่เรียกว่า Down นั้นก็ยังเป็นวัสดุที่ทำเสื้อหนาวได้เบาและอุ่นที่สุด เพราะมันฟูตัวได้ปริมาณต่อน้ำหนักมากจนไม่มีวัสดุสังเคราะห์อะไรเทียบได้ (Down นั้นมีหลายเกรด ซึ่งมีผลให้ความอุ่นต่อน้ำหนักที่แตกต่างกันได้มาก)

แต่ขนห่านหรือขนเป็ดมีจุดอ่อนอยู่ที่เมื่อมันเปียกชื้น เส้นใยของมันที่อมน้ำจะยุบตัวและสูญเสียคุณสมบัติในการรักษาความร้อนไป 

เสื้อที่ใช้ใยสังเคราะห์ถ้าจะให้อุ่นเท่ากันจะมีน้ำหนักมากกว่าและเก็บไม่ได้เล็กเท่าเสื้อ Down แต่ก็มีข้อดีที่มันไม่กลัวความชื้น หรือแม้ว่าจะเปียกแล้วก็สามารถทำให้แห้งและคืนสภาพได้ง่ายๆ 

  • Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Keb Paded Jacket
    เสื้อกันหนาวบุใยสังเคราะห์
    ราคา 9,500 บาท
    https://thailandoutdoorshop.com/keb-lite-jacket-w.html
  • Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Greenland Down Liner Jacket
    เสื้อขนห่าน ไม่มีฮูด
    ราคา 11,500 บาท
    https://thailandoutdoorshop.com/keb-lite-jacket-w.html
  • Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Keb Touring Down Jacket
    เสื้อขนห่านสำหรับเทร็คกิ้ง
    ราคา 16,500 บาท
    https://thailandoutdoorshop.com/catalogsearch/result/?q=Keb+Touringhttps%3A%2F%2Fthailandoutdoorshop.com%2Fcatalogsearch%2Fresult%2F%3Fq%3DKeb+Touring
  • Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
    Keb Expeditiondown Jacket
    เสื้อขนห่านสำหรับค่ำคืนที่หนาวเหน็บในบนภูเขาหิมะ
    ราคา 27,000 บาท

Outer-Layer

4) Outer Layer หรือ Shell ทำหน้าที่ป้องกันการสูญเสียความร้อนจากการไหลผ่านของลมหรือการเปียกจากฝน 

Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี
Base layer ยี่ห้อ ไหน ดี

วัสดุที่ใช้ทำ Outer Layer ที่ดีคือวัสดุที่ไม่ยอมให้ลมผ่าน,​กันน้ำ แต่สามารถให้ความชื้นระเหยออกจากด้านในได้ ฟังดูเหมือนไม่น่าเป็นไปได้แต่มีครับ

วัสดุที่มีคุณสมบัติแบบนี้มีอยู่ 2 กลุ่ม ก็คือ 

  • วัสดุดั้งเดิมที่อาจจะทำผ้าแต่เคลือบวัสดุกันน้ำเสริมเข้าไป

    วัสดุที่น่าสนใจในกลุ่มนี้คือ G-1000 ของ Fjallraven ที่ประดิษมาแล้วกว่า 50 ปีเป็นการทอเส้นใยที่ผสมผสานกันระหว่างผ้าฝ้ายและใยสังเคราะห์แล้วเคลือบด้วยขี้ผึ้งสูตรพิเศษที่ทำให้มันสามารถกันน้ำกันลมได้ดีโดยที่ยังคงระบายความชื้นได้ แม้จะกันฝนหนักไม่ได้ 100 แต่ข้อดีก็คือมันดูแลรักษาง่ายมาก, ทนทานมาก และไม่กลัวสะเก็ดไฟ
  • วัสดุสังเคราะห์สมัยใหม่ที่กันน้ำแต่มีชั้นเมมเบรนที่ทำหน้าที่ดูซับความชื้นและระเหยความชื้นผ่านเนื้อผ้าออกไปได้

    Ecoshell จาก Fjallraven เป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดอย่างหนึ่ง วัสดุนี้กันน้ำถึง 30,000 ม.ม. ซึ่งก็หมายถึงว่าแม้จะเจอกับฝนที่ตกหนัก กระแทกใส่เนื้อผ้าแรงแค่ไหน มันก็ยังกันน้ำได้สนิท และมีความสามารถที่จะระบายความชื้นออกไปสู่ผิวด้านนอกได้ดีมากอีกด้วย

เมื่อเราเข้าใจหน้าที่ของทั้งสี่ชั้นดีแล้วเราก็สามารถเลือกใช้และประกอบชั้นต่างๆเข้าด้วยกันในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมแม้เราจะมีเสื้อผ้ากันหนาวเพียงชุดเดียว เช่น