ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

รายละเอียดและเงื่อนไข สำหรับ ซื้อผ่านสาขาและKrungthai Next

เงื่อนไขการพิจารณารับประกัน

รายละเอียดเงื่อนไขการรับประกันอายุรับประกันภัย55 – 80 ปี (ต่ออายุถึง 99 ปี)คุณสมบัติของผู้ขอเอาประกันภัยต้องมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งพิการ หรือวิกลจริต ณ วันที่กรมธรรม์มีผลบังคับการปรับเบี้ยประกันภัยบริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการปรับค่าเบี้ยประกันภัยตามข้อมูลจำนวนผู้เอาประกันและจำนวนสินไหมที่เกิดขึ้นจริง และขอสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนเบี้ยประกันภัย หากมีการเปลี่ยนแปลงของเงื่อนไขและ/หรือข้อมูลอันมีผลทำให้ความเสี่ยงภัยสูงขึ้นเงื่อนไขอื่นๆ

  1. ซื้อได้ไม่เกิน 1 กรมธรรม์ต่อคน
  2. ผลประโยชน์และเงื่อนไขอื่นๆ เป็นไปตามข้อกำหนดและเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัย

เงื่อนไขการรับประกันอายุรับประกันภัย55 – 80 ปี (ต่ออายุถึง 99 ปี)คุณสมบัติของผู้ขอเอาประกันภัยต้องมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งพิการ หรือวิกลจริต ณ วันที่กรมธรรม์มีผลบังคับการปรับเบี้ยประกันภัยบริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการปรับค่าเบี้ยประกันภัยตามข้อมูลจำนวนผู้เอาประกันและจำนวนสินไหมที่เกิดขึ้นจริง และขอสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนเบี้ยประกันภัย หากมีการเปลี่ยนแปลงของเงื่อนไขและ/หรือข้อมูลอันมีผลทำให้ความเสี่ยงภัยสูงขึ้นเงื่อนไขอื่นๆ

  1. ซื้อได้ไม่เกิน 1 กรมธรรม์ต่อคน
  2. ผลประโยชน์และเงื่อนไขอื่นๆ เป็นไปตามข้อกำหนดและเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัย


  • ผู้ซื้อควรทำความเข้าใจในรายละเอียด ความคุ้มครอง และเงื่อนไขก่อนตัดสินใจทำประกันภัย
  • รับประกันภัยโดยบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน)
    ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี
  • ธนาคารเป็นเพียงนายหน้าประกันวินาศภัยผู้ชี้ช่องให้ทำประกันวินาศภัยเท่านั้น
  • ผลประโยชน์เงื่อนไขความคุ้มครองและข้อยกเว้นเป็นไปตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย โปรดศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมในกรมธรรม์
  • บมจ.ธนาคารกรุงไทย ในฐานะนายหน้านิติบุคคล ใบอนุญาตเลขที่ ว0009/2548

1. อายุรับประกัน : 50 - 70 ปี
2. ระยะเวลาเอาประกันภัย : ถึงอายุ 90 ปี
3. ระยะเวลาการชำระเบี้ยประกันภัย : ถึงอายุ 90 ปี
4. จำนวนเงินเอาประกันภัยขั้นต่ำ : 50,000 บาท
5. การชำระเบี้ยประกันภัย : รายปี ราย 6 เดือน ราย 3 เดือน และ รายเดือน
6. ไม่ตรวจสุขภาพ ไม่ต้องแถลงสุขภาพ

- "ไทยประกันชีวิต บุพการีมีเงินใช้ (เพื่อผู้สูงอายุ)" เป็นชื่อทางการตลาด ส่วนในกรมธรรม์เป็นชื่อแบบประกัน "เอ็กซ์ตร้า ซีเนียร์ (Extra Senior) (เพื่อผู้สูงอายุ)"
- เพื่อสิทธิประโยชน์สูงสุดของท่าน ควรถือกรมธรรม์จนครบกำหนดสัญญา และผลประโยชน์ที่ได้รับจากกรมธรรม์ประกันชีวิตจะไม่มีการหักภาษีใดๆ ทั้งสิ้น และเป็นเงินปลอดหนี้ เจ้าหนี้ไม่มีสิทธิ์ยึดได้ ยกเว้นเท่าจำนวนเบี้ยประกันภัยที่จ่ายไปเท่านั้น
- ควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ อีกทั้งต้องแถลงข้อมูลตามความเป็นจริงในเอกสารขอเอาประกันภัย เพื่อผลประโยชน์สูงสุดของท่าน
- ข้อมูลนี้เป็นเพียงการสรุปเงื่อนไขและความคุ้มครองโดยสังเขป บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลง เงื่อนไข ความคุ้มครอง โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การพิจารณารับประกันของบริษัทฯ ทั้งนี้ เงื่อนไข และความคุ้มครองอย่างสมบูรณ์จะถูกระบุอยู่ในกรมธรรม์ที่ท่านซื้อไว้เท่านั้น

การทำประกันในปัจจุบันมีหลากหลายประเภทและความคุ้มครอง ยิ่งความคุ้มครองและผลตอบแทนสูง เงื่อนไขที่จำเป็นก็ต้องสูงตามไปด้วย ซึ่งเงื่อนไขที่สำคัญอย่างมากนั่นก็คือสุขภาพของผู้เอาประกันก่อนการทำประกัน เพื่อไม่ให้บริษัทประกันเสียผลประโยชน์ แต่สำหรับประกันผู้สูงอายุ บริษัทประกันได้คำนวณความเสี่ยงในอีกรูปแบบหนึ่ง อีกทั้งยังมีเงื่อนไขที่รองรับสภาพร่างกายผู้สูงอายุแต่แรกอยู่แล้ว ดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้องตอบคำถามและตรวจสุขภาพแต่อย่างใด

แน่นอนว่าการไม่ต้องตรวจสุขภาพอาจจะฟังดูสะดวกและรวดเร็วกว่าในการทำประกัน แต่เบี้ยประกันก็มีแนวโน้มจะสูงกว่าประกันแบบที่ต้องตรวจสุขภาพด้วยเช่นกันค่ะ หากคุณเป็นคนที่สุขภาพแข็งแรงไม่ได้มีโรคประจำตัว การเลือกทำประกันแบบไม่ต้องตรวจสุขภาพอาจทำให้ท่านจ่ายเบี้ยสูงโดยไม่จำเป็นค่ะ

ไม่ว่าจะซื้อประกันสุขภาพให้ตัวเองหรือซื้อประกันให้พ่อแม่ในวัยใกล้เกษียณ แต่ตัวเลือกและเบี้ยประกันสุขภาพผู้สูงวัยดูสูงมากจนน่าตกใจ หลายคนอาจเริ่มสงสัยว่าจะจัดการอย่างไรกับค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพของพ่อแม่ หรือค่ารักษาพยาบาลหลังเกษียณของตัวเองแบบไหนดี จะยังมีประกันสุขภาพที่ตอบโจทย์คนที่อายุมากกว่า 60 ปีอยู่บ้างไหม?

แรบบิท แคร์ รวบรวมแนวทางการจัดการค่ารักษาพยาบาลด้วยการเลือกซื้อประกันสุขภาพผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่ชาว Pantip แนะนำมาฝากกัน

สมัครประกันสุขภาพกับน้องแคร์ รับบริการปรึกษาแพทย์ฟรี! ไม่ต้องไปโรงพยาบาล

เลือกแผนประกันสุขภาพที่คุณสนใจ

IPD/OPDโรคเฉพาะอุบัติเหตุ

ชื่อนามสกุล

หมายเลขโทรศัพท์

Δ

1. เลือกทำประกันสุขภาพผู้สูงอายุก่อนอายุ 55-60 ปี

สำหรับใครที่กำลังมองหาประกันสุขภาพให้กับตัวเองหรือพ่อแม่ที่อายุใกล้ครบ 60 ปีนั้น การตัดสินใจทำประกันสุขภาพตั้งเเต่เนิ่นๆ นับเป็นความคิดที่ดีสำหรับการเตรียมรับมือกับค่ารักษาพยาบาลในวันที่อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป เพราะนอกจากจะการันตีการรับประกันภัยในวันที่สุขภาพร่างกายยังแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่มีประวัติโรคที่ทำให้บริษัทประกันภัยต้องปฏิเสธการรับทำประกันสุขภาพ และให้ความคุ้มครองต่อเนื่องยาวนานไปได้สูงสุดถึงอายุ 80 ปี ตามเงื่อนไขของแต่ละบริษัทประกันเเล้ว

การตัดสินใจซื้อประกันสุขภาพก่อนช่วงอายุ 55-60 ปี ยังช่วยเพิ่มอิสระในจัดการค่ารักษาพยาบาลได้จากทั้งแบบประกันสุขภาพและประกันชีวิตผู้สูงอายุ 60 ขึ้นไป รูปแบบอื่นๆ ที่มีให้เลือกหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นประกันสุขภาพเหมาจ่ายที่ครอบคลุมการรักษาทั้งแบบผู้ป่วยใน (IPD) และผู้ป่วยนอก (OPD) ประกันสุขภาพโรคร้ายแรงที่ให้ความคุ้มครองมะเร็งและโรคร้ายแรง

หรือประกันชีวิตผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไปที่ชาว Pantip แนะนำ เช่น ประกันออมทรัพย์ที่อาจสมัครได้ถึงอายุ 70 ปี ซึ่งจะคืนเงินก้อนพร้อมผลประโยชน์ในระยะเวลาที่กำหนด รวมถึงประกันชีวิตบำนาญที่จะทยอยคืนเงินให้รายเดือนในวันที่เริ่มเกษียณ

จุดที่ต้องวางแผนเมื่อตัดสินใจซื้อประกันสุขภาพ คือ การวางแผนจ่ายเบี้ยประกันสุขภาพต่อเนื่องในระยะยาว และผู้รับภาระค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะกรณีที่ลูกซื้อประกันสุขภาพให้กับพ่อแม่สูงวัย เพราะแม้ว่าเบี้ยประกันสุขภาพที่ต้องจ่ายในช่วงเริ่มต้นเมื่ออายุยังน้อย จะมีเบี้ยประกันที่ไม่สูงมาก

แต่เมื่ออายุเพิ่มขึ้น เบี้ยประกันสุขภาพย่อมสูงขึ้นตาม ทำให้เบี้ยที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามอายุที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึงหากต้องรับผิดชอบจ่ายเบี้ยประกันให้คนอื่นๆ ในครอบครัวร่วมด้วย อาจนำไปสู่ภาระทางการเงินที่มากเกินไป และอาจนำไปสู่การขาดส่งเบี้ยประกันกลางคันซึ่งทำให้เสียสิทธิรักษาพยาบาลจากประกันสุขภาพตามที่ตั้งใจทำไว้ได้

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

2. เลือกทำประกันสุขภาพผู้สูงอายุที่มีอายุรับสมัครถึง 65 ปี

กรณีที่ต้องการซื้อประกันสุขภาพให้พ่อแม่หรือตนเองเมื่ออายุเกินช่วง 55- 60 ปีไปแล้วนั้น อาจจะยังสามารถเลือกซื้อประกันสุขภาพได้อยู่ แต่ประเด็นสำคัญที่ผู้สนใจทำประกันสุขภาพผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปจะต้องไม่ลืมนึกถึง คือ ตัวเลือกประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่มีอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป จะมีให้เลือกน้อยลง โดยจะมีเฉพาะกลุ่มประกันสุขภาพผู้สูงอายุที่มีอายุรับสมัครทำประกันใหม่ถึง 65 ปีให้เลือกเท่านั้น

อย่างที่ทราบกันดีว่าประกันสุขภาพโดยส่วนใหญ่แล้วจะเปิดรับสมัครประกันภัยถึงช่วงอายุระหว่าง 55-60 ปีเท่านั้น ทำให้ตัวเลือกแบบประกันสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ทำประกันที่อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไปที่สามารถเลือกซื้อได้นั้น อาจมีเงื่อนไขความคุ้มครองที่มีข้อจำกัดมากขึ้น อาจมีค่าเบี้ยประกันสูงกว่าปกติ รวมถึงอาจไม่สามารถทำประกันสุขภาพได้ เนื่องจากอาจมีปัญหาสุขภาพรุมเร้าในวันที่ตัดสินใจทำประกันเมื่ออายุเกิน 60 ปีไปเเล้วนั่นเอง

อย่างไรก็ตาม หากสามารถทำประกันสุขภาพเพื่อผู้สูงอายุได้ทันในช่วงอายุไม่เกิน 65 ปี อาจจะสามารถต่ออายุความคุ้มครองได้ต่อเนื่องไปจนถึงช่วงอายุ 70-80 ปี ทำให้ได้รับความคุ้มครองไปต่อเนื่องอีกระยะหนึ่ง แต่หากต้องการทุนความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลที่สูงหลักล้านเพื่อให้เพียงพอต่อค่ารักษาพยาบาลในปัจจุบัน อาจต้องเเลกมาด้วยเบี้ยประกันที่สูงเฉลี่ยหลักครึ่งแสนก็เป็นได้

แม้ว่าตัวเลือกประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุจะมีให้เลือกน้อยลงเมื่อผู้ทำประกันมีอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป แต่ผู้ที่สนใจยังสามารถติดต่อขอรับคำปรึกษาหรือคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญของโบรคเกอร์ พร้อมเลือกเปรียบเทียบแบบประกันสุขภาพเพื่อผู้สูงอายุที่โบรคเกอร์ประกันภัยรวบรวมจากทุกบริษัทชั้นมาไว้ให้ได้เปรียบเทียบด้วยตัวเอง ซึ่งจะช่วยประหยัดเวลาในการไล่เปรียบเทียบแบบประกันจากแต่ละบริษัทด้วยตัวเอง

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

3. เลือกใช้สิทธิรักษาพยาบาลของรัฐ

หากเช็กดูเเล้วพบว่าประกันสุขภาพแบบเหมาจ่ายหรือประกันออมทรัพย์อาจไม่ใช่ทางเลือกสำหรับการจัดการสิทธิการรักษาพยาบาลให้กับพ่อแม่หรือตนเอง ไม่ว่าจะเป็นข้อจำกัดทางด้านการเงิน หรือเงื่อนไขอายุที่เกินช่วงอายุรับประกันสุขภาพไปแล้ว

“สิทธิรักษาพยาบาลของรัฐ” นับเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่หลายๆ คนอาจมองข้ามไป ไม่ว่าจะเป็นสิทธิบัตรทอง หรือสิทธิประกันสังคม ซึ่งเป็นสิทธิการรักษาขั้นพื้นฐานที่ไม่มีข้อจำกัดด้านอายุในการใช้สิทธิรักษา ให้ความคุ้มครองการรักษาตั้งเเต่อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ไปจนถึงการผ่าตัดใหญ่ หรือแม้กระทั่งการรักษามะเร็งร้ายแรง ให้การรักษาทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อเนื่อง ไม่มีข้อจำกัดเรื่องเงื่อนไขประวัติโรคที่เป็นมาก่อนเข้าใช้สิทธิ์รับการรักษา รวมถึงค่าธรรมเนียมร่วมจ่ายค่าบริการเริ่มต้นที่ 30 บาทเท่านั้น ซึ่งเป็นข้อแตกต่างสำคัญจากประกันสุขภาพ

อย่างไรก็ตาม การใช้สิทธิรักษาพยาบาลของรัฐอาจมีเงื่อนไขในและข้อจำกัดอยู่บ้างพอสมควร เช่น การเลือกโรงพยาบาลที่จะใช้สิทธิ์ในการเข้ารับการรักษา จากกรณีที่ต้องเข้ารับการรักษา ณ โรงพยาบาลที่ลงทะเบียนสิทธิการรักษาบัตรทอง 30 บาทไว้ หรือการเบิกจ่ายยาและเวชภัณฑ์ที่จำกัด ด้วยตัวยาและอุปกรณ์ที่ใช้ในการรักษาจะต้องอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติที่กำหนดเท่านั้น

หากต้องใช้ยาหรือเวชภัณฑ์ที่อยู่นอกบัญชีฯ จะต้องร่วมจ่าย (Co-pay) หรือจ่ายค่าใช้จ่ายส่วนเกินเอง รวมถึงการใช้สิทธิพยาบาลบัตร 30 บาท จะไม่มีค่าชดเชยกรณีขาดรายได้ อาจต้องรอทำนัดหมายล่วงหน้าก่อนได้พบแพทย์หรือได้เข้ารับการผ่าตัด หรืออาจจะไม่สามารถเลือกห้องพิเศษได้เหมือนกับประกันสุขภาพ

บทสรุปส่งท้าย

เมื่อตัดสินใจเลือกใช้สิทธิรักษาพยาบาลของรัฐเป็นสิทธิในการรักษาหลักให้กับพ่อแม่หรือตนเอง แทนการมีประกันสุขภาพผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปแล้วนั้น การมีประกันความเสี่ยงในด้านอื่นๆ นอกเหนือจากประกันสุขภาพแบบเหมาจ่ายยังเป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้ามไป ไม่ว่าจะเป็นประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล ประกันชีวิตผู้สูงอายุ หรือแม้กระทั่งประกันไข้เลือดออกที่ยังให้ความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลเมื่อต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลอยู่บ้างเช่นกันเมื่อเกิดเหตุ

แรบบิท แคร์ สรุปมาให้แล้วว่าประกันสุขภาพผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไปที่ชาว Pantip ลงความเห็นว่าไม่ว่าจะตัดสินใจเลือกซื้อประกันสุขภาพให้พ่อแม่หรือตัวเองเพื่อจัดการค่ารักษาพยาบาล หรือตัดสินใจไม่ถูกว่าจะวางแผนจัดการค่ารักษาพยาบาลอย่างไรดี

สามารถขอรับคำปรึกษาก่อนตัดสินใจได้ฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่าย! จากเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญของ แรบบิท แคร์ หรือ

เปรียบเทียบประกันสุขภาพจากทุกบริษัทชั้นนำได้ด้วยตัวเองทันที พร้อมรับสิทธิพิเศษขอรับคำปรึกษาจาก แพทย์ผู้เชี่ยวชาญผ่านวีดีโอคอล (Health Caresultant) เฉพาะลูกค้าที่เลือกซื้อประกันสุขภาพ โทร.1438 หรือ https://rabbitcare.com/

ผ่อนสบาย! ซื้อประกันรถทุกชั้น ผ่อน 0% นานสูงสุด 10 เดือน

เลือกยี่ห้อรถของคุณ

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

Toyota

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

Nissan

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

Mitsubishi

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

Mazda

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

Isuzu

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

Honda

ชื่อนามสกุล

หมายเลขโทรศัพท์

เจ้าหน้าที่ของแรบบิท แคร์ หรือ เอเชียไดเร็ค อินชัวรันส์ โบรคเกอร์* จะติดต่อกลับหาคุณภายใน 24 ชม.
หมายเหตุ *บริษัท เอเชียไดเร็ค อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ จำกัด เป็นบริษัทในเครือของแรบบิท แคร์

Δ

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

บทความแคร์เรื่องประกันสุขภาพ

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

แคร์เรื่องประกันสุขภาพ

ปวดท้องเมนส์-ปวดท้องประจำเดือน เสี่ยงเป็นอะไร แบบไหนที่ควรพบแพทย์?

ปวดท้องเมนส์ หรือ ปวดท้องประจำเดือน เป็นอาการที่พบได้บ่อยในผู้หญิงในช่วงเวลามีประจำเดือน

verygoodview

08/05/2023

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

แคร์เรื่องประกันสุขภาพ

ทำประกันต้องตรวจสุขภาพก่อนหรือไม่? ตรวจอะไรบ้าง? ใช้สิทธิ์ตรวจสุขภาพประกันสังคมได้หรือไม่?

ยังคงเป็นคำถามคาใจของใครหลาย ๆ คน อยู่ไม่น้อย สำหรับการขอทำประกัน ไม่ว่าจะเป็นประกันชีวิต หรือประกันสุขภาพ

Watcharaporn Phinyo

31/10/2022

ประกันชีวิต คน แก่ แบบ ไหน ดี

แคร์เรื่องประกันสุขภาพ

ซื้อประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล (PA) ที่ไหนดีให้คุ้มและเหมาะกับตัวเราที่สุด?

ประกันอุบัติเหตุ คือ ประกันรูปแบบหนึ่งที่ให้ความคุ้มครองเมื่อบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุที่ไม่คาดฝัน

อายุ65ทําประกันชีวิตได้ไหม

ช่วงอายุที่ผู้สูงอายุสามารถทำประกันได้อยู่ในช่วงอายุ ตั้งแต่ 50-70 ปี โดยจะได้รับความคุ้มครองยาวไปจนถึงอายุ 80 ปี 90 ปี หรือยาวนานจนตลอดชีพ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของแต่ละบริษัทประกัน

อายุ 70 ปี ทํา ประกันชีวิต ได้ ไหม

อายุ : 70 ปี ก็ทำได้ – เบี้ยประกันชีวิตคงที่ตลอดอายุสัญญา – สมัครง่าย : ไม่ต้องตรวจหรือตอบคำถามสุขภาพ – ค่าเบี้ยประกันภัย : สามารถนำมาใช้เป็นสิทธิประโยชน์ทางภาษีได้สูงสุดไม่เกิน 100,000 บาทต่อปี (ทั้งนี้ให้เป็นไปตามเงื่อนไขของกรมสรรพากร)

ผู้สูงอายุทำประกันชีวิตได้ไหม

1. ช่วงอายุที่ทำประกันชีวิตผู้สูงวัยได้ ประกันชีวิตแบบบำนาญ ทำได้จนถึงอายุ 50 ปี ประกันชีวิตสะสมทรัพย์ ทำได้ก่อนอายุ 50 ปีจนถึง 70 ปี ประกันอุบัติเหตุผู้สูงอายุ ทำได้จนถึงอายุ 75 ปี

ประกันชีวิตผู้สูงอายุ กี่บาท

ประกันชีวิตผู้สูงอายุสำหรับผู้สูงอายุ 50 - 75 ปี ไม่ต้องตรวจสุขภาพ คุ้มครองชีวิตสูงสุด 500,000 บาทเบี้ยประกันเริ่มต้นปีละ 5,510 บาทประกันชีวิตผู้สูงอายุวัยเก๋า สำหรับผู้สูงอายุ 50-75 ปี ไม่ตรวจสุขภาพมั่นใจได้ง่าย ๆ ด้วยเบี้ยประกันชีวิตผู้สูงอายุวัยเก๋าเบี้ยคงที่ตลอดสัญญา ไม่เป็นภาระแก่คนข้างหลัง ด้วยความคุ้มครองเสีย ...