สถิติ มี กี่ ประเภท อะไร บาง

:: ���й�����ҧʶԵ� >> ��ɮ�����º�Ը�ʶԵ� >
สถิติ มี กี่ ประเภท อะไร บาง
�ͺ���¢ͧʶԵ�

1.2 �ͺ���¢ͧʶԵ�


1.2.1 㹡óշ��ʶԵ� ���¶֧ ������ʶԵ�

������ʶԵ����ͺ������᷺�ءᢹ��ͧ�Ԫҡ��㹡Ԩ������ҧ� �ͧ��ô�ç���Ե��Ш��ѹ ����ҧἹ ��ú����çҹ ��õԴ����� �繵�

�ǧ���ʶԵԢͧ�Ѱ��� �����Ң�����ʶԵԹ��� ��������ѡɳТͧ�ž�����ҡ��ú����çҹ ���ͨѴ�Ӣ�������͡��ʶԵ��µç ����ö��ṡ������ʶԵ� �ѧ����� �͡�� 23 �ҢҴ��¡ѹ ���
•  ʶԵԻ�Ъҡ�������
•  ʶԵ��ç�ҹ
•  ʶԵԡ���֡�� ��ý֡ͺ�� ��ʹ�����Ѳ����� ����֧ʶԵ����������Ū�
•  ʶԵԴ�ҹ�آ�Ҿ
•  ʶԵ����ʴԡ���ѧ��
•  ʶԵ�����ǡѺ˭ԧ��Ъ��
•  ʶԵ�����������¨��¢ͧ�������͹
•  ʶԵԴ�ҹ�ѧ�� ��Ъҡ���ʵ�� ���ʶԵ���� � �������Ǣ�ͧ
•  ʶԵԺѭ�ջ�ЪҪҵ�
•  ʶԵԡ���ɵ� ��û�������С�û����
•  ʶԵ��ص��ˡ����������ͧ���
•  ʶԵԾ�ѧ�ҹ
•  ʶԵԡ�ä���� ��һ�ա��С�ä�������ҧ�����
•  ʶԵԡ�â���
•  ʶԵԡ�ä��Ҥ�
•  ʶԵԡ�÷�ͧ�����
•  ʶԵԡ���Թ ��ø�Ҥ�� ��û�Сѹ��� ��д�š�ê����Թ
•  ʶԵԡ�ä�ѧ
•  ʶԵ��Ҥ�
•  ʶԵԴ�ҹ�Է����ʵ�� ෤���������Է�Ժѵ�
•  ʶԵԴ�ҹ���ɰ�Ԩ��� �
•  ʶԵԴ�ҹ��Ѿ�ҡø����ҵ��������Ǵ����
•  ʶԵ��صع����Է��

1.2.2 㹡óշ��ʶԵ� ���¶֧ ʶԵ���ʵ�� (Statistics)

�Ԫ�ʶԵ��բͺ���¡��ҧ��ҧ �������Ǣ�ͧ�Ѻ��ʵ������ ����ᢹ� �� ��Ե��ʵ�� �Է����ʵ�� ��á�Է�� ���ɰ��ʵ�� ��ú����� �繵� �֧�ռ�����ӨӡѴ�����ͧ�Ԫҡ��ʶԵԢ���������

� �Ԫ�ʶԵ����Է����ʵ��ͧ��õѴ�Թ�㹷�����ҧ���������͹ � 㹡���֡���Ԫ�ʶԵ� �ѡ���Ң�����������͡�� 2 ᢹ��˭� � ���

1. �Ըա�÷ҧʶԵ�
(Statistical Methods) �����㹡�������������������ö���͡�� 2 ��ǹ ���
•  ʶԵԾ�ó�� (Descriptive Statistic) ���Ըա�÷ҧʶԵ�����ǡѺ����º�Ըշ����㹡�����Ǻ��������� ��èѴ����º������ ��ù��ʹ͢����� �������������������ҧ���� ��С����ػ�Ţ�����
•  ʶԵ�͹��ҹ (Inferential Statistic) �繡��������������Ũҡ������ҧ������Ǻ���������͹��ҹ������ػ�������Ъҡ� �����Ըա�÷ҧʶԵ� �� ��û���ҳ��� (Estimation) ��÷��ͺ����԰ҹ (Hypothesis Testing) �繵�

2. ��ɮ�ʶԵ� (Statistical Theory) �繡���֡����ѡ�Ԫ� ����Ըա�÷ҧ��Ե��ʵ�� �����㹡�þѲ�����ʹѺʹع�����١��ͧ����ó�ͧ����º�Ը�ʶԵ�

 
 

ประเภทของสถิติ

ประเภทของสถิติ

1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็นสถิติเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลหรือการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ หรือคำอธิบายการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ เพื่อแสดงความหมายในเชิงจำนวนหรือปริมาณของสิ่งต่างๆ เช่น เพศ ความสูง อายุ น้ำหนัก รายได้ เป็นต้น หรืออาจแสดงความหมายในเชิงคุณภาพ เช่น เจตคติต่อวิชาชีพ การนับถือศาสนา เป็นต้น การนำข้อมูลเหล่านี้มาจัดจำแนกตามประเภท ลักษณะ และจุดมุ่งหมายที่ผู้วิจัยต้องการทราบในรูปแบบของแผนภูมิหรือแผนภาพต่างๆ ก่อนตีความหมายเพื่อให้เข้าใจความหมายในธรรมชาติและลักษณะของข้อมูลเหล่านั้น สถิติเชิงพรรณนาจึงเป็นเพียงวิธีการหาข้อสรุปจากข้อมูลเท่านั้น ไม่มีเทคนิคพิเศษอะไรที่จะนำมาช่วยในการตีความหมายแต่อย่างใด

2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เป็นเทคนิคการแก้ปัญหาอีกระดับหนึ่ง ที่มีความยุ่งยากกว่าสถิติเชิงพรรณนา และไม่ใช้สามัญสำนึกอย่างที่ใช้ในวิธีการของสถิติพรรณนา วิธีการทางสถิติเชิงอนุมานจึงเป็นวิธีของการหาข้อสรุป (Infer) จากข้อมูลจำนวนมากของประชากรที่ได้จากการศึกษาข้อมูลจำนวนน้อยๆ ของกลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการสุ่มมาจากประชากรกลุ่มนั้น ตัวอย่างเช่นผู้บริหารต้องการทราบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชายและหญิงที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในจังหวัดที่สังกัดสำนักสำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ มีความแตกต่างกันหรือไม่ จึงได้ทำการสุ่มเลือกนักเรียนชันประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 860 คน เพื่อทำแบบทดสอบวิชาคณิตศาสตร์ จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ผลที่ได้จากการศึกษากับกลุ่มตัวอย่าง 860 คน สามารถนำไปอธิบายนักเรียนทั้งจังหวัดได้ จุดมุ่งหมายของสถิติอนุมาน คือ การศึกษาคุณสมบัติของประชากรโดยใช้ความรู้ที่ได้จากการศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมาจากประชากรกลุ่มเดียวกัน สถิติอนุมานยังแบ่งออกได้เป็น 2ประเภท คือ

2.1 สถิติอนุมานแบบดั้งเดิม (Classical Inferential Statistics) เป็นสถิติอนุมานที่ใช้ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างในการคำนวณ และประมาณค่าสถิติต่างๆ
2.2 สถิติอนุมานแบบเบย์ (Bayesian Inferential Statostics) เป็นสถิติอนุมานที่ใช้ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างและข้อมูลจากการประมาณค่าแบบเบย์ในการคำนวณและประมาณค่าสถิติต่างๆ

3. สถิติว่าด้วยเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง (Sampling Techniques) เป็นเทคนิคทางสถิติที่ใช้เพื่อการอธิบายการแจกแจงแบบต่างๆ ของประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ถูกนำไปใช้เพื่อการสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างจากประชากร ซึ่งจากการแจกแจงของประชากรจะมีผลต่อการเลือกใช้สถิติ

4. สถิติว่าด้วยความสัมพันธ์และการพยากรณ์ (Relationship and Prediction) เป็นวิธีการทางสถิติอนุมานที่ใช้เพื่อการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามที่ผู้วิจัยต้องการศึกษากับกลุ่มของตัวแปรอิสระอื่นๆ โดยความสัมพันธ์ของตัวแปรที่นำมาศึกษาต้องมีลักษณะเป็นเส้นตรง

ที่มา:http://301math.exteen.com/20080120/entry

สถิติ (Statistics) มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

จากความหมาย สถิติ เป็น ศาสตร์ ที่มีองค์ประกอบ 1. การเก็บรวบรวม 2. วิเคราะห์ข้อมูล 3. หาข้อสรุป ประเภทของสถิติ สถิติมี2 ประเภท คือ สถิติเชิงพรรณนา(หรือสถิติบรรยาย) Descriptive statistics และ สถิติเชิงอนุมาน(หรือสถิติอ้างอิง) Inferential statistics สถิติเชิงพรรณนา คือ การวิเคราะห์ขั้นต้น ที่มุ่งวิเคราะห์เพื่ออธิบายลักษณะ ...

สถิติคืออะไร มีความสําคัญอย่างไร

สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่ใช้บรรยายเหตุการณ์หรือข้อเท็จจริง (facts) ของเรื่องต่างๆ ที่เราต้องการศึกษา เช่น สถิติจำนวนผู้ป่วย สถิติจำนวนคนเกิด สถิติจำนวนคนตาย เป็นต้น สถิติ หมายถึง ศาสตร์หรือวิชาที่ว่าด้วยหลักการและระเบียบวิธีทางสถิติ สถิติใน ความหมาย นี้มักเรียกว่า สถิติศาสตร์ (Statistics)

วิธีการทางสถิติมีอะไรบ้าง

ระเบียบวิธีทางสถิติแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน คือ การเก็บและรวบรวมข้อมูล (collection of data) การนำเสนอข้อมูล (presentation of data) การวิเคราะห์ข้อมูล (analysis of data) และการตีความหมาย หรือหาข้อสรุปของข้อมูล (interpretation of data) ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

สถิติเชิงอ้างอิง มีอะไรบ้าง

ประเภทของสถิติอ้างอิง สถิติอ้างอิงแบบมีพารามิเตอร์ Parametric Inference. นิยมใช้กับข้อมูลทีมีระดับการวัดตัวแปร เป็นระดับมาตรา อันตรภาค (Interval Scale) หรือระดับมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) ทีลักษณะของข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ (Normal distribution) หรือประชากรทีมีค่าความแปรปรวนไม่แตกต่างกันมาก t-test F-test Z-test Anova.