หน้าที่พลเมือง ม.2 ppt อจท

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1
สถาบันทางสังคม

Kru Wanchana

Kru Wanchana

สถาบันทางสังคมคืออะไร ?

หมายถึง แบบแผนในการคิด การกระทําทีค่ นใน
สงั คมยดึ ถอื ยอมรับและประพฤตปิ ฏิบัติสบื ต่อกนั
เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการพื้นฐานของสมาชิก

ในสงั คม

Kru Wanchana

สถาบันครอบครัว สถาบนั การเมืองการ
สถาบันการศึกษา ปกครอง

สถาบันนนั ทนาการ

สถาบันศาสนา สถาบนั สอ่ื สารมวลชน

สถาบันเศรษฐกิจ

Kru Wanchana

สถาบันครอบครัว

เ ป็ น ส ถ า บั น ท่ี มี ค ว า ม สาํ คั ญ ม า ก
เ น่ื อ ง จ า ก เ ป็ น ส ถ า บั น พ้ื น ฐ า น ข อ ง
สั ง ค ม เ พ ร า ะ เ ป็ น ผู้ ถ่ า ย ท อ ด ส่ิ ง ต่ า ง ๆ
แ ล ะ ใ ห้ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ข้ั น แ ร ก แ ก่ ส ม า ชิ ก

Kru Wanchana

บทบาทและความสําคัญ

1. ผลิต เลี้ยงดู และอบรมสั่งสอนสมาชกิ ใหม่
เพือ่ กําหนดบคุ คลกิ ภาพของสมาชิก

2.ตอบสนองความตอ้ งการขน้ั พื้นฐานของมนษุ ย์
เชน่ ด้านร่างกาย / ด้านจิตใจ / ด้านสงั คม

3. ครอบครวั เป็นสถาบนั พืน้ ฐานทาง
การศกึ ษาของสังคม

4.ขัดเกลาทางสงั คม

Kru Wanchana

สถาบนั การศกึ ษา

เ ป็ น ส ถ า บั น สาํ ห รั บ ก า ร พั ฒ น า ม นุ ษ ย์
มี ค ว า ม สํา คั ญ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์
คิ ด ค้ น น วั ต ก ร ร ม ใ ห ม่ ๆ เ พ่ื อ ต อ บ ส น อ ง

ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ค น ใ น สั ง ค ม

Kru Wanchana

บทบาทและความสําคัญ

1. บทบาทในการขัดเกลาทางสงั คม

2. เป็นแหล่งเรยี นรู้ ถา่ ยทอดความรู้
3.กําหนดบทบาทของสมาชิกในสังคม
เชน่ ใหก้ ารอบรมและฝึกวชิ าชีพ
4.ผสมกลมกลนื ทางสังคมและวฒั นธรรม

Kru Wanchana

สถาบนั ศาสนา

สถาบนั ศาสนา หมายถึง การกระทาํ ในเรอ่ื ง
เกี่ยวกับจติ ใจ ความเชือ่ และพฤติกรรมของ
มนษุ ยท์ มี่ คี วามเก่ยี วขอ้ งกบั ความสัมพนั ธ์

ระหวา่ งมนุษยก์ บั ส่ิงเหนือธรรมชาติ

Kru Wanchana

บทบาทและความสาํ คัญ

1. เป็นที่ยึดเหนย่ี วจติ ใจ

2. สร้างความเป็นปกึ แผน่ ให้แก่สงั คม

3.เสรมิ สร้างและถา่ ยทอดวัฒนธรรมแกส่ ังคม

4.เป็นบอ่ เกดิ แหง่ ศิลปวัฒนธรรม และประเพณี
ทีด่ ีงาม

5.เป็นแบบอยา่ งของความประพฤติที่ดีงาม

Kru Wanchana

สถาบันเศรษฐกจิ

เป็นสถาบันที่เกีย่ วขอ้ งกับการอุปโภคบรโิ ภค
สินคา้ ของสมาชกิ ในสงั คม ลกั ษณะ

ความสัมพนั ธ์ประกอบด้วย พอ่ ค้า แมค่ ้า
กรรมกร ชาวนา เป็นตน้

Kru Wanchana

บทบาทและความสําคัญ

1.ผลิตสินคา้ และบริการ

2.จดั สรรและกระจายสนิ คา้ และบรกิ าร

3.พัฒนาและสร้างความเจรญิ ก้าวหนา้ ทาง
เศรษฐกิจ

4.เป็นองคป์ ระกอบสําคญั ในการสร้างรากฐาน
ทางการเมอื ง

Kru Wanchana

สถาบันการเมืองการปกครอง

เป็นสถาบันท่ีเก่ยี วกับการจัดระเบยี บให้
ประชาชนในสงั คมสามารถอยูร่ ว่ มกันได้อย่าง
มคี วามสขุ ลักษณะความสมั พันธ์ประกอบดว้ ย

รฐั บาล ประชาชน เป็นต้น

Kru Wanchana

บทบาทและความสาํ คญั

1.เป็นสถาบันทีส่ ร้างระเบียบกฎเกณฑใ์ ห้
แก่สงั คม

2.วินิจฉัยข้อขดั แยง้ ระหว่างสมาชิกในสงั คม

3.วางแผนและนโยบายในการบริหาร
ประเทศ

4.ปอ้ งกนั รกั ษา และใหค้ วามคุ้มครองสมาชิก
ในสังคม

Kru Wanchana

สถาบนั นันทนาการ

เป็นสถาบันทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการพักผ่อน
เมื่อทาํ กิจกรรมแล้วเกดิ ความสุขกาย สบาย

ใจ สนุกสนาน และมีความสขุ

Kru Wanchana

บทบาทและความสาํ คญั

1.สรา้ งความสนกุ สนาน เพลิดเพลนิ
ผ่อนคลายความเครยี ด

2.เป็นการใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์

3.ฝึกทักษะและความชํานาญในดา้ นตา่ ง ๆ

4.เสริมสร้างความสามคั คี ความมีระเบียบวินยั

Kru Wanchana

สถาบนั สือ่ สารมวลชน

เป็นสถาบันทส่ี ่อื ขา่ วสารเก่ยี วกบั เหตุการณ์
ต่างๆ ท่เี กดิ ขึ้นเพ่อื ส่งต่อไปยงั ผู้รบั สาร
ซ่ึงทําใหส้ มาชิกในสังคมมคี วามรมู้ ากขึน้

Kru Wanchana

บทบาทและความสาํ คัญ

1. ให้ความรูแ้ ละความบันเทงิ

2.รายงานข่าวสารและสถานการณ์ตา่ ง ๆ
ใหป้ ระชาชนได้รบั ทราบ

3.ถ่ายทอดวัฒนธรรมและปลูกฝั งคา่ นิยมตา่ ง ๆ

4.เป็นสือ่ กลางในการตดิ ต่อระหว่างสมาชิก
ของสงั คม

Kru Wanchana

นักเรียนคดิ วา่ มี
สถาบนั ใดบ้างที่

เก่ียวขอ้ งกับ
ความสําเรจ็ ?

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2

กฎหมายใน
ชวี ติ ประจาวัน

KruWanchana Duangyota

รอู้ ะไร ไมส่ ู้
รู้กฎหมาย

KruWanchana

พระบดิ าแหง่
กฎหมายไทย

พระเจา้ บรมวงศ์เธอ
กรมหลวงราชบุรี
ดิเรกฤทธ์ิ

KruWanchana

กฎหมาย ทกาฎไหมมตา้อยงม? ี
ของไทยดี
จริงไหม? คดิ วา่ คนประเทศ
ไหนมีระเบยี บ

กฎหมายช่วย ที่สดุ ?
ให้สงั คมดขี ้นึ

จริงไหม?

KruWanchana

กฎหมาย ข้อบังคับของรัฐเทา่ นั้น

มีสภาพบังคับ เฉพาะ
ทางกายจิตใจความคิด
ต้องมีบทลงโทษแก่ผทู้ ่ี
ฝา่ ฝืน

KruWanchana

เป็นกฎหมายหรอื ไม่ ?

เป็นกฎหมายหรือไม่ ?

KruWanchana

กระบวนการในการตรากฎหมาย

บเ สทนกอฎรห่ า งมตา ยั ว กตฎรหา เมปา็ นย ร าปชรกะิ จกจาาศนใุ เชบ้ ใกนษ า กฎหมาย
พิจารณาร่าง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ
ทรงพลรงะพมรหะปากรษมัตาภิยิไ์ ธย
KruWanchana
ผสู้ แมทานชริ กาสษภฎาร สมาชิก
วุฒิิ ส ภ า

กระบวนการในการตรากฎหมาย

กฎหมาย
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ

บเ สทนกอฎรห่ า งมตา ยั ว

ผู้มีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560)
1 . ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี
2.สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจานวนไม่น้อยกว่า 20 คน
3.ผู้มีสิทธิเลือกต้ัง จานวนไม่น้อยกว่า 10,000 คน

KruWanchana

กระบวนการในการตรากฎหมาย

พิ จ า ร ณ า ร่ า ง กฎหมาย
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ
ผสู้ แมทานชริ กาสษภฎาร วสุ ฒม าิ สชภิ กา
น า ย ก รั ฐ ม น ต รี

KruWanchana

กระบวนการในการตรากฎหมาย

กตฎรหา เมปา็ นย กฎหมาย
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ

น า ย ก รั ฐ ม น ต รี เ ป็ น ผู้ นา พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ทู ล เ ก ล้ า ทู ล ก ร ะ ห ม่ อ ม ถ ว า ย
เพื่อใหพ้ ระมหากษัตริย์ลงพระปรมาภิไธยและ ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา
จึ ง จ ะ มี ผ ล บั ง คั บ ใ ช้ เ ป็ น ก ฎ ห ม า ย โ ด ย ส ม บู ร ณ์

KruWanchana

ลาดับศกั ด์ขิ องกฎหมายในระบบกฎหมายไทย

1. รัฐธรรมนูญ (สงู สดุ กฎหมายแม่บท)
2. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (กฎหมายเฉพาะเรอ่ื ง)
3. พระราชบญั ญัติ (ออกโดยนติ ิบญั ญตั ิ)
4. พระราชกาหนด (ออกใชก้ รณเี ร่งดว่ น)
5. พระราชกฤษฎีกา (King ตามคาแนะของคณะรัฐมนตรี)
6. กฎกระทรวง
7. ขอ้ บัญญตั ทิ ้องถ่นิ
ไดแ้ ก่ ข้อบัญญตั ิกรงุ เทพมหานคร และข้อบัญญัตเิ มืองพทั ยา

KruWanchana

กฎหมาย ผู้เยาว์ บัตร
ท่เี ก่ียวขอ้ ง ประจาตวั
กบั ตนเองและ การหมนั้ ประชาชน
ครอบครวั การสมรส
การรบั รองบุตร
การรบั บตุ รบุญธรรม

KruWanchana

การเกดิ

การเกิด เป็นจุดเร่มิ ต้นของสภาพบคุ คล
การแจง้ เกดิ เจา้ บ้านหรือบดิ ามารดา
แจง้ ต่อนายทะเบียนภายใน 15 วนั
นับแต่วันเกิด

สูตบิ ตั ร (ใบแจง้ เกดิ )

KruWanchana

การตาย

การแจง้ ตาย
แจง้ ต่อนายทะเบียนทอ้ งท่ภี ายใน 24
ชว่ั โมง

มรณบัตร

KruWanchana

กฎหมายเก่ยี วกบั ผูเ้ ยาว์ : บคุ คลทีย่ ังไม่บรรลุนิตภิ าวะ

ความสามารถของผู้เยาว์ การบรรลุนิติภาวะ มี 2 กรณี
1. อายุครบ 20 ปีบรบิ ูรณ์ (บรรลุนิติภาวะโดยอายุ)
2. บรรลโุ ดยการสมรสตามกฎหมาย
(ผ้เู ยาว์สามารถสมรสไดเ้ ม่ืออายคุ รบ 17 ปีบริบรู ณ์
และบิดามารดาหรือผู้ปกครองใหค้ วามยนิ ยอมหรือ
ศาลอนญุ าต)

(กรณีเยาวชนต่ากว่า 17 ปีบริบรู ณศ์ าลต้องเป็นผู้
อนญุ าตให้ทาการสมรส)

KruWanchana

กฎหมายเก่ยี วกบั ความสามารถผูเ้ ยาว์

ความสามารถของผเู้ ยาว์ 1.ได้รบั ความยินยอมจากผแู้ ทนโดยชอบธรรม

2. กรณผี ้เู ยาวส์ ามารถใช้สทิ ธกิ ระทาได้เอง
2.1 การซือ้ ของ
2.2 การรบั ของโดยเสน่หา
2.3 พนิ ยั กรรมสามารถทาไดเ้ มอื่ ผเู้ ยาว์
อายุครบ 15 ปีบรบิ ูรณเ์ ทา่ นนั้

KruWanchana

กฎหมาย 1.บคุ คลท่ตี อ้ งทาบตั รประชาชน คือ
บตั รประจาตวั ประชาชน
ผูม้ ีสญั ชาติไทยตัง้ แตอ่ ายุ 7 ปีบรบิ รู ณแ์ ตไ่ มเ่ กนิ
70 ปี และมีช่อื อย่ใู นทะเบยี นบ้าน

2.บัตรประจาตวั ประชาชนจะมีอายุ 8 ปี

เม่ือบัตรเดิมหมดอายุ จะต้องไปขอมีบัตรใหม่
ภายใน 60 วนั

KruWanchana

กฎหมาย บุคคลท่ยี กเว้นไม่ต้องทาบตั รประชาชน
บตั รประจาตัวประชาชน
•ผู้มอี ายุเกนิ 70 ปี
•ภกิ ษสุ ามเณร นกั พรต นกั บวช
•ผู้มีรา่ งกายพิการเดนิ ไม่ได,้ ตาบอดท้งั
สองข้าง,จิตฟ่ ันเฟือนไมส่ มประกอบ
•ผู้อยูใ่ นท่ีคุมขังโดยชอบดว้ ยกฎหมาย

KruWanchana

ชายและหญิงต้อง กฎหมายการหมั้น
มอี ายุครบ
17 ปบี รบิ ูรณ์ ผู้แทนโดยชอบ การหมน้ั คือ การท่ีฝา่ ยชาย-ฝา่ ย
ธรรมจะต้องให้ หญิงตกลงกันวา่ จะทาการสมรส
การหมน้ั จะสมบูรณ์ ความยินยอมกอ่ น
ทางกฎหมายเม่อื ตามกฎหมายตอ่ ไป
ฝา่ ยชายมอบของ
หมั้นใหฝ้ า่ ยหญิง KruWanchana
และของหมั้นจะตก
เป็นของฝา่ ยหญิง

ทนั ที

ของหม้ัน ฝา่ ยชายเรกี คืน เป็นกรรมสทิ ธ์ิ
ได้ กรณีฝา่ ย ของผูป้ กครอง
เป็นกรรมสิทธ์ิ หญงิ ผดิ สญั ญา
ของฝา่ ยหญงิ ฝา่ ยหญงิ

สนิ สอด

KruWanchana

ต้องมอี ายุ 17 กฎหมายการสมรส
ปีบริบรู ณท์ ง้ั คู่ หากอายุ
ต่ากว่า17ปี บรบิ รู ณต์ ้อง การที่ฝา่ ยชาย-ฝา่ ยหญิงตกลงกนั ว่า

ใหศ้ าลอนญุ าต ผูเ้ ยาว์ต้องได้รบั ความ จะอยู่กินฉนั สามีภรรยา

การสมรสจะสมบรู ณ์ ยินยอมจากผู้แทน โดยการจดทะเบียนสมรส เพอื่ ให้เปน็
และชอบด้วยกฎหมาย โดยชอบธรรม สามภี รรยาที่ชอบด้วยกฎหมาย
เม่ือมกี ารจดทะเบียน
สมรสต่อหนา้ เจา้ หนา้ ท่ี

KruWanchana

การสมรสจะ ฝา่ ยชายหรือ
เป็นโมฆะ หญิงเป็นบุคคล
ทันทหี าก
วิกลจริต

ฝา่ ยชายหรอื หญงิ ฝา่ ยชายและหญิง
มคี สู่ มรสทจ่ี ด เป็นญาตสิ ืบสาย
โลหิตโดยตรง
ทะเบยี นสมรสกนั

อย่กู อ่ นแล้ว

KruWanchana

สนิ สว่ นตัว สินสมรส

-ของหมนั้ -ทรพั ยส์ นิ ที่คสิู่ มรสได้มา
-ทรพั ยส์ ินที่สามหี รอื ภรรยามอี ยู่ ระหวา่ งสมรส
กอ่ นการสมรส -ดอกผลของสินส่วนตัวเปน็
-ทรัพยส์ ินที่เป็นเคร่ืองใชส้ ่วนตัว สินสมรส เชน่ คา่ เชา่

KruWanchana

การรบั รองบตุ ร -บุตรที่คลอดโดยหญงิ ใดย่อมเป็นบุตรโดยชอบ
ดว้ ยกฎหมายของหญงิ นนั้ เสมอ

(บตุ รเป็นบตุ รโดยชอบด้วยกฏหมายของมารดาเสมอ)

-หากเดก็ เกิดมาโดยท่สี ามภี รรยามิไดจ้ ดทะเบียนสมรสจะ
เรยี กวา่ " บุตรนอกสมสมรส"

KruWanchana

การรับบตุ รบุญ -ผรู้ บั บุตรบญุ ธรรมตอ้ งมีอายุไม่ต่ากวา่ 25 ปี
ธรรม และมอี ายมุ ากกว่าบตุ รบุญธรรม อย่างนอ้ ย
15 ปี

การเลกิ รับบุตรบญุ ธรรมสามารถทาได้โดยการ

1. ผู้รบั บุตรบญุ ธรรมตกลงเลิกรบั บุตรบญุ ธรรม
2. ผรู้ ับบตุ รบญุ ธรรมสมรสกบั บุตรบญุ ธรรม
3. ผรู้ บั บตุ รบุญธรรมหรือบตุ รบญุ ธรรมฟอ้ งเลกิ การรับบตุ รบญุ ธรรม

KruWanchana

กฎหมายทเ่ี กี่ยวกบั
ชุมชนและประเทศ

โดยสงั เขป

KruWanchana Duangyota

กฎหมายอนรุ ักษ์ธรรมชาติ

มนุษยม์ กี ารนาเทคโนโลยีมาใช้กอ่ ให้เกดิ
ปัญหาภัยธรรมชาตมิ ากข้นึ มปี ัญหาการ
ลักลอบตัดไม้ บุกรุกปา่

ส่งผลให้ธรรมชาตถิ ูกทาลายและเส่ือมโทรม

KruWanchana

พระราชบัญญตั ปิ า่ ไม้

เป็ นกฎหมายท่ีควบคุมการทาไม้หวงห้ามและการเก็บของป่าหวง
ห้าม

ไม้หวงห้ามธรรมดา

ไมห้ วงหา้ มพเิ ศษ KruWanchana

ไม้หวงห้ามมี2 ประเภทคือ

1. ไม้หวงห้ามธรรมดา คือไม้ที่ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่หรือ ได้สัมปทาน เช่น
ไม้สัก,ไม้พระยูง เป็ นต้น
2. ไม้หวงห้ามพิเศษ คือ ไม้ที่ควรสงวน ไม่อนุญาตให้ทาไม้ประเภทน้ีเว้นแต่ได้รับ
อนุญาติจากรัฐมนตรีเป็ นกรณีพิเศษปั จจุบันมีด้วยกัน13 ชนิด

ไมพ้ ยงุ ไม้จันทร์หอม

KruWanchana

พระราชบัญญตั ิอุทยานแห่งชาติ

จุดมุ่งหมายคือ คุ้มครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ให้ถูก
ทาลาย เพ่ือประโยชน์แก่การศึกษา

KruWanchana