พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพคืออะไร

โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) คือสภาวะความเปลี่ยนแปลงของความดันในหลอดเลือดสูงขึ้นกว่าระดับปกติ ผลกระทบของความดันโลหิตจะก่อให้เกิดความเสียหายกับหลอดเลือดแดง หากมีความดันโลหิตสูงติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน อาจนำไปสู่สภาวะแข็งตัวของหลอดเลือด หลอดเลือดอุดตัน ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคหัวใจวาย โรคอัมพาตและโรคสมองเสื่อม

โรคความดันโลหิตสูงเป็นภัยเงียบที่มักจะไม่แสดงอาการที่ชัดเจน ทำให้หลายคนไม่รู้ตัวว่ากำลังมีภาวะความดันโลหิตสูง หากในชีวิตประจำวันมีพฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความดันโลหิตสูง ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคต่างๆขึ้นได้

ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง แอดมินจึงขอนำข้อมูลดีๆเกี่ยวกับ 5 พฤติกรรมเสี่ยง "ความดันโลหิตสูง" มาฝาก เพื่อเป็นแนวทางป้องกันให้กับทุกคน

ปัจจัยเสี่ยง หมายถึง องค์ประกอบด้านกายภาพ สังคม หรือ สถานการณ์ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ชีวิตหรือทรัพย์สินของเรา สิ่งเหล่านี้อาจจะทำร่ายสุขภาพเราได้ถ้าเราไม่ระมัดระวังให้ดี เราควรมีความระวังในการใช้หรืออะไรก็ตามถ้าไม่อยากมีอันตรายต่อสุขภาพ

ทรัพย์สิน

  • พฤติกรรมเสี่ยง หมายถึง การกระทำที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ชีวิต หรือทรัพย์สินของเรา สิ่งเหล่านี้อาจจะทำลายสุขภาพเราได้ถ้าเราไม่ระมัดระวังในการเดินหรือว่าใช้สิ่งเหล่านั้นเราควรมีการระมัดระวังเพื่อไม่ให้เกิดสิ่งเหล่านี้ขึ้น

ชีวิต

  • ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ สุขภาพมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาการเปลี่ยนแปลงของสุขภาพขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ทั้งปัจจัยภายในที่เกี่ยวข้องกับบุคคลโดยตรงกับเรา และปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและสังคม ซึ่งปัจจัยเหล่านี้อาจทำให้สุขภาพเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือแย่ลงก็ได้แล้วแต่สภาพความเป็นอยู่ในแต่ละชุมชนหรือบริเวณนั้นและความเป็นอยู่ของครอบครัวหรือคนๆนั้น

พฤติกรรมทางเพศในวัยรุ่นอาจนำไปสู่การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หรืออาจเสี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุยังน้อย การเปลี่ยนคู่นอนหลายคน ไม่ป้องกันเมื่อมีเพศสัมพันธ์ ไม่ได้รับการตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือการใช้สารเสพติดระหว่างมีเพศสัมพันธ์

พฤติกรรมการกิน

พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ในเลือกการรับประทานอาหารที่มีดีต่อสุขภาพ ได้แก่ ไม่รับประทานผักและผลไม้ ไม่ดื่มนม ชื่นชอบในเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลมาก เช่น น้ำอัดลม หรือไม่รับประทานอาหารเช้า

ออกกำลังกายไม่เพียงพอ

พฤติกรรมเสี่ยงอีกข้อที่ส่งผลต่อสุขภาพวัยรุ่นคือ การไม่ออกกำลังกาย เพราะในปัจจุบัน วัยรุ่นส่วนใหญ่มักชื่นชอบในการเล่นวิดีโอเกม เล่นคอมพิวเตอร์หลายชั่วโมงต่อวัน หรือดูโทรทัศน์มากเกินไป จนอาจส่งผลต่อการนอนหลับและไม่ใส่ใจในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

การป้องกัน พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยรุ่น

เพื่อป้องกัน พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพในวัยรุ่น ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม มีหลายสิ่งที่วัยรุ่นและครอบครัวสามารถทำได้เพื่อสุขภาพที่ดีของวัยรุ่น

การป้องกัน พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ด้วยตนเอง

  • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ วัยรุ่นควรออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 60 นาที
  • รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพจะช่วยส่งเสิรมการเจริญเติบโตของร่างกายและพัฒนาการของวัยรุ่นให้สมบูรณ์
  • ควบคุมน้ำหนัก เด็กวัยรุ่นมีแนวโน้มเป็นโรคอ้วนมากขึ้นเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ และอาจเพิ่มความเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรังอื่น ๆ หรือภาวะซึมเศร้าและการถูกกลั่นแกล้ง
  • นอนหลับให้เพียงพอ วัยรุ่นควรนอนหลับอย่างน้อย 7-9 ชั่วโมงต่อวัน เพราะการนอนหลับอย่างเพียงพอส่งผลต่อสมาธิและการเรียนรู้ที่ดี
  • ฉีดวัคซีน วัยรุ่นควรได้รับวัคซีนเพื่อป้องกันโรค เช่น วัคซีนไข้หวัดใหญ่ วัคซีนป้องกัน HPV เพื่อป้องกันการติดเชื้อ HPV และมะเร็งปากมดลูก
  • ดูแลสุขภาพช่องปาก ดูแลสุขภาพช่องปากเป็นประจำเพื่อป้องกันปัญหาฟันและเหงือกในวัยผู้ใหญ่
  • ใช้ครีมกันแดด การโดนแดดที่เป็นอันตรายอาจเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งผิวหนังในผู้ใหญ่
  • อย่าฟังเพลงเสียงดัง การฟังเพลงเสียงดังเป็นประจำอาจทำให้วัยรุ่นสูญเสียการได้ยินได้

การป้องกัน พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น จากครอบครัว

ผู้ปกครองสามารถดูแลวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยเริ่มจากการรับฟังและทำความเข้าใจเกี่ยวกับวัยรุ่นให้มากขึ้น จากนั้นจึงอาจใช้วิธีดังต่อไปนี้

ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ

ปัจจัยเสี่ยง   หมายถึง   องค์ประกอบด้านกายภาพ   สังคม   หรือสถานการณ์ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ  ชีวิต   หรือทรัพย์สิน

1.สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ไม่ปลอดภัย ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพมีความเปลื่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง ทำให้ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพอย่างมาก ปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ไม่ปลอดภัยอาจเกิดได้หลายปัจจัยเช่น

1.1 ปัจจัยเสี่ยงจากธรรมชาติ

1.2 ปัจจัยเสี่ยงจากมลพิษ

1.3 ปัจจัยเสี่ยงจากการเปลื่ยนแปลงทางชีววิทยาของสัตว์นำโรค และเชื่อโรค

2. สภาพแวดล้อมทางสังคมที่ไม่ปลอดภัย การดำรงชีวิตปัจจุบันมีความเร่งรีบ แข่งขันสูงรวมทั้งสภาพเศรษฐกิจที่บีบรัด ทำให้เกิดสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เป็นปัจจัยเสี่ยงติ่สุขภาพหลายประการ เช่น

2.1 ปัจจัยจากอาชาญากรรม

2.2 ปัจจัยเสี่ยงจากความรุนแรง

2.3 ปัจจัยเสี่ยงจากอุบัติเหตุ

2.4 ปัจจัยเสี่ยงทางเพศ

3. ปัจจัยเสี่ยงโรคอุบัติใหม่

ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ

พฤติกรรมเสี่ยง หมายถึง การกระทำของบุคคลที่อาจจะส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ชีวิต ทรัพย์สิน มีผลเสียต่อสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อมและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ พฤติกรรมเสี่ยงมีดังนี้

พฤติกรรมใดเสี่ยงต่อสุขภาพมากที่สุด

การสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่แย่ที่สุด โดยเฉพาะกับผู้ป่วย และรู้ทั้งรู้ว่าบุหรี่ไม่ดีต่อสุขภาพ แต่ก็ยังจะสูบ Dr. Mareiness อธิบายว่าการบุหรี่ไม่ได้เพียงแต่ทำให้เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งทุกประเภทเท่านั้น แต่ยังเพิ่มโอกาสในการป่วยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะหลอดเลือดแข็ง บาดเจ็บบริเวณไต ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง ...

พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นต่อสุขภาพมีอะไรบ้าง

การศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า พฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญของวัยรุ่นจำแนกได้ 7 ด้าน หลักๆ คือ ด้านความปลอดภัยและความรุนแรง การสูบบุหรี่ การดื่มสุราและใช้สารเสพติด พฤติกรรม เสี่ยงทางเพศ การรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม การออกกำลังกายและพฤติกรรมความเครียด โดย ผู้วิจัย ...

พฤติกรรมเสี่ยงทาง เพศ มีอะไรบ้าง

พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ หมายถึง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร (20 ปี) การมีคู่นอนมากกว่าหนึ่งคน และการไม่ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

ประเภทของพฤติกรรมเสี่ยงมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

พิศสมัย อรทัย และพัชรินทร์ นินทจันทร์ (2557 : 216)ได้แบ่งพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ไทยรวม 10 กลุ่มพฤติกรรม คือ 1) พฤติกรรมเสี่ยงด้านอุบัติเหตุ2) พฤติกรรมเสี่ยงด้านการใช้ความ รุนแรง 3) พฤติกรรมเสี่ยงด้านภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย 4) พฤติกรรมเสี่ยงด้านการสูบบุหรี่ 5) พฤติกรรมเสี่ยงด้านการดื่มแอลกอฮอล์6) พฤติกรรมเสี่ยง ...