ยีนเป็นช่วงหนึ่งของดีเอ็นเอ

������ (chromosome)�繷������ͧ˹��¾ѹ�ء��� ��觷�˹�ҷ��Ǻ�����ж��·ʹ������ ����ǡѺ �ѡɳзҧ�ѹ�ء�����ҧ� �ͧ����ժ��Ե �� �ѡɳТͧ��鹼� �ѡɳдǧ�� �� ��м��

����֡���ѡɳ������� �е�ͧ����¡�ôٴ��¡��ͧ��ŷ��ȹ�����ѧ�����٧� �֧������ö �ͧ�����������´�ͧ��������

˹��¾ѹ�ء��� ���� �չ ( Gene )��ҡ����躹������ ��Сͺ���´������ ��˹�ҷ���˹��ѡɳ� �ҧ�ѹ�ء�����ҧ � �ͧ����ժ��Ե ˹��¾ѹ�ء��� �ж١���·ʹ�ҡ����ժ��Ե ��蹡�͹˹������١��ҹ �� �Ǻ�����кǹ�������ǡѺ�Ԩ�������� � 价ҧ��������������ͧ����ժ��Ե 仨��֧�ѡɳл�ҡ���辺��������ѧࡵ����µ� �� �ٻ��ҧ˹�ҵҢͧ�硷���պҧ��ǹ����͹�Ѻ���, ���ѹ�ͧ�͡���, �ʪҵԢͧ����ùҹҪ�Դ ��ǹ���������ѡɳз��ѹ�֡�����˹��¾ѹ�ء���������

������� (DNA) �������?

������� (DNA) �繪�����ͧ͢��þѹ�ء��� �ժ���Ẻ������ �ô���͡����⺹�Ǥ���ԡ (Deoxyribonucleic acid) ����繡ô��Ǥ���ԡ (�ô��辺�㨡�ҧ�ͧ����ء��Դ) ��辺�����ͧ����ժ��Ե�ء��Դ ���� �� (Haman), �ѵ�� (Animal), �ת (Plant), ������ (Fungi), Ấ������ (bacteria), ����� (virus) ( ����� �����١���¡�������ժ��Ե����§͹��Ҥ��ҹ��) �繵� ������� (DNA) ��èآ����ŷҧ�ѹ�ء����ͧ����ժ��Ե��Դ������ ������ѡɳз������ҹ�Ҩҡ����ժ��Ե��蹡�͹ ��觡��� ��������� (Parent) �������ö���·ʹ��ѧ����ժ��Ե��蹶Ѵ� ��觡��� �١��ҹ (Offspring)

������� (DNA) ���ٻ��ҧ������Ǥ�� ����ºѹ��ԧ���Դ��Ƿҧ��� ���ͺѹ����¹��� ��������Ǣͧ�ѹ����Т�ҧ���͡�����§��Ǣͧ��Ǥ����䷴� ( Nucleotide ) ��Ǥ����䷴������š�ŷ���Сͺ���¹�ӵ�� ( Deoxyribose Sugar ), ���࿵ ( Phosphate ) (��觻�Сͺ���¿�ʿ��������͡��ਹ) �����èչ���� (Nitrogenous Base) ��㹹�Ǥ����䷴���������誹Դ ���� �дչչ (adenine, A) , ��չ (thymine, T) , �ⷫչ (cytosine, C) ��С�ǹչ (guanine, G) ��������Ǣͧ�ѹ��ͧ��ҧ���͹�Ǥ����䷴�١����������� �·�� A ��������Ѻ T ���¾ѹ������ਹẺ�ѹ�Ф�� ���� double bonds ��� C ��������Ѻ G ���¾ѹ������ਹẺ�ѹ��������� triple bonds (㹡óբͧ�������) ��Т����ŷҧ�ѹ�ء��������ժ��Ե��Դ��ҧ � �Դ��鹨ҡ������§�ӴѺ�ͧ��㹴�����͹���ͧ

���鹾�������� ��� ��մ�Ԫ ������ 㹻� �.�. 2412 (�.�. 1869) ���ѧ����Һ������ç���ҧ���ҧ�� ��㹻� �.�. 2496 (�.�. 1953) ���� ��. �ѵ�ѹ ��п�ҹ��� ��ԡ �繼���Ǻ��������� ������ҧẺ���ͧ�ç���ҧ�ͧ������� (DNA Structure Model)����������Ѻ�ҧ������ ��й�蹹Ѻ�繨ش������鹢ͧ�ؤ෤����շҧ�������

Deoxy ribonucleic acid หรือ DNA, ดีเอ็นเอ คงเป็นที่ทราบกันเป็นอย่างดีแล้วว่า ดีเอ็นเอ เป็นสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ยกเว้นไวรัส ซึ่งอาจมีดีเอ็นเอ หรือ อาร์เอ็นเอเป็นสารพันธุกรรม ดีเอ็นเอสามารถถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมไปสู่รุ่นลูกหลานโดยผ่านกระบวนการ DNA Replication หรือการจำลองตัวเอง จากการศึกษาด้านจีโนมของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ พบว่าข้อมูลที่ถูกเก็บอยู่ในดีเอ็นเอ มีทั้งส่วนที่สามารถแปลรหัสออกมาเป็นโปรตีน (coding region) และส่วนที่ไม่สามารถแปลรหัสได้ (non-coding region) แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าส่วนที่ไม่ได้ผลิตเป็นโปรตีนนี้ไม่มีประโยชน์ ดีเอ็นเอในส่วนนี้สามารถประยุกต์ใช้ ในการหาความเฉพาะเจาะจง เช่น เทคนิค DNA fingerprint และการหาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการได้ โครงสร้างของดีเอ็นเอ ประกอบด้วยโพลีเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ 2 สาย พันกันเป็นเกลียวคู่ (Double helix) โดยแต่ละสายของดีเอ็นเอประกอบด้วย น้ำตาล deoxy ribose หมู่ฟอสเฟต และเบส ได้แด่ อะดีนีน (A) ไทมีน (T) ไซโตซีน (C) และกัวนีน (G) ซึ่งเบสเหล่านี้ก็คือ รหัสพันธุกรรม ซึ่งสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลาน และสามารถแปลรหัสเหล่านี้ออกมาเป็นโปรตีนเพื่อใช้ในกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์ โดยเราจะเรียก ช่วงหนึ่งของดีเอ็นเอที่สามารถผลิตเป็นโปรตีนได้ว่า ยีน (Gene) ซึ่งในมนุษย์มีประมาณ 34,000-40,000 ยีน เส้นสายของดีเอ็นเอเกลียวคู่จะหดตัวและพันรอบกับโปรตีนฮิสโตน เพื่อเก็บรักษาข้อมูลไม่ให้ถูกทำลาย และมีขนาดเล็กจนสามารถบรรจุอยู่ในนิวเคลียสได้ ดังจะเห็นได้จากขณะที่เซลล์ทำการแบ่งตัว จะเห็นเป็นโครงสร้างที่เรียกว่าโครโมโซม ดังรูปที่ 1

ยีนเป็นช่วงหนึ่งของดีเอ็นเอ
รูปที่ 1 โครงสร้างของดีเอ็นเอ ยีนและโครโมโซม

DNA passes genetic information to the next generation
ดีเอ็นเอ สามารถส่งต่อข้อมูลทางพันธุกรรมไปยังเซลล์ที่แบ่งตัวใหม่ โดยการจำลองตัวเองขึ้นที่เราเห็นรูปของโครโมโซม ซึ่งมีลักษณะคล้ายแท่งปาท่องโก๋ ขณะนั้นโครโมโซมจำลองตัวเองเพิ่มจำนวนจาก 1 ชุด เป็น 2 ชุดจากนั้นจึงแบ่งเซลล์ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ ดังรูปที่ 2

ยีนเป็นช่วงหนึ่งของดีเอ็นเอ
รูปที่ 2 แสดงเซลล์ขณะเพิ่มจำนวนของโครโมโซมและทำการแบ่งตัว

ดีเอ็นเอในธรรมชาติมีหลายรูปแบบ มีทั้งสายเดี่ยวและเกลียวคู่ แบบเป็นเส้นยาวและวงแหวน ดังนั้นในการจำลองตัวเองของดีเอ็นเอจึงมีความแตกต่างกันไปในรายละเอียด แต่หลักการโดยทั่วไปเหมือนกัน ดังต่อไปนี้
การจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ (DNA replication) มีลักษณะ ดังรูปที่ 3 โดยเริ่มจาก จุดที่มีการเริ่มต้นการจำลองตัวเอง ดีเอ็นเอเกลียวคู่จะคลายเกลียวแยกออกจากกันเป็นสายเดี่ยว จากนั้นอาร์เอ็นเอไพร์เมอร์ เข้ามาเกาะที่ดีเอ็นเอสายเดิมที่ถูกแยกให้เป็นสายเดี่ยวของทั้งสองสาย จากนั้นเอนไซม์ดีเอ็นเอโพลีเมอเรสจะทำหน้าที่ต่อสายดีเอ็นเอให้ยาวขึ้นในทิศทาง 5’ 3’ โดยนำนิวคลีโอไทด์ ที่มีเบสคู่สมกับดีเอ็นเอเส้นเดิมเข้ามาต่อให้กับดีเอ็นเอสายใหม่ คือ เบส A จะจับคู่กับ T และ C จะจับคู่กับ G ดีเอ็นเอที่สร้างขึ้นมาทั้งสองเส้นนั้นมีความแตกต่างกัน โดยเส้นหนึ่งมีความยาวต่อเนื่องกันไปจนการสังเคราะห์สิ้นสุด (Leading stand) ส่วนอีกท่อนหนึ่งเป็นท่อนสั้น ๆ เรียกว่า Okazaki fragment (Lagging stand) ซึ่งมีอาร์เอนเอไพร์เมอร์คั่นอยู่เป็นช่วง ๆ และไม่ต่อเนื่องกันเป็นเส้นเดียวตลอดกัน ดังนั้นเอนไซม์ดีเอนเอโพลีเมอเรส I จึงทำการกำจัดอาร์เอ็นเอไพร์เมอร์ทิ้งแล้วทำการเติมนิวคลีโอไทด์เข้าไป จากนั้นทำการเชื่อมต่อกันให้เป็นเส้นเดียวกันด้วยเอนไซม์ ไลเกส เมื่อทำการสังเคราะห์ดีเอ็นเอจนไปจนสุดสายดีเอ็นเอ ก็จะมีเอนไซม์ทีโลเมอเรสทำการปิดปลายของเส้นดีเอ็นเอที่สร้างขึ้น

ยีนเป็นช่วงหนึ่งของดีเอ็นเอ
รูปที่ 3 การจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ

ขอขอบคุณข้อมูลจาก http://www.barascientific.com/article/DNA/dna.php

DNA Gene chromosome สัมพันธ์กันอย่างไร

โครโมโซมเป็นที่อยู่ของ ดีเอ็นเอ (DNA) แต่ละช่วงของ DNA คือยีน DNA เป็นสารพันธุกรรม แต่ยีนเป็นตัวกำหนดลักษณะทางพันธุกรรมแต่ละลักษณะ ยีนที่ควบคุมลักษณะใดลักษณะหนึ่งมี 2 แบบ เรียกว่า แอลลีน (Allele) แต่ละลักษณะในมนุษย์เช่นลักษณะของผมถูกควบคุมด้วย 2 แอลลีน ได้แก่ แอลลีนลักษณะเด่น กับแอลลีนลักษณะด้อย

1โครโมโซมมีกี่DNA

โครโมโซมซึ่งพบในระยะเมทาเฟสนั้นประกอบด้วยดีเอ็นเอ 2 โมเลกุล เนื่องจากเซลล์ที่อยู่ใน ระยะอินเทอร์เฟสนั้นแต่ละโครมาทินประกอบด้วยดีเอ็นเอ 1 โมเลกุล แต่เมื่อเซลล์กาลังเข้าสู่ กระบวนการแบ่งเซลล์ จะมีการจ าลองตัวของดีเอ็นเอ (DNA replication) ตั้งแต่ช่วงต้นของระยะ อินเทอร์เฟส จึงท าให้ช่วงปลายของระยะอินเทอร์เฟส ดีเอ็นเอแต่ละ ...

ยีนดีเอ็นเอและโครโมโซมคืออะไร

ภาพ โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน หน่วยพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตท าหน้าที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมและถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่ง ไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง โดยหน่วยพันธุกรรมที่กล่าวถึงนั้น คือ ยีน (gene) ซึ่งอยู่บนโครโมโซม (Chromosome) โดยสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีลักษณะและจ านวนยีนและโครโมโซมแตกต่างกัน

อะไรเป็นที่อยู่ของDNA

สารพันธุกรรม หรือดีเอ็นเอ (DNA) สารพันธุกรรม หรือดีเอ็นเอ (deoxyribonucleic acid; DNA) เป็นกรดนิวคลิอิก (Nucleic acid) ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอส่วนใหญ่อยู่ในรูปโครโมโซม (chromosome) วางตัวอยู่ ในส่วนนิวเคลียสภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอมีหน้าที่สำคัญ ๒ ประการ คือ