สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช

ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ในเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกิดขึ้นใหม่อย่างต่อเนื่อง เช่น เครือข่ายสื่อสารไร้สาย (Wireless Network) ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารธุรกิจ เป็นต้น และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์ในการแก้ปัญหาด้านธุรกิจและด้านต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมตรงต่อความต้องการขององค์กร หน่วยงาน และสถานประกอบการ ผู้เรียนจะได้ฝึกปฏิบัติจริง ออกแบบสร้างนวัตกรรมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทันสมัย

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มีหลักสูตรการเรียนการสอน 

  1. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
    – ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เรียนภาคปกติ /ภาคพิเศษ หลักสูตร 3 ปี
  2. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 
    – ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เรียนภาคปกติ/ภาคพิเศษ หลักสูตร 2 ปี

โอกาสความก้าวหน้า

ศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและเอกชนในสาขาวิชา

วิทยาการจัดการ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ

วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์

วิศวกรรมเครือข่ายและความปลอดภัย

แอนิเมชันและมัลติมีเดีย

คอมพิวเตอร์กราฟิก

กราฟิกดีไซน์

การจัดการอุตสาหกรรม

เกมส์และสื่ออินเตอร์เน็ต

สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช

ความรู้ที่จะได้รับ

  • การใช้โปรแกรม Microsoft, Adobe
  • การจัดการระบบสารสนเทศ
  • การจัดการฐานข้อมูลทางด้านธุรกิจ
  • ระบบสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่าย
  • การออกแบบผลงานด้านกราฟิก

  • การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
  • การเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง
  • การเขียนโปรแกรมเว็บไซต์
  • การใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
  • การผลิตสื่อ/วีดิโอ

แผนการเรียนในระดับชั้น ปว

แผนการเรียนในระดับชั้น ปวส. (ม.6)

อาชีพที่รองรับ เมื่อสำเร็จการศึกษา

โปรแกรมเมอร์

นักพัฒนาแอพพลิเคชั่น

ผู้ดูแลระบบเน็ตเวิร์ค

นักออกแบบสื่อ/ตัดต่อสื่อ

นักพัฒนาเว็บไซต์

นักวิเคราะห์และอกกแบบระบบ

หลักสูตร ปวส. ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ระดับ ปวส. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์โปรแกรมเมอร์
ระยะเวลาศึกษา : 2 ปี
คุณสมบัติผู้เรียน : ผู้สำเร็จการศึกษา ระดับ ปวช. , ม.6 หรือเทียบเท่าทั้งสายตรงและสายที่สองคล้องกัน ลักษณะการเรียนการสอน : สร้างทางเลือกให้นักเรียน ค้นหาความถนัดของตนเองในด้าน
1. การโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. เทคโนโลยีระบบเครือข่าย
3. เทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัว
4. เทคโนโลยี Mobile Application

เน้นการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ด้านงานธุรกิจ เช่น Bl (Business Intelligence) ที่ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ และระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) สำหรับการวางแผนการบริหารธุรกิจขององค์กร ซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการของภาคธุรกิจ โดยตลอดหลักสูตรการเรียนจะเน้นการฝึกทักษะสู่ภาคปฎิบัติจริงกับอุปกรณ์ และผู้เชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรมในห้องปฎิบัติการที่ทันสมัย

นักศึกษาสามารถวางแผน ดำเนินการ จัดการ และพัฒนางานอาชีพตามหลักและกระบวนการ โดยคำนึงถึงการบริหารงานคุณภาพ การอนุรักษ์พลังงานสิ่งแวดล้อม และหลักความปลอดภัย สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่อพัฒนางานอาชีพและสื่อสารทางเทคนิคในงานอาชีพ นอกจากนี้ยังศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการ ควบคุม และพัฒนาคุณภาพงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อีกทั้งยังศึกษาและปฏิบัติทางด้านการออกแบบระบบงานสารสนเทศและอินเตอร์เน็ต พัฒนาระบบฐานข้อมูล พัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนาเว็บไซต์ ออกแบบ ติดตั้ง ฝึกอบรมและบำรุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

บทความงาน > บทความตามสายงาน > งานไอที > นักเรียนอาชีวศึกษา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรียนจบแล้ว ทำงานอะไรได้บ้าง

นักเรียนอาชีวศึกษา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรียนจบแล้ว ทำงานอะไรได้บ้าง

  • 6 February 2022

สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช
สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช
สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช
สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช
สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช
สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช
สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช

          นักเรียนอาชีวศึกษา เรียนอะไรบ้าง หลักสูตรอาชีวศึกษา ประกอบไปด้วย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ (ทล.บ.) มีหลายหลักสูตรให้เรียนรู้ หนึ่งในนั้นคือ หลักสูตรด้านไอที คือสาขาอุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ต่อยอดไปสู่ระดับชั้นปริญญาตรี

สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช

เทคโนโลยีสารสนเทศเรียนอะไรบ้าง

           ด้วยความที่ตลาดแรงงานด้านไอทีกำลังต้องการคนเป็นจำนวนมาก เพื่อรองรับยุคเทคโนโลยีดิจิทัล  การศึกษาจากสายงานอาชีวะสามารถต่อยอดสู่ระดับปริญญาตรีได้ โดยเฉพาะในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอที โดยคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ จะเรียนรู้เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และจัดดำเนินการข้อมูล เรียนทางด้านระบบและเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น กราฟิก

           วิชาที่เรียนก็อย่างเช่น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปฏิบัติการการใช้ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปในสำนักงาน คณิตศาสตร์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ Computer Programming Web Technology เทคโนโลยีแพลตฟอร์มคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย Software Development Process การบริหารสารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อธุรกิจ Web Programming ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ ปฏิบัติการการโปรแกรมฐานข้อมูล Network Management เป็นต้น

 

อยากเป็น นักเรียนอาชีวศึกษา เรียนที่ไหนได้บ้าง

          มีหลายสถาบันการศึกษาที่เปิดสอน สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต่อยอดมาจากการเรียนอาชีวะ ปวช. ปวส. ได้แก่

  • วิทยาลัยศิลปะ สื่อและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
  • คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต
  • คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล
  • คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • สำนักวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร

 

เทคโนโลยีสารสนเทศจบมาทำงานอะไร

           มีสายงานรองรับและงานให้เลือกมากมายสำหรับสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็น

  • โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
  • นักพัฒนาเว็บไซต์ (Web Developer)
  • นักทดสอบโปรแกรม (Software Tester)
  • นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
  • นักออกแบบสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ (Software Architect)
  • นักออกแบบระบบเครือข่าย (NetworkSystem Designer)
  • นักพัฒนาระบบเครือข่าย (Network System Engineer)
  • ผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Network System Administrator)
  • นักพัฒนาเกม (Game Developer)
  • นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ (Web Designer/Developer)
  • นักออกแบบ UI/UX
  • นักผลิตสื่อดิจิทัล (Digital Media Content Creator)
  • นักวิเคราะห์ความปลอดภัยด้านไอที (IT Security Analyst)
  • SEO (Search Engine Optimization) Analysis
  • นักพัฒนาฐานข้อมูล (Database Developer)

           สายงานไอทียังคงเป็นที่ต้องการในตลาดแรงงานต่อเนื่องเรื่อยมา ยิ่งปีนี้เป็นปีแห่งดิจิทัลด้วย จึงทำให้ นักเรียนอาชีวศึกษา มีโอกาสได้เข้าทำงานในองค์กรที่ต้องการสูง ค้นหางานในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ที่แอปพลิเคชัน JobsDB

ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้ทั้ง iOS และ Android

สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ปวช

เลือกงานที่ใช่ ใช้ชีวิตที่ชอบ ด้วยการค้นหางานที่ง่ายและรวดเร็ว พร้อมทั้งจัดการเรซูเม่อย่างมีประสิทธิภาพ ให้คุณอัปโหลด ดู และลบได้ทุกเมื่อที่ต้องการ เพลิดเพลินไปกับประสบการณ์การใช้งานแสนง่าย ด้วยระบบ AI ใหม่ ช่วยค้นหางานที่ตรงใจมากขึ้นถึง 6 เท่า​

5 เทคนิคเปลี่ยนสายงานไปสายไอที
นักวิเคราะห์ธุรกิจด้านไอที กับเส้นทางด้านอาชีพที่คุณควรรู้
เรซูเม่สมัครงาน สายไอที ควรมีอะไรบ้าง
IT Insider: เจาะ เทรนด์ไอที ยุคใหม่ อะไรที่ HR กำลังมองหา

developer  IT  programmer  System Analyst  System Engineer  web developer  นักเรียนอาชีวศึกษา

บทความยอดนิยม

9 เทรนด์การทำงานในอนาคตสำหรับปี 2023นักเรียนอาชีวศึกษา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรียนจบแล้ว ทำงานอะไรได้บ้าง