กฎ ของ ความ ปลอดภัย ทั่วไป 10 ข้อ

เป็นข้อบังคับหรือข้อควรระมัดระวังที่กำหนดขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้ ซึ่งอาจจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับลักษณะการทำงานในแต่ละสาขาอาชีพช่าง ในที่นี้จะกล่าวถึงกฎความปลอดภัยทั่ว ๆไปเป็นตัวอย่าง

1. แต่งกายให้รัดกุม

2. ไม่ควรหยอกล้อกันในขณะปฏิบัติงาน

3. ไม่ควรดื่มของมึนเมาในขณะปฏิบัติงาน

4. ควรตรวจสภาพเครื่องมือก่อนนำไปใช้งาน

5. ควรปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ และอากาศถ่ายเทสะดวก

6. ควรศึกษาระบบการทำงานของเครื่องจักร ชนิดนั้น ๆ ให้เข้าใจก่อนปฏิบัติงาน

7. หากเครื่องจักรชำรุด ควรเขียนป้ายบอกกำกับไว้

8. ควรสวมหมวกนิรภัยในการปฏิบัติงานก่อสร้าง

9. หากน้ำมันหกลงพื้นควรทำความสะอาดทันที

10.เครื่องจักรที่มีการทำงานเคลื่อนไหว ด้วยความเร็วสูง ควรมีอุปกรณ์นิรภัยป้องกัน


( �Ҿ���Ǩҡ �.�.�. ��Թ���� ��Ѻ�ѹ��� 17 ��.�. 45 )

������ʹ���㹡�÷ӧҹ��ҧ

�غѵ��˵� ���˵ء�ó����Դ�����ء����� �·��������Ҵ�Դ�ҡ�͹ ���ҧ���������������� ��ҹ ���˵ء�ó������֧���ʧ�� ����������ö��ͧ�ѹ�� �ҡ�����������Ѵ���ѧ ������ҷ ������ҵá�û�ͧ�ѹ���ҧ�١�Ը�

���˵آͧ����Դ�غѵ��˵� ��ػ��ѧ���

1. �Դ�ҡ��Ǻؤ�� ����Դ�ҡ�������ͧ����ҷ �آ�Ҿ��ҧ������վ�������л�Ժѵԧҹ ��������դ����������ǡѺ����ͧ��� �վ� ���
2. �Դ�ҡ����ͧ��ͪ��ش ����ͧ�������Ҿ�������������ҹ �դس�Ҿ��� ���
3. �Դ�ҡ�к���÷ӧҹ �Ҥ��ʶҹ��� ����ҧἹ��鹵͹��û�Ժѵԧҹ���� �� �����ʧ���ҧ�����§�� �ҡ��������� �س������٧�Թ� ���

�š�з��ҡ����Դ�غѵ��˵�

1. ���ҧ�����٭���µ�ͷ�Ѿ���Թ �� ö¹�쪹�ѹ ���ҧ����������¤�� ö¹��ѧ �����٭���·�Ѿ���Թ�����Թ���¤�������������������
2. ��ҧ������Ѻ�Ҵ�� �٭���������� �����ҡ�ع�ç�Ҩ�٭���ª��Ե㹷���ش
3. ���ҧ�������������ª������§ �������Ѻ㹷ҧ��áԨ �� ����ѷö�������ѡ�Դ�غѵ��˵غ��� � �١��Ҽ�����ԡ���Ҩ���ԡ�âͧ����ѷ��������᷹ ����������ͧ����ѷŴ����ŧ

��������ʹ���
�繢�ͺѧ�Ѻ���͢�ͤ�����Ѵ���ѧ����˹���� �����繡�û�ͧ�ѹ�������غѵ��˵��Դ����� ����Ҩ��ᵡ��ҧ�ѹ仢������Ѻ�ѡɳС�÷ӧҹ������Ң��Ҫվ��ҧ 㹷����С���Ƕ֧��������ʹ��·��� ���繵�����ҧ

1. �觡������Ѵ���
2. �������͡��͡ѹ㹢�л�Ժѵԧҹ
3. ����ô����ͧ�ֹ���㹢�л�Ժѵԧҹ
4. ��õ�Ǩ��Ҿ����ͧ��͡�͹�����ҹ
5. ��û�Ժѵԧҹ�ʶҹ��������ʧ���ҧ��§�� ����ҡ�ȶ�����дǡ
6. ����֡���к���÷ӧҹ�ͧ����ͧ�ѡ� ��Դ��� � ������㨡�͹��Ժѵԧҹ
7. �ҡ����ͧ�ѡê��ش �����¹���º͡�ӡѺ���
8. ��������ǡ������㹡�û�Ժѵԧҹ������ҧ
9. �ҡ����ѹˡŧ��鹤�÷Ӥ������Ҵ�ѹ��
10.����ͧ�ѡ÷���ա�÷ӧҹ����͹��� ���¤��������٧ ������ػ�ó�����»�ͧ�ѹ

1. ปฏิบัติตามข้อแนะนำอย่างเคร่งครัด อย่าเปลี่ยนแปลงแก้ไขโดยไม่รู้จริง และหากเกิดข้อสงสัยให้ทำการสอบถามก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงาน

2. ปรับปรุงแก้ไข หรือรายงานสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย

3. ต้องช่วยกันรักษาความสะอาด และมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย

4. ใช้เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ให้ถูกต้องและปลอดภัย

5. รายงานการบาดเจ็บและการปฐมพยาบาล

6. การใช้ การปรับแต่ง ตลอดจน การซ่อมแซมอุปกรณ์ต่าง ๆ จะต้องเป็นผู้ที่มีอำนาจ และมีหน้าที่เฉพาะเท่านั้น

7. ใช้ข้อกำหนดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่าง ๆ เช่น การสวมชุดเสื้อผ้าความปลอดภัย และควรเก็บไว้ในที่ ๆ เหมาะสมให้เรียบร้อย

8. ห้ามหยอกล้อ หรือเล่นกัน และหลีกเลี่ยงการทำให้ผู้อื่นวอกแวก จนเสียสมาธิในการทำงาน

9. การยกสิ่งของต่าง ๆ ควรงอเข่า และถ้าเป็นของหนัก ควรช่วยกันยกหลาย ๆ คน

10. ยอมปฏิบัติตาม กฎ หรือสัญลักษณ์แห่งความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด

  • ความปลอดภัยในการใช้หม้อไอน้ำ

ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2528) ซึ่งยังมีผลในทางการบังคับใช้ โดยมีความย่อและที่สำคัญ ๆ  เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการใช้หม้อไอน้ำ และหม้อต้ม ฯ ดังนี้ คือ

1. ต้องมีลิ้นนิรภัยอย่างน้อย 1 ชุด และหากหม้อไอน้ำที่มีพื้นที่ผิวรับความร้อนตั้งแต่ 50 ต.ร.ม.ขึ้นไป จะต้องมีลิ้นนิรภัย 2 ชุด

2. ต้องมีหลอดแก้ววัดระดับน้ำในหม้อไอน้ำ

3. ต้องมีเกจสำหรับวัดความดันไอน้ำ

4. ต้องมีเครื่องสูบน้ำเข้าหม้อไอน้ำ โดยมีความสามารถอัดน้ำได้ถึง 1.5 เท่าของความดันใช้งานสูงสุดของหม้อไอน้ำ

5. ต้องติดตั้งลิ้นกันกลับที่ท่อที่น้ำเข้าหม้อไอน้ำ

6. หากมีการใช้หม้อไอน้ำทั้ง 2 เครื่องขึ้นไป และต่อท่อรวมกัน จะต้องมีลิ้นกันกลับที่ท่อจ่ายไอน้ำของแต่ละเครื่อง

7. ต้องมีลิ้นจ่ายไอน้ำที่ตัวหม้อไอน้ำ

8. ถ้าหม้อน้ำใช้เชื้อเพลิงเหลว ต้องติดตั้งเครื่องควบคุมความดัน และเครื่องควบคุมระดับน้ำในหม้อไอน้ำ

9. ต้องติดตั้งสัญญาณเตือนระดับน้ำในหม้อไอน้ำ ถ้าต่ำกว่าระดับใช้งานปกติ

10. ต้องหุ้มฉนวนท่อจ่ายไอน้ำ

11. ท่อน้ำ, ท่อจ่ายไอน้ำ และลิ้นปิด-เปิด รวมถึงอุปกรณ์อื่น ๆ ต้องเป็นชนิดที่ใช้กับหม้อไอน้ำ

12. ถ้าหม้อไอน้ำสูงกว่า 3 เมตรขึ้นไป ต้องมีบันไดขึ้น-ลงบนหม้อไอน้ำ

13. หม้อไอน้ำ หรือหม้อต้มน้ำมัน ฯ ต้องได้รับการตรวจรับรองความปลอดภัยในการใช้งาน โดยวิศวกรเครื่องกลระดับสามัญขึ้นไป หรือผู้ที่ได้รับใบอนุญาตพิเศษตาม พ.ร.บ. วิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 แล้วส่งเอกสารดังกล่าว ไปยังกรมโรงงานอุตสาหกรรมภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ วันทำการตรวจทดสอบ

14. ต้องมีผู้คอยควบคุมประจำหม้อไอน้ำหรือหม้อต้ม ฯ ที่มีคุณวุฒิ ปวส. ช่างยนต์, ช่างกลโรงงาน หรือผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมหม้อไอน้ำ หรือหม้อต้ม ฯ จากหน่วยงานราชการ หรือสถาบันที่กระทรวงอุตสาหกรรมรับรอง

15. ต้องมีวิศวกรเครื่องกลระดับสามัญขึ้นไปคอยควบคุมดูแล การสร้าง และการซ่อมหม้อไอน้ำ หรือหม้อต้ม ฯ ตลอดจนการตรวจทดสอบความปลอดภัยในการใช้หม้อน้ำ หรือหม้อต้ม ฯ และต้องมีวิศวกรเครื่องกลคอยอำนวยการใช้หม้อไอน้ำที่มีอัตราการผลิตไอน้ำตั้งแต่ 20 ตัน/ช.ม.ขึ้นไป โดยขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม

  • ความปลอดภัยในการใช้เครื่องทำความเย็นในโรงน้ำแข็งห้องเย็นที่ใช้แอมโมเนีย เช่น ตัวกลางทำความเย็น

1. ถังรับน้ำยาแอมโมเนียความดันสูง ความดันต่ำ อินเตอร์คูลเลอร์ หรือถังแลกเปลี่ยนความร้อน ต้องติดตั้งลิ้นนิรภัย
แบบคู่ (Dual Safety Relieve Valve) หรือวาล์ว 3 ทาง

2. ต้องต่อท่อก๊าซจากลิ้นนิรภัยทุกตัวไปลงบ่อกัดด้วยน้ำ

3. ต้องติดตั้งลิ้นกันกลับภายในทั้งด้านบนและด้านล่างของหลอดแก้ว เพื่อดูระดับน้ำยาแอมโมเนีย

4. ติดตั้งลิ้นกันกลับที่ท่อเติมน้ำยาแอมโมเนีย

5. ต้องติดตั้งก๊อกน้ำสะอาด สำหรับทำความสะอาดส่วนของร่างกาย ในกรณีที่มีการสัมผัสกับก๊าซแอมโมเนียแบบมือกด ไว้ในห้องเครื่อง

6. ต้องมีหน้ากาก หรือวิธีการป้องกันแอมโมเนียให้แก่ผู้ควบคุมเครื่องทำความเย็น เพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน

7. ต้องมีวาล์วปล่อยปิด (Loaded Valve) ที่ท่อต่าง ๆ น้ำมันหล่อลื่นทุกตัว

  • ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า

1. อุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า ควรมีการต่อสายลงดิน

2. ต้องมีสวิตซ์ตัดตอนไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ

3. ต้องมีฟิวส์ป้องกันการใช้กระแสไฟฟ้าเกิน และห้ามใช้ลวดทองแดงแทนฟิวล์ตะกั่ว

4. เต้าเสียบไม่ควรมีการต่อออกไปใช้งานมากเกินขนาด

5. สายไฟฟ้าที่ต่อจากเตาเสียบไปใช้งานอื่น ๆ ควรต้องตรวจสอบ การถลอก การชำรุดของสายไฟฟ้าเป็นประจำ

6. ควรมีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าจากผู้เชี่ยวชาญ หรือวิศวกรไฟฟ้าเป็นประจำ

  • การป้องกันอุบัติเหตุหรืออันตรายภายในโรงงานอุตสาหกรรม

การป้องกันอุบัติเหตุหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นภายในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งมีวิธีที่ใช้ได้ผล และทางกรมโรงงานอุตสาหกรรม ก็ได้นำหลักการดังกล่าวนี้มาใช้อยู่เป็นประจำ นั่นคือ หลัก 3 E มีดังนี้ คือ

1. Engineering (วิศวกรรมศาสตร์) เป็นเรื่องของการออกแบบ การคำนวณ เครื่องจักร ครื่องมืออุปกรณ์ภายในโรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการ เพื่อให้ถูกต้องตามหลักของวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งจะต้องอาศัยการออกแบบด้วยการคำนวณ เพื่อให้มีความปลอดภัยต่อการใช้งาน และวิศวกร หรือสถาปนิกทั้งหลายนั้น ก็สามารถนำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการต่าง ๆ ซึ่งจะทำให้การทำงานทุกอย่าง มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น

2. Education (การศึกษาหรืออบรม) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ การอบรม การสัมมนา เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานในทุก ๆ กลุ่มเพิ่มพูนความรู้มากขึ้น รวมถึงเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ใกล้เคียงกัน และทางกรมโรงงานอุตสาหกรรมก็ได้มีหลักสูตรสำหรับผู้ควบคุมหม้อไอน้ำ หรือหม้อต้ม ฯ โดยจัดร่วมกับทางสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด หรือร่วมกับสถาบันการศึกษาจัดฝึกอบรมหลักสูตรดังกล่าว อยู่เป็นประจำในทุก ๆ ปี โดยเชิญวิทยากรฝ่ายหม้อไอน้ำ ฯ กองความปลอดภัยโรงงาน ซึ่งในแต่ละปี ก็จะมีผู้ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรดังกล่าวกว่า 500-600 คน และผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมเหล่านี้ ก็จะได้รับการขึ้นทะเบียนประจำหม้อไอน้ำ หรือ หม้อต้ม ฯ ซึ่งยังผลให้การใช้งานของผู้ควบคุมหม้อไอน้ำหรือหม้อต้ม ฯ ดังกล่าวมีความปลอดภัยขึ้น โดยวิศวกร หรือสถาปนิกทั้งหลายที่สามารถจะนำเรื่องราวจากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ภายในโรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการต่าง ๆ ได้เช่นกัน ประโยชน์ก็เพื่อให้ทุก ๆ คนในหน่วยงานได้มีความตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน และจะสามารถทำให้ทุกคนคำนึงถึงแต่คำว่า Safety First หรือ Safety Ahead ตลอดเวลาในการทำงาน

3. Enforcement (กฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับ) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายบังคับใช้ เพื่อให้ทุกคนในหน่วยงานได้ปฏิบัติตาม และเพื่อเป็นการเสริมสร้างความปลอดภัย ถ้าไม่มีการปฏิบัติตามก็จะมีความผิด อย่างเช่น เรื่องของหม้อไอน้ำ หากว่าโรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการที่มีการใช้หม้อไอน้ำในแต่ละชนิดที่มีอัตราในการผลิตไอน้ำตั่งแต่ 20 ตัน/ช.ม.ขึ้นไป จะต้องมีวิศวกรเครื่องกลคอยควบคุมดูแล เพื่ออำนวยการใช้สำหรับการซ่อม-สร้าง ตลอดจนการตรวจทดสอบความปลอดภัยในการใช้หม้อไอน้ำหรือหม้อต้ม ฯ ก็จะต้องขึ้นทะเบียนไว้กับทางกรมโรงงานอุตสาหกรรมอย่างถูกต้องด้วย

สำหรับโรงงานอุตสาหกรรม หรือ สถานประกอบการที่มีการใช้หม้อไอน้ำหรือหม้อต้ม ฯ นั้น จะต้องมีผู้คอยควบคุมดูแลประจำหม้อไอน้ำหรือหม้อต้ม ฯ โดยผู้ควบคุมดูแลดังกล่าว จะต้องมีคุณวุฒิตามที่กำหนด และทำการขึ้นทะเบียนกับทางกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยวิศวกร หรือสถาปนิกที่ผ่านการฝึกอบรม และขึ้นทะเบียนเป็นที่เรียบร้อย และกำลังจะไปทำหน้าที่ในการปฏิบัติงานดังกล่าว ก็จะสามารถกำหนดระเบียบข้อบังคับในการทำงานภายในโรงงานอุตสาหกรรมนั้น ๆ ได้ เพื่อเป็นการเสริมสร้างความปลอดภัยให้แก่หน่วยงานนั้น ๆ ต่อไป

ข้อมูลความรู้ทางด้านความปลอดภัยในฉบับนี้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ท่านผู้ประกอบการ และผู้ปฏิบัติงานภายในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ได้มีโอกาสอ่านบทความในข้างต้นนี้ ท่านจะสามารถนำข้อมูลความรู้ดังกล่าว ไปใช้ในทางการส่งเสริม และป้องกันการเกิดอุบัติเหตุอันตราย อันเนื่องมาจากการทำงานภายในโรงงานอุตสาหกรรมของท่านได้เป็นอย่างดีจากนี้ต่อไป ด้วยการตระหนักถึงคำว่า "กันไว้ดีกว่าแก้" ดังนั้นจึงขอขอบพระคุณ คุณศิริเพ็ญ เกียรติเฟื่องฟู หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ที่ได้ให้ข้อมูลความรู้ดี ๆ จากศูนย์เทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม มานำเสนอแก่ท่านผู้อ่านในครั้งนี้