เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

Panels หรือหน้าต่างฟังก์ชันงาน ซึ่งโปรแกรมได้เตรียมไว้เฉพาะงานแต่ละงาน เช่น หากต้องการตั้งค่าเกี่ยวกับการพิมพ์ข้อความ จะต้องใช้บัตร Character เป็นต้น

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

การเปิด Panels - การเปิด Panels มีสองลักษณะ คือ

  • เปิด Panels ที่ต้องการ - เลือกเมนูคำสั่ง Window, Panels จากนั้นคลิกที่ชื่อ Panel ที่ต้องการ
  • เปิดชุด Panels ที่ได้บันทึกไว้ - เลือกเมนูคำสั่ง Window, Panel Sets แล้วคลิกที่ชื่อชุด Panels ที่ต้องการ

การย้าย Panels

  • บัตร Panel มีลักษณะเป็นหน้าต่างรูปแบบหนึ่ง จึงสามารถย้ายตำแหน่งได้ โดยนำเมาส์ไปชี้ที่แถบ Title ของ Panel ที่ต้องการย้าย จากนั้นกดปุ่มซ้ายของเมาส์ค้างไว้ แล้วจึงลากเมาส์เพื่อนำ Panel ไปวาง ณ ตำแหน่งที่ต้องการ

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

การย่อ/ขยายขนาด

  • นำเมาส์ไปชี้ที่มุม หรือริมขอบด้านของบัตร Panel เมาส์จะมีรูปร่างเป็นลูกศรสองทิศ กดปุ่มซ้ายของเมาส์ค้างไว้ แล้วลากเมาส์เพื่อย่อ หรือขยายขนาด เมื่อได้ขนาดที่ต้องการ จึงปล่อยนิ้วจากเมาส์
    เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

การบันทึกตำแหน่งของ Panels

  • หากผู้ใช้มีความต้องการชุด Panels ในงานต่างๆ แตกต่างกันไป สามารถเปิด Panel ที่ต้องการ แล้วจัดตำแหน่ง จากนั้นสามารถบันทึกเก็บไว้ เพื่อให้การเรียกใช้งานครั้งต่อไปทำได้สะดวกและรวดเร็ว เช่นหากต้องการชุด Panel สำหรับพิมพ์งานและควบคุมเรื่องสี อาจจะเรียกใช้งานเฉพาะ Panel Character และ Mixer เท่านั้น จากนั้นจึงใช้คำสั่ง Window, Save Panel Layout… โปรแกรมจะให้ตั้งชื่อชุดเลย์เอาท์ของ Panel
    เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี
  • และสามารถเรียกใช้งานได้จากคำสั่ง Window, Panel Sets…

การปิด Panels - การปิด Panels มีสองลักษณะ คือ

  • ปิด Panels ที่ต้องการ - คลิกปุ่มปิด (ปุ่มตัว x) ซึ่งปรากฏที่มุมขวาของบัตร Panel นั้นๆ
  • ปิด Panels ทั้งหมด - เลือกเมนูคำสั่ง Window, Close All Panels

การซ่อน/แสดง Panels


จัดการไฟล์มูฟวี่ (Movie File)

เนื่องด้วยผลงานที่สร้างด้วย Flash ส่วนมากจะเป็นภาพเคลื่อนไหว ดังนั้นจึงนิยมเรียกภาพเคลื่อนไหวที่สร้างด้วย Flash ว่า "มูฟวี่ - Mivie" และเรียกไฟล์เอกสารของ Flash ว่า Movie File ด้วย

การสร้างไฟล์ใหม่ (New)

  • เรียกใช้เมนูคำสั่ง File, New หรือคลิกที่ปุ่มเครื่องมือ Newบนแถบเครื่องมือมาตรฐาน ซึ่งจะมีส่วนขยายของไฟล์เป็น .fla

การเปิดไฟล์ (Open)

  • เรียกใช้เมนูคำสั่ง File, Open หรือคลิกที่ปุ่มเครื่องมือ Openบนแถบเครื่องมือมาตรฐาน

การจัดเก็บไฟล์ (Save)

  • เรียกใช้เมนูคำสั่ง File, Save หรือคลิกที่ปุ่มเครื่องมือ Saveบนแถบเครื่องมือมาตรฐาน นอกจากนี้หากต้องการจัดเก็บไฟล์ในชื่ออื่น หรือโฟลเดอร์อื่น ก็สามารถใช้คำสั่ง File, Save As…

การปิดไฟล์ (Close)

  • ไฟล์มูฟวี่ที่เปิดใช้งาน สามารถปิดได้ด้วยคำสั่ง File, Close หรือใช้ปุ่ม

การสลับหน้าต่างไฟล์

  • ไฟล์มูฟวี่ที่เปิดและยังไม่ได้สั่งปิด จะปรากฏอยู่ตลอด ซึ่งสามารถสลับเปลี่ยนหน้าต่างการทำงานได้โดยการคลิกเลือกจากเมนู Window,… หรือกดปุ่ม
    เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

เครื่องมือจากแถบ Toolbox

ก่อนที่จะเข้าสู่เนื้อหาการสร้างมูฟวี่ คงต้องกล่าวถึงการสร้างกราฟิกลักษณะต่างๆ เพื่อนำมาใช้เป็นส่วนประกอบของมูฟวี่ต่อไป ซึ่งกราฟิกลักษณะต่างๆ ที่กล่าวถึงนี้ ได้แก่ เส้นตรง เส้นโค้ง รูปทรงเรขาคณิตต่างๆ ที่สามารถนำมาประกอบเป็นวัตถุรูปร่างต่างๆ โดยอาศัยเครื่องมือจาก Toolbox ดังนี้

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี


Tool Modifiers

Tool Modifiers เป็นส่วนที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมของการใช้เครื่องมือแต่ละอย่าง โดยจะปรับเปลี่ยนไปตามชนิดของเครื่องมือที่เลือกใช้งาน

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี


เครื่องมือ Hand

เครื่องมือ Handเป็นเครื่องมือสำหรับใช้เลื่อน Work Area และ Stage โดยเมาส์จะมีรูปร่างเป็นและใช้เมาส์ในลักษณะ Drag & Drop เพื่อเลื่อนตำแหน่ง

          ก่อนที่เราจะเริ่มวาดรูป หรือสร้างภาพ เราต้องมาทำความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม Macromedia Flash CS6 กันก่อน โดยเปิดโปรแกรม Macromedia Flash CS6 ด้วยการคลิกปุ่ม Start> All Program > Adobe Master Collection CS6 >Adobe Flash Professional CS6 จะปรากฏหน้าต่าง ดังภาพ

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี
เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี
Menu Bar คือ เมนูที่ใช้แสดงชุดคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม สามารถใช้งานได้โดยการคลิกเมนู
เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

Toolbox เป็นชุดเครื่องมือสำหรับการวาดภาพต่างๆ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มย่อยคือ Tool, View, Colors และ Option

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี
Timeline เป็นส่วนที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว โดยภายใน Timeline จะประกอบไปด้วยตารางเล็กๆ ที่มีแถบบอกจำนวนเฟรม (Frame) และมีเส้นสีแดงที่เรียกว่า Playhead ไว้สำหรับบอกตำแหน่งในการเล่นว่าอยู่ตำแหน่งใด
เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

stage เป็นพื้นที่สำหรับใช้ในการทำงาน จัดวางวัตถุ หรือรูปภาพ

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี
Panel เป็นส่วนของจอภาพเครื่องมือที่ใช้ในการปรับแต่งออบเจ็กต์

ส่วนประกอบหลักๆ ของหน้าต่างโปรแกรม Flash

1. ส่วนที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว (Timeline)
            Timeline เป็นส่วนที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว โดยมีส่วนประกอบหลักๆ ด้วยกัน 2 ส่วน คือเลเยอร์ (Layer) และ
เฟรม (Frame) ดังนี้     

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

          Layer เปรียบเสมือนแผ่นใสที่มีวัตถุหรือออบเจ็กต์ของภาพต่างๆ ที่เราวาดวางเอาไว้ การสร้างเลเยอร์ใหม่ก็เปรียบเสมือน
กับเพิ่มแผ่นใสที่มีอิสระต่อกัน สามารถเปลี่ยนตำแหน่งการซ้อนทับกันของแต่ละเลเยอร์ได้โดยจะมีผลให้ภาพมีการเปลี่ยน
ระดับและการซ้อนทับกันด้วย

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

          Frame ที่แสดงช่องเฟรมต่างๆ ซึ่งทำงานเหมือนกับเฟรมที่ประกอบกันเป็นภาพยนตร์ โดยเมื่อมีการนำเฟรมเหล่านี้
มาแสดง อย่างต่อเนื่องก็จะทำให้เกิดภาพเคลื่อนไหว ทั้งนี้ Frame จะแสดงผลทีละเฟรม โดยจะมีหัวอ่าน (Playhead)
ไว้สำหรับบอกตำแหน่งในการเล่นว่าอยู่ในตำแหน่งใด

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

ชนิดของเฟรม
              ชนิดของเฟรมที่ใช้ในการสร้างมูฟวี่ในโปรแกรมแฟลชแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ คีย์เฟรม (Keyframe) และเฟรม
ระหว่างกลาง (In-between frame) ดังนี้ คีย์เฟรม (Keyframe) คือตำแหน่งหลักที่วัตถุมีการเปลี่ยนแปลง ทำให้ภาพดูเคลื่อนไหว
สัญลักษณ์ของคีย์เฟรมมี 2 แบบ คือ

หมายถึง เฟรมเปล่า

หมายถึง คีย์เฟรมที่มีวัตถุอยู่

          การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame สามารถทำได้โดยการสร้างเฟรมขึ้นมาแล้ววางวัตถุลงไป
โดยปรับแต่งให้วัตถุในแต่ละเฟรมมีความแตกต่างกัน

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

          เฟรมระหว่างกลาง (In-between frame) In-between เป็นหลักการหนึ่งของการสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการกำหนดเฟรมเริ่มต้น และเฟรมสิ้นสุดของการเคลื่อนไหว แล้วใช้คำสั่ง tween ในโปรแกรมแฟลชเพื่อให้ภาพเคลื่อนที่ระหว่างเฟรมเริ่มต้นกับเฟรมสิ้นสุด

เมนูใดที่ใช้คำสั่งเรียก panel สี

การกำหนดการเคลื่อนที่แบบ tween ให้กับวัตถุในคีย์เฟรม มีสัญลักษณ์ของเฟรมที่แตกต่างกันตามลักษณะการเคลื่อนที่ที่กำหนด ดังนี้

ข้อใดคือ ActionScript ของโปรแกรม Flash

ActionScript คือ ค าสั่งที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการท างานของชิ้นงาน โปรแกรม Flash เช่น การคลิกปุ่ม การควบคุมการเล่น การหยุดเล่น การลิงค์ไปยังซีนต่างๆ การใส่ ActionScript สามารถใส่ได้ 2 ที่คือ ใส่ที่คีย์เฟรม บน Timeline และ ใส่ที่ปุ่ม Button. การใส่ActionScript ที่Keyframe.

Stroke Color หมายถึงข้อใด

>> Stroke Color ใช้กำหนดสีให้กับสีเส้น >> Fill Color ใช้กำหนดสีให้กับสีพื้น >> Black and White ใช้เปลี่ยนสีเส้นเป็นสีดำ และสีพื้นเป็นสีขาว >> Swap Colors ใช้สำหรับสลับสีระหว่างสีพื้นกับสีเส้น

โปรแกรมใดต่อไปนี้ เหมาะกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว

Blender (โปรแกรม Blender ออกแบบ 3 มิติ 3D Animation) Adobe Animate CC (โปรแกรม Adobe Animate สร้างแอนิเมชั่นบนเว็บไซต์ ง่ายๆ) Pivot Animator (โปรแกรม สร้างการ์ตูน ทำภาพเคลื่อนไหว) Reallusion iClone (โปรแกรม Reallusion iClone สร้าง ออกแบบตัวละคร แอนิเมชั่น 3 มิติ)

การเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween หมายถึงข้อใด

การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบนี้เป็นการเคลื่อนที่ของเนื้อหาจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หรือ เปลี่ยนคุณสมบัติจากแบบหนึ่งไปเป็นอีกแบบหนึ่ง เหมาะสาหรับการทา ภาพเคลื่อนไหว แบบต่อเนื่องสม่าเสมอ เช่น เมฆลอย พัดลมกาลังหมุน ยานบิน รถกาลังแล่น เป็น ต้น