ข้อใดไม่ใช่หลักการสรุปความ

1 ๑. ข้อใดเป็นสิ่งที่ผู้เขียนเรียงความแสดงออกผ่านการเขียนเรียงความ

2 ๒.การวางโครงเรื่องคืออะไร

3 ๓.ข้อใดคือประโยชน์ของการวางโครงเรื่อง

4 ๔.องค์ประกอบของการเขียนเรียงความมีกี่ข้อ

5 ๕. การเขียนเรียงความที่ดีต้องอาศัยสิ่งใด

6 ๖. ข้อใดเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดในการเขียนเรียงความ

7 ๗. คำนำที่ดีความมีลักษณะอย่างไร

8 ๘. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการเขียนเรียงความ

9 ๙. ข้อใดเป็นสิ่งสำคัญในการเขียนเรียงความที่เกี่ยวกับการค้นคว้าหรือเกี่ยวกับวิชาการ

10 ๑๐. การสรุปที่ดีควรเป็นอย่างไร

ข้อใดคือหลักการสรุปความ

การสรุปความ คือการหยิบยกเอาความคิดหลักหรือประเด็นที่สําคัญของเรื่องที่ได้ฟัง ได้ดู ได้อ่านมากล่าวย้ําให้เด่นชัด โดยใช้ประโยคสั้นๆ แล้วเรียบเรียงให้เป็นระเบียบ

ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์หลักของการวางโครงเรื่อง

การวางโครงเรื่อง คือ การแยกหัวข้อเรื่องออกเป็นหัวข้อย่อยๆ เมื่อเติมรายละเอียดแล้ว จะได้รายงานทั้งเรื่องการวางโครงเรื่องมีประโยชน์ คือ ทำให้ทราบว่าจะเขียนเรื่องอะไร เขียนไปทางใด สั้นยาวขนาดไหน เรียงเรียงลำดับเรื่องได้ถูกต้องไม่สับสน และสำคัญที่สุด คือทำให้ไมออกนอกเรื่องนั่นเองค่ะ

การวางโครงเรื่อง มีอะไรบ้าง

วิธีการเขียนโครงเรื่อง มี ๔ ขั้นตอน ๑. รวบรวมความคิด ข้อมูลเป็นข้อๆ (ระดมความคิด) ๒. จัดหมวดหมู่ข้อมูลและจัดล าดับความส าคัญของแต่ละหัวข้อ ๓. จัดล าดับของหัวข้อแต่ละหัวข้อให้มีเนื้อหาต่อเนื่องเป็นล าดับและสัมพันธ์กัน ผู้เขียนสามารถจัดล าดับเนื้อหาตามล าดับ เวลา / ตามประเพณีนิยม / ตามความส าคัญน้อยไปสาคัญมากหรือส าคัญ ...

ความหมายของการสรุปความคืออะไร

การสรุปความ หมายถึง การรวบรวมนาใจความสาคัญของเรื่อง มาเรียบเรียงใหม่แบบสั้นๆ โดยใช้ สานวนภาษาของตนเองโดยคลอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด สรุปข้อความที่อ่านให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของเนื้อเรื่องที่ ทาให้ผู้อ่านเข้าใจ