หนังสือ จินดามณี ฉบับ พระ โหรา ธิ บ ดี

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ “จินดามณีฉบับพระโหราธิบดี” กับ “จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิท” โดยมุ่งศึกษาด้านการลำดับเนื้อหา ด้านเนื้อหา และด้านวิธีนำเสนอเนื้อหา รวมทั้งเพื่อศึกษาลักษณะที่เหมาะสมของการเป็นแบบเรียนสอนเด็กไทยใน “จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิท”

Show

ผลการศึกษาปรากฏว่า “จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิท” มีการลำดับเนื้อหาเป็นระบบจากง่ายไปยาก มีเนื้อหาทั้งหัวข้ออักขรวิธีไทย หัวข้อการแต่งคำประพันธ์ และหัวข้อคำสอนที่เหมาะสม ตลอดจนมีคำอธิบายเนื้อหาละเอียด ชัดเจน มีวิธีนำเสนอเนื้อหาที่น่าสนใจ เหมาะสมกับการเป็นแบบเรียนสอนเด็กไทยมากกว่า “จินดามณีฉบับพระโหราธิบดี” ในด้านความเหมาะสมของการเป็นแบบเรียนสอนเด็กไทยนั้น เมื่อศึกษาวิเคราะห์ตามเกณฑ์การพิจารณาแบบเรียนปัจจุบัน เฉพาะด้านเนื้อหา และวิธีเขียน (การนำเสนอเนื้อหา) แล้ว “จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิท” มีเนื้อหาและวิธีเขียนสอดคล้องกับเกณฑ์การพิจารณาแบบเรียนดังกล่าว คือมีเนื้อหาถูกต้อง เชื่อถือได้ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีคำสอนที่ส่งเสริมศีลธรรมอันดีงามให้แก่ผู้เรียน ตลอดจนมีปริมาณของเนื้อหาที่เหมาะสม ส่วนวิธีการนำเสนอเนื้อหาก็มีการลำดับเนื้อหาเหมาะสมจากง่ายไปยาก คำอธิบายเนื้อหาชัดเจน เข้าใจง่ายวิธีเขียนน่าสนใจ และช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักคิดและค้นคว้าด้วยตนเอง “จินดามณี ฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิท” จึงนับว่าเหมาะสมกับการเป็นแบบเรียนสอนเด็กไทย

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite

เจียมวิจักษณ์ ร. (2016). "จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิท": การศึกษาในฐานะแบบเรียนสำหรับ "กุลบุตรผู้พากเพียร". วรรณวิทัศน์, 15, 177–236. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2015.11

More Citation Formats

  • ACM
  • ACS
  • APA
  • ABNT
  • Chicago
  • Harvard
  • IEEE
  • MLA
  • Turabian
  • Vancouver

Download Citation

  • Endnote/Zotero/Mendeley (RIS)
  • BibTeX

ฉบับ

ปีที่ 15 (2015): ฉบับพิเศษ 2558

บท

บทความประจำฉบับ

References

กรมศิลปากร. (2543). จินดามณี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.

จินดามุนี เล่ม 2. เลขที่ 35 มัดที่ 6 กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึกสํานักหอสมุดแห่งชาติ.

ฉันทิชย์ กระแสสินธุ์. (2505). พระคัมภีร์จินดามณี. ม.ป.ท.: ม.ป.พ. (จัดพิมพ์เป็นที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพพระภัทรมุนี (อิ๋น สัตยาภรณ์).

ชุติมา สัจจานันท์. (2546). หน่วยที่ 7 การเลือกและการจัดหาหนังสือ. ในสาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 1–8 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

เทอดศักดิ์ นิสังกาศ. (2532). การวิเคราะห์จินดามณี เล่ม 1: เนื้อหาด้านอักขรวิธี. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, วิชาเอกภาษาไทย.

ธวัช ปุณโณทก. (2532). วิวัฒนาการหนังสือแบบเรียนภาษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

นิยะดา เหล่าสุนทร. (2552). วัตนาการของแบบเรียนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ลายคํา.

ประภัสสร มีชัย. (2550). วิเคราะห์อักขรวิธีจากหนังสือจินดามณีฉบับหมอบรัดเล. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร, สาขาวิชาภาษาไทย.

มารศรี สอทิพย์. (ตุลาคม–ธันวาคม 2547). จินดามณี: ตําราประพันธศาสตร์ของไทย. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 22 (1), 1–24.

รังรอง นิลประภัสสร. (2528). การวิเคราะห์หนังสือเรียนภาษาไทยชุดภาษาพิจารณ์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่หก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัญจวน อินทรกําแหง. (2515). การเลือกหนังสือและโสตทัศนวัสดุ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2545). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย (เล่ม 1) (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศักดิ์ศรี ปาณะกุล, ประพิมพ์พรรณ สุธรรมวงศ์, และนพคุณ คุณาชีวะ. (2521). การวิเคราะห์หนังสือแบบเรียน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สุธาสินี สิทธิเกษร. (2558). ภาษากับความคิด. ในการใช้ภาษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

หนังสือจินดามณีเป็นแบบเรียนเล่มแรกของไทย เชื่อว่าใช้มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สืบมาจนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ต้นฉบับตัวเขียนสมุดไทยหนังสือจินดามณีมีอยู่หลายฉบับ... (คำนำ)

จินดามณี ที่พิมพ์รวมในหนังสือเล่มนี้ จัดพิมพ์เผยแพร่โดยกรมศิลปากร ประกอบด้วย
จินดามณีเล่ม ๑ มีข้อความระบุในเนื้อหาว่า พระโหราธิบดีแต่งถวายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
จินดามณี ฉบับใหญ่ บริบูรณ์ ต้นฉบับเป็นเอกสารสมุดไทย ยังไม่เคยพิมพ์เผยแพร่มาก่อน

หนังสือหายากอิเล็กทรอนิกส์ สำนักงานวิทยทรัพยากร แบบ free access
จินดามณี เล่ม 1-2 กับ บันทึกเรื่องหนังสือจินดามณีและจินดามณี ฉบับพระเจ้าบรมโกศ
มะนีจินดา : หนังสือปถม ก กา แจกลูกอักษร, ฤา, จินดามุณี, ปถมมาลา แลปทานุกรม แลกลบทต่าง ๆ (ชื่อปกนอก : จินดามุนี)

หนังสือเล่มหนึ่งจากหลายเล่มในนิทรรศการหนังสือแนะนำ “ภาษาไทย ภาษาชาติ” จัดแนะนำ ชั้น 1 สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เดือน กรกฎาคม-สิงหาคม 2562

    ทำไมจึงต้องอ่าน จินดามณี ฉบับ ฉันทิชย์ กระแสสินธุ์? เมื่อในสมัยก่อน หนังสือจินดามณี ถูกยกย่องเรียกว่า พระคัมภีร์จินดามณี โดยจินดามณีฉบับแรกนั้น "พระโหราธิบดี" ได้แต่งไว้ในสมัยพระนารายณ์มหาราช โดยระยะเวลาที่ผ่านมายาวนานทำให้ต้นฉบับเดิมเสียหายไปมากทั้งจากเมื่อสมัยกรุงแตกในยุคกรุงศรีอยุธยา เลยทำให้มีหลายฉบับที่ตีพิมพ์ออกมา โดยเล่มที่กำลังกล่าวถึงอยู่นี้ คือฉบับที่อาจารย์ "ฉันทิชย์ กระแสสินธุ์" เป็นผู้เรียงเรียงไว้ โดยท่านอาจารย์ ได้เลือกใช้ฉบับตัวเขียนของ "ขุนนิมิตรอักษรเป็นหลัก"