มาตรฐานคุณธรรมจริยธรรม 2562

มาตรฐานทางจริยธรรม ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562

มาตรฐานคุณธรรมจริยธรรม 2562

           ข้าราชการ คือ บุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสียสละ เป็นที่พึ่งของประชาชนและทำคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติ โดยยึดถือความถูกต้อง มีจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ มีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่กระทำตนออกนอกลู่นอกทางหรือประพฤติตนในทางที่เสื่อมเสียต่อหน้าที่การงาน มุ่งประโยชน์ ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง ให้สมเกียรติศักดิ์ศรีแห่งจรรยาข้าราชการที่ดี

          มาตรฐานทางจริยธรรม หรือ หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งได้บัญญัติไว้ใน “พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562” และประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 16 เมษายน 2562 เป็นต้นมา ซึ่งได้กำหนดให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ต้องประพฤติปฏิบัติ ตามมาตรฐานทางจริยธรรม 7 ประการ ซึ่งประกอบด้วย

(1) ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

(2) ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่

(3) กล้าตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม

(4) คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสาธารณะ

(6) ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ

(7) ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ

ที่มา : หมวด 1 มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม มาตรา 5 ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562

 ******************************

© คณะทำงานดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม กองบริหารการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม


เป้าหมายคุณธรรม : ปัญหาที่อยากแก้ (1) คือ การนำทรัพย์สินของทางราชการไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว
ตามแผนส่งเสริมคุณธรรม กองบริหารการคลัง สังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

กองบริหารการคลัง จึงดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรตระหนักรู้เรื่องกฎ ระเบียบ วินัยราชการ ด้วยการรณรงค์การไม่นำทรัพย์สินของทางราชการไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว ผ่านการประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับวินัยข้าราชการ /โทษทางวินัยกรณีนำทรัพย์สินของทางราชการไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว ผ่านสื่อต่าง ๆ ของหน่วยงานและให้บุคลากรภายในกองทราบและปฏิบัติ รวมทั้ง ผู้บังคับบัญชาให้ความสำคัญ เน้นย้ำมาตรการ และกำกับติดตามตรวจสอบบุคลากรอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้บุคลากร/หน่วยงาน ร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) เรื่อง วินัยข้าราชการ การไม่รับทรัพย์สินฯ ภายในกอง/สำนัก หรือองค์กร อีกด้วย

        ให้เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการและเลขานุการ และให้เลขาธิการ ก.พ. แต่งตั้งข้าราชการในสำนักงาน ก.พ. เป็นผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่ปฏิบัติงานธุรการงานประชุม งานวิชาการ การศึกษาหาข้อมูล และกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้แก่ ก.ม.จ. คณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานที่แต่งตั้งโดย ก.ม.จ. รวมทั้งให้มีหน้าที่และอำนาจอื่นตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้

พรบ.มาตรฐานทางจริยธรรม 2562 มีกี่ประการ

พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกอบด้วย ๓ หมวด ๑ บทเฉพาะกาล รวม ๒๒ มาตรา มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ประกาศฯ เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ จึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๒) มีสาระสำคัญโดยสรุป ดังนี้

พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีวัตถุประสงค์อย่างไร

พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.. ๒๕๖๒ ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่๑๗ เมษายน ๒๕๖๒ มีหลักการให้มีกฎหมายว่าด้วยมาตรฐาน ทางจริยธรรมเพื่อเป็นแม่บทในการจัดท าประมวลจริยธรรมให้กับองค์กรกลางบริหาร งานบุคคลประเภทต่าง ๆ และหน่วยงานของรัฐที่อยูในก ากับของฝ่ายบริหารได้จัดท า ประมวลจริยธรรมให้มีความ ...

พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับเมื่อใด

พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.. 2562. วันที่ 30 ธ.ค. 2563. ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 16 เมษายน 2562 ประกาศให้มีกฎหมายพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.. 2562 และให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน 2562 เป็นต้นไป

ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 คือใคร

มาตรา ๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมวด ๑ มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม หมวด ๒ คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม