ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ from Khunakon Thanatee

2. แหล่งกำเนิดข่าวสาร (Source) หรือเรียกว่า “ผู้ส่งข้อมูล (sender)” เป็นอุปกรณ์หรือซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่จัดส่งข้อมูลที่อยู่ต้นทาง โดยข้อมูลต้องถูกจัดเตรียมนาเข้าสู่อุปกรณ์ส่งข้อมูล เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โมเด็ม (modem) จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม

3. สื่อกลางหรือตัวกลาง (Media) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่นาข่าวสารรูปแบบต่าง ๆ จากผู้ส่งไปยังผู้รับ ได้แก่ สายไฟ ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออฟติก เป็นต้น สื่อกลางอาจจะอยู่ในรูปของคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม คลื่นวิทยุ เป็นต้น ซึ่งสามารถเชื่อมต่อแหล่งกำเนิดข่าวสารและแหล่งรับข่าวสารเข้าด้วยกันหรือเป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล

4. แหล่งรับข่าวสาร (Receiver) หรือเรียกว่า ผู้รับข้อมูล ทาหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกถ่ายทอดมาจากผู้ส่งข้อมูลผ่านสื่อที่เชื่อมระหว่างกัน การสื่อสารจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อข่าวสารที่ผู้รับข้อมูลได้รับนั้น เป็นข่าวสารเดียวกันกับข่าวสารที่ผู้ส่งข้อมูลได้ถ่ายทอดผ่านสื่อมายังผู้รับข้อมูล

5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กำหนดไว้ ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น

ระบบสื่อสารทุกชนิดจะต้องมีองค์ประกอบครบทั้งสี่ส่วนนี้ หากขาดส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว การสื่อสารจะไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน เช่น การโทรศัพท์ไปหาเพื่อน แต่ไม่มีผู้รับสารหรือเป็นเสียงตอบรับจากเครื่องตอบรับโทรศัพท์อัตโนมัติ ก็จะไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้น เป็นต้น ในกรณีนี้ สิ่งที่ขาดหายไปคือ ผู้รับข้อมูล ถ้าเพื่อนตอบรับโทรศัพท์ ก็แสดงว่า การสื่อสารได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว

          4. ดาวเทียม (Satellite) เป็นการสื่อสารโดยคลื่นไมโครเวฟแต่เนื่องจากเป็นคลื่นที่เดินทางในแนวตรง ทำให้พื้นที่ที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหรือตึกสูงมีผลต่อการบดบังคลื่น จึงมีการพัฒนาดาวเทียมให้เป็นสถานีไมโครเวฟที่อยู่เหนือพื้นผิวโลก ทำหน้าที่เป็นสถานีส่งและรับข้อมูล ถ้าเป็นลักษณะการส่งข้อมูลจากภาคพื้นดินไปยังดาวเทียม ดาวเทียมสู่ภาคพื้นดิน เรียกว่า “การเชื่อมโยงหรือดาวน์ลิงค์ (Down Link)” ทั้งนี้มีระบบเทคโนโลยีที่นิยมและอาศัยการทำงานของดาวเทียมเป็นหลัก คือ ระบบจีพีเอส(Global Positioning System : GPS) ที่ช่วยตรวจสอบตำแหน่งที่อยู่บนพื้นผิวโลก เช่น การติดตั้งอุปกรณ์จีพีเอสไว้ในรถและทำงานร่วมกับแผนที่ ผู้ใช้สามารถขับรถไปตามระบบนำทางได้ นอกจากนี้ยังได้นำอุปกรณ์จีพีเอสมาติดตั้งในระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วย

     ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายเข้าด้วยกัน  โดยทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ให้ข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปผู้รับ การวัดปริมาณหรือความจุในการนำข้อมูลที่เรียกว่า แบนด์วิดธ์ (bandwidth) มีหน่วยเป็นบิตต่อวินาที (bit per second)

    ตัวกลางในการสื่อสารมีทั้งแบบมีสายและไร้สายดังนี้

                สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair : TP)  ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงหุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้น พันบิดเป็นเกลียว เพื่อลดผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิ้ลเดียวกันหรือจากภายนอก

                ในปัจจุบันสายคู่บิดเกลียวได้รับการพัฒนาจนสามารถใช้ส่งข้อมูลได้ด้วยอัตราเร็วมากกว่า 1 กิกะบิตต่อวินาทีในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร  เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวมีราคาไม่แพงมาก  ใช้ส่งข้อมูลได้ดีจึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง สายคู่บิดเกลียวมี 2 ชนิด คือ

ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

ที่มาภาพ : http://fiberoptics.seesaa.net/article/441454370.html


                ก. สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือเอสทีพี (Shielded Twisted-Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอกอีกชั้น เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดียิ่งขึ้น  จึงนิยมใช้ในสถานที่ที่มีสัญญาณรบกวนสูงแต่มีราคาแพงกว่าสายยูทีพี

ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

ที่มาภาพ : https://www.krui3.com/wp-content/uploads/2015/11/stp-cable-lan.jpg

                ข. สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือยูทีพี (Unshielded Twisted-Pair : UTP)  เป็นสายคู่บิดเกลียวที่ไม่มีลวดถักชั้นนอกทำให้สะดวกในการเดินสาย เพราะโค้งงอได้ดี  แต่สามารถป้องกันการรบกวนของแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรกและมีราคาต่ำกว่า สายชนิดนี้นิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่ายทั่วไป เช่น ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับแลน

ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

ที่มาภาพ : http://www.networkcablinglosangeles.com/unshielded-twisted-pair-cable/


ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

ที่มาภาพ : http://comnetwork2013.blogspot.com/2013/11/utp.html


                สายโคแอกซ์หรือสายแกนร่วม (coaxial cable)  เป็นสายสัญญาณที่มีสายทองแดงเดียวเป็นแกนกลางหุ้มด้วยฉนวนเพื่อป้องกันไฟรั่ว จากนั้นหุ้มด้วยลวดทองแดงถักเป็นร่างแหล้อมรอบเป็นตัวกั้นสัญญาณรบกวนอยู่ด้านนอก  และหุ้มชั้นนอกด้วยฉนวนพลาสติก  ลักษณะของสายเป็นแบบกลมและใช้สำหรับสัญญาณความถี่สูง  สายโคแอกซ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายมีหลายแบบตามคุณลักษณะทางด้านความต้านทานของสาย  สายโคแอกซ์ที่พบในชีวิตประจำวัน  เช่น  สายอากาศโทรทัศน์  ปัจจุบันในระบบเครือข่ายไม่ยอมใช้ในการสื่อสารข้อมูลแล้ว

ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

ที่มาภาพ : https://www.dxengineering.com/parts/dxe-213u

ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

ที่มาภาพ : http://oknation.nationtv.tv/mblog/entry.php?id=922306


                สายไฟเบอร์ออปติกหรือเคเบิลเส้นใยนำแสง (fiber optic cable) ทำจากแก้วหรือพลาสติกที่มีความบริสุทธิ์สูง  ใช้แสงในการสื่อสารข้อมูลทำให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้

                ปัจจุบันสายไฟเบอร์ออฟติกเป็นตัวกลางนำสัญญาณที่สำคัญในการสื่อสารข้อมูลดิจิตอลเนื่องจากสามารถรับส่งข้อมูลได้ในปริมาณมากกว่า 1 กิกะบิตต่อวินาที  ใช้ได้ในระยะทางไกลถึงหลายกิโลเมตร  และเกิดความผิดพลาดในการส่งข้อมูลต่ำ  สายไฟเบอร์ออฟติกมักนิยมใช้ในการเชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย

ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

ที่มาภาพ : http://news.siamphone.com/news-33387.html


ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

ที่มาภาพ : http://www.ku.ac.th/e-magazine/september43/fiber_optic/



3.4.2 ตัวกลางนำสัญญาณไร้สาย

            คลื่นวิทยุ คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 10 กิโลเฮิร์ตซ์ ถึง 

1 กิกะเฮิร์ท  ใช้งานในการติดต่อสื่อสารในระบบแลนไร้สาย

            คลื่นไมโครเวฟ คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ  มีการนำมาใช้งานทั้งในแบบการสื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกด้วยกัน   และใช้สื่อสารระหว่างสถานี

บนพื้นโลกกับดาวเทียม  โดยถ้าเป็นการใช้งานระหว่างสถานีบนพื้นโลกจะใช้คลื่นความถี่ในช่วง 4-6 กิ๊กกะเฮิร์ท หรือ 21-23 กิกะเฮิรตซ์

                ปัจจุบันไมโครเวฟใช้ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างสถานีที่การติดตั้งสายสัญญาณทำได้ยาก  เช่น  ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างภูเขากับพื้นราบใช้ในการถ่ายทอดสัญญาณผ่านดาวเทียม

            อินฟราเรด คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าไมโครเวฟแต่ต่ำกว่าความถี่ของแสงที่ตามนุษย์มองเห็นได้  ใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างผู้ส่งกับผู้รับโดยทั่วไปมักใช้ในการสื่อสารระยะใกล้ประมาณไม่เกิน 10 เมตร ลักษณะการใช้งาน เช่น
การใช้รีโมทควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ

ตัวกลาง การ สื่อสาร ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์

ที่มาภาพ : https://www.techwalla.com/articles/how-to-reprogram-a-dish-remote-to-work-with-a-samsung-tv

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง

แม้ว่าการสื่อสารแบบไร้สายอาจฟังดูไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์อะไรมาก แต่ว่าการรับส่งข้อมูลแบบไร้สายนั้นจำเป็นต้องมีอุปกรณ์ 2 ตัว ที่ต้องใช้ในระบบ นั้นก็คือ อุปกรณ์ส่งสัญญาณ กับ อุปกรณ์รับสัญญาณ ซึ่งอุปกรณ์ส่งสัญญาณค่อยทำหน้าที่แปลงข้อมูลกลายเป็นคลื่นสัญญาณและส่งผ่านคลื่นนั้นไปในอากาศ ส่วนอุปกรณ์รับสัญญาณคืออุปกรณ์ที่รับ ...

ตัวกลางในการสื่อสารมีความสำคัญอย่างไร

ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทำให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่าน จากผู้ส่งไปสู่ผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมความแตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูล ที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนำผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณ ...

ตัวกลางในการนำข้อมูลที่นิยมใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่าย คือข้อใด

เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงให้เครือข่ายที่มีขนาดหรือมาตรฐานในการส่งข้อมูลต่างกัน สามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ เราเตอร์จะทำงานอยู่ชั้น Network หน้าที่ของเราเตอร์ก็คือ ปรับโปรโตคอล (Protocol) (โปรโตคอลเป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์) ที่ต่างกันให้สามารถ ...

สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง

3 ชนิดของสื่อหรือตัวกลาง สายสัญญาณ ที่ใช้เป็นมาตรฐานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท คือ 1. สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย 2. สายโคแอกเชียล 3. สายใยแก้วนำแสง

ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบไร้สาย มีอะไรบ้าง ตัวกลางในการสื่อสารมีความสำคัญอย่างไร ตัวกลางในการนำข้อมูลที่นิยมใช้เชื่อมต่อระบบเครือข่าย คือข้อใด สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง ตัวกลางในการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีอะไรบ้าง ตัวกลางแบบมีสาย มีอะไรบ้าง ตัวกลางที่ใช้เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย เรียกว่า ตัวกลางในการสื่อสารเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีกี่แบบ ตัวกลางการสื่อสารแบบไร้สาย ตัวกลางในการสื่อสารแบบมีสายและแบบไร้สาย มีอะไรบ้าง ตัวกลางในการสื่อสารแบบมีสาย มีอะไรบ้าง ชนิดตัวกลางแบบมีสายมีอะไรบ้างพร้อมอธิบาย