เปลี่ยนสัญญาผ่อนต่อ บ้าน Pantip

โลกนี้ไม่มีอะไรแน่นอน ความรักของคนมีคู่ที่ลงหลักปักฐานสร้างครอบครัว และลงทุนกู้เงินซื้อบ้านร่วมกัน วันหนึ่งอาจเกิดฟ้าผ่าทำให้เลิกรากันไป แล้วอย่างนี้บ้านหลังน้อยที่กู้ร่วมต้องทำอย่างไร ต้องขายทิ้งหรือไม่ แล้วชื่อเจ้าของบ้านหลังนั้นจะเป็นของใคร คำถามเหล่านี้ต่างวนเวียนอยู่ในหัวของทุกคู่รักที่กู้ร่วมซื้อบ้านด้วยกัน ต่อไปนี้ปัญหาทุกอย่างจะคลี่คลายเมื่อรู้แนวทางแก้ปัญหา

การกู้ร่วมซื้อบ้านคืออะไร

การกู้ร่วมซื้อบ้าน คือ การกู้ทรัพย์สินโดยมีผู้กู้ร่วมอีกคน เป็นคนร่วมรับภาะระหนี้ ซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยให้การกู้เงินซื้อบ้านง่ายขึ้น และให้ธนาคารหรือสถาบันทางการเงินอนุมัติการขอสินเชื่อสำหรับกู้เงินซื้อบ้านได้ง่ายขึ้น

เปลี่ยนสัญญาผ่อนต่อ บ้าน Pantip

ถอนชื่อคู่รักที่กู้ร่วม

เมื่อถึงวันเลิกรา คู่ที่เคยรักกันต้องหันมามองกลับว่าบรรดาทรัพย์สินที่ร่วมกันซื้อ ร่วมกันกู้นั้นมีอะไรบ้าง เพื่อที่จะจัดสรรปันส่วนได้อย่างลงตัว โดยหากกู้ร่วมซื้อบ้านหรือคอนโดด้วยกันต้องทำการถอดถอนชื่อคู่รักที่เลิกราออก ซึ่งถูกแบ่งเป็น 2 กรณีดังนี้

เปลี่ยนสัญญาผ่อนต่อ บ้าน Pantip

คู่รักเลิกราแต่จดทะเบียนสมรส

หลังจากคู่รักตกลงจบความสัมพันธ์ และยกสินทรัพย์ที่กู้ร่วมด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นบ้าน คอนโด หรือทาวน์โฮม ให้ทำการจดทะเบียนหย่าให้เรียบร้อย จากนั้นนำใบหย่าและสัญญาจะซื้อจะขายไปขอถอนชื่อคู่รักที่เลิกราออกจากสัญญากู้ที่ทำไว้กับธนาคาร ซึ่งเจ้าหน้าที่ธนาคารจะเปลี่ยนรูปแบบสินเชื่อที่อยู่อาศัยและสัญญาเงินกู้ใหม่

เปลี่ยนสัญญาผ่อนต่อ บ้าน Pantip

คู่รักเลิกราไม่ได้จดทะเบียนสมรส

สำหรับกรณีนี้การถอนชื่อคู่รักที่เลิกราออกจากการกู้ร่วมซื้อบ้านนั้นไม่ยุ่งยาก เพียงแต่ขึ้นอยู่กับข้อตกลงของทั้ง 2 ฝ่ายว่าจะให้ใครเป็นคนถือกรรมสิทธิ์เจ้าของสินทรัพย์ที่ตกลงกู้ร่วมด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น บ้าน / คอนโด / ทาวน์โฮม หรืออาคารพาณิชย์ ทั้งนี้ต้องทำการแจ้งถอดถอนชื่อออกกับทางเจ้าหน้าที่ธนาคารที่ทำสัญญากู้ไว้ โดยสามารถแจ้งความประสงค์กับธนาคารว่าต้องการถือกรรมสิทธ์เพียงคนเดียว เนื่องจากได้หย่าร้างกันแต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส ซึ่งธนาคารจะประเมินความสามารถของผู้กู้ว่าสามารถผ่อนชำระต่อได้หรือไม่ อย่างไร


เปลี่ยนสัญญาผ่อนต่อ บ้าน Pantip

รีไฟแนนซ์จากกู้ร่วมเป็นกู้เดี่ยว

สำหรับขั้นตอนที่ 2 นี้ เป็นทางออกกรณีที่ธนาคารไม่อนุมัติให้ถอนชื่อคู่รักที่กู้ร่วมด้วยกันออก เนื่องจากประเมินแล้วว่าผู้กู้ไม่สามารถชำระหนี้คนเดียวได้ ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดคือ การรีไฟแนนซ์กับธนาคารอื่นเพื่อทำเรื่องขอกู้ที่อยู่อาศัยเพียงคนเดียว ทั้งนี้ธนาคารจะเป็นผู้ประเมินความสามารถในการชำระหนี้ โดยมีปัจจัยหลักในการพิจารณาดังต่อไปนี้


เปลี่ยนสัญญาผ่อนต่อ บ้าน Pantip

ตัดปัญหาขายทิ้ง

เป็นวิธีสุดท้ายในการตัดปัญหาการแบ่งกรรมสิทธิกรณีคู่รักกู้ร่วมซื้อบ้านด้วยกันและจำเป็นต้องเลิกราไป ซึ่งปฏิบัติการนี้จะสำเร็จได้ต้องมีการตกลงกันระหว่าง 2 คนแล้วว่าไม่มีใครอยากครองกรรมสิทธิบ้านที่ซื้อ ซึ่งต้องยินยอมขายจากทั้งสอง ฝ่าย ทั้งนี้คู่รักจะต้องตรวจสภาพบ้านและค่าธรรมเนียมต่างๆ ก่อนขายบ้านด้วย ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้


แม้ว่าจะรู้ขั้นตอนการจัดการสินทรัพย์ บ้าน คอนโด ทาวน์โฮม หรืออาคารพาณิชย์ กรณีกู่ร่วมกับคู่รักแล้วต้องเลิกรากันไปแล้ว ทางที่ดีเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ปัญหานี้เกิดขึ้น ควรต้องศึกษาข้อมูลการกู้ร่วมและตกลงกรรมสิทธิ์ก่อนกู้ตั้งแต่ก่อนทำสัญญากู้

เมื่อการกู้ร่วมคือทางออกของการมีบ้านในฝัน พร้อมสัมผัสดีลักซ์ ทาวน์โฮม DEMI สาธุ 49 

หากใครที่ยังอยากกู้ร่วมอยู่ แล้วคิดไม่ตกว่าหากขอสินเชื่อกู้เงินซื้อบ้านจะได้วงเงินกู้เท่าไหร่ สามารถประมาณยอดเงินกู้ซื้อบ้านได้ผ่าน “เครื่องคำนวณเงินกู้” คลิก

แชร์ประสบการณ์ พนักงานสัญญาจ้าง เพิ่งปิดแบล็กลิสต์หมาดๆ กู้บ้าน 2.6 ล้าน ผ่าน ใน 17 วัน 2562 🏡💸

Posted by Pantip.com on Wednesday, January 30, 2019

สำหรับใครที่ในแต่ละเดือนรับภาระการผ่อนรถอยู่ และเกิดประสบปัญหาไม่อยากจะรับภาระตรงนี้ต่อไปแล้ว ลองดูวิธีการเปลี่ยนสัญญาเช่าซื้อรถยนต์ มาดูกันว่ามีเรื่องอะไรบ้างที่ต้องรู้ ถ้าอยากจะเปลี่ยนสัญญาต้องทำอย่างไรบ้าง? 

ทำไมถึงต้องเปลี่ยนสัญญาเช่าซื้อรถยนต์?

ส่วนใหญ่แล้วเรามักจะเห็นว่ากรณีนี้จะเกิดขึ้นเมื่อผ่อนรถไม่ไหว จะให้ไปรีไฟแนนซ์ก็เกรงว่าจะมีผลระยะยาวอีก เพราะสถานะทางการเงินยังไม่มั่นคง ถึงจะทำเรื่องยืดระยะเวลาการผ่อนชำระต่อไป ก็อาจจะไม่การันตีว่าจะไม่มีปัญหาติดขัดด้านการเงินอีก การส่งมอบรถไปให้คนใหม่น่าจะดีกว่า ไม่เสียประวัติตัวเองด้วย

เปลี่ยนสัญญาผ่อนต่อ บ้าน Pantip

รับภาระไม่ไหว ส่งรถให้คนอื่นผ่อนต่อ

หรือการเปลี่ยนสัญญาเช่าซื้อรถยนต์อาจเป็นเพราะผู้ต้องการเปลี่ยนสัญญาต้องการจะเปลี่ยนรถใหม่ แต่รถคันเก่ายังผ่อนไม่หมด จึงเอาไปประกาศขายดาวน์ เปลี่ยนสัญญา หาคนมารับไปผ่อนต่อ โดยส่วนมากเราจะพบเห็นได้อยู่หลัก ๆ สองแบบ คือแบบฟรีดาวน์และแบบขายดาวน์ ขึ้นอยู่กับว่ามีความต้องการแบบไหน ใครที่รีบขายมาก ๆ ผ่อนต่อไปไม่ไหวแล้ว ก็อาจจะยกประโยชน์ให้คนใหม่ไปผ่อนต่อฟรี ๆ โดยไม่เรียกเก็บค่างวดที่ตัวเองเคยเสียไปแล้ว

ดังนั้นแล้วโดยทั่วไปแล้วผู้ประกาศขายดาวน์จึงมักจะตั้งราคาเอาไว้ไม่ให้สูงมากเกินไป เพื่อจูงใจให้ผู้ที่มองหาซื้อรถรู้สึกว่าได้ราคาที่ประหยัดกว่าไปซื้อใหม่ด้วยตัวเอง อีกทั้งยังอาจจะได้รับส่วนลดอื่น ๆ  ที่ทางผู้เปลี่ยนสัญญาจะยินยอมจ่ายให้แทน

เงื่อนไขการเปลี่ยนสัญญา

สำหรับขายดาวน์รถ เปลี่ยนสัญญรถ อย่างแรกเลยคือรถคันนั้นจะต้องผ่อนมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปีถึงจะเข้าเกณฑ์ สามารถเปลี่ยนสัญญาได้ หรือ 1 ใน 4 ของจำนวนค่างวดทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีเงื่อนไขจำเป็นที่ทั้งเจ้าของเก่าและใหม่ต้องรู้คือ

เปลี่ยนสัญญาผ่อนต่อ บ้าน Pantip

ผู้รับผ่อนต่อต้องมีผู้ค้ำประกัน

  • ​รถยนต์คันดังกล่าวต้องจดทะเบียนที่กรมการขนส่งเรียบร้อยแล้ว (ไม่ใช่ป้ายแดง)
  • ลูกค้าจะต้องไม่มียอดค้างชำระค่างวด และค่าเบี้ยปรับล่าช้ากับทางบริษัทฯ
  • รถยนต์คันดังกล่าวต้องอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และนำเข้ามาตรวจสภาพ ณ วันยื่นเอกสารการขอโอนสิทธิ์
  • ต้องมีผู้ค้ำประกัน สำหรับผู้รับสัญญาใหม่
  • ต้องชำระค่างวดล่วงหน้า 1-2 งวด
  • ผู้รับช่วงต่อจะผ่อนค่างวดที่เหลือจากเจ้าของเดิม เช่น รถ 48 งวด เจ้าของเดิมส่งไปแล้ว 12 งวด เจ้าของใหม่ชำระล่วงหน้าไป 2 งวด เท่ากับว่าต้องผ่อนต่ออีก 34 งวด

ซึ่งในส่วนนี้จะเห็นได้ว่าขั้นตอนก็เหมือนกันการซื้อรถใหม่ ที่จะต้องตรวจสอบข้อมูลเพื่อให้แน่ใจว่าผู้รับช่วงไปผ่อนต่อจะมีกำลังในการรับภาระตรงนี้ได้อย่างไม่ติดขัด

ดูเพิ่มเติม
>> ซื้อรถใหม่ ต้องรู้วันดี ฤกษ์ออกรถเดือนมิถุนายน 2564
>> 9 ขั้นตอนการซื้อรถมือสอง ให้เป็นเรื่องง่ายสำหรับคุณ

ผ่อนรถไม่ถึงปี เปลี่ยนสัญญาได้ไหม

ในกรณีที่ผ่อนรถมาได้ไม่ถึงปี แต่อยากเปลี่ยนสัญญา บางที่สามารถรับการโปะค่างวดให้ครบ 12 เดือนได้ เช่น ผ่อนไปได้ 9 เดือน หากอยากเปลี่ยนสัญญา ให้ชำระค่างวดที่ค้างอีก 3 เดือน ซึ่งในจุดนี้ ขึ้นอยู่กับการตกลง ว่าใครที่จะเป็นคนจ่าย

เปลี่ยนสัญญาผ่อนต่อ บ้าน Pantip

ต้องปิดค่างวดสำหรับ 1 ปีก่อนดำเนินการ

สำหรับผู้รับช่วงต่อบางคน อาจโชคดีเจอเจ้าของเดิมยินดีจ่ายค่างวดคงค้างให้ เพราะอาจจะเกรงว่าหากให้ทางผู้ใช้ใหม่รับจ่ายตรงนี้ จะทำให้คนรับช่วงต่ออาจเปลี่ยนใจเอาเงินก้อนนี้ไปดาวน์รถใหม่ด้วยตัวเองดีกว่า หรือหารถขายดาวน์คันใหม่แทน เพราะไหนจะค่างวดล่วงหน้า ไหนจะต้องปิดค่างวดคงค้าง เราจึงมักจะเห็นผู้เปลี่ยนสัญญาเช่าซื้อรถยนต์มักจะยอมขายขาดทุน เพื่อไม่ให้ตัวเองเจ็บหนักต่อไป หรือเพื่อที่จะรีบไปไปจัดการเรื่องรถคันใหม่ เพราะไม่อยากให้มีภาระคงค้าง

ขั้นตอนการเปลี่ยนสัญญาเช่าซื้อรถ

การเปลี่ยนสัญญาเช่าซื้อรถ สามารถยื่นเอกสารแจ้งความจำนงได้ที่ทางบริษัทสินเชื่อที่ทำเรื่องชำระค่างวดโดยมีเอกสารที่ต้องใช้หลัก ๆ ดังนี้

  • สำเนาบัตรประชาชนของเจ้าของสัญญาเดิม ผู้รับช่วงสัญญาใหม่ และผู้ค้ำประกันของผู้รับช่วงสัญญาใหม่
  • สำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของสัญญาเดิม ผู้รับช่วงสัญญาใหม่ และผู้ค้ำประกันของผู้รับช่วงสัญญาใหม่
  • หลักฐานทางการเงินของผู้รับช่วงสัญญาใหม่ และผู้ค้ำประกันของผู้รับช่วงสัญญาใหม่ โดยต้องมีรายได้ต่อท่าน เท่ากับ หรือ มากกว่า 2 เท่าของค่างวด
  • แผนที่ที่อยู่ปัจจุบันและที่อยู่ที่ทำงานของผู้รับช่วงสัญญาใหม่ และผู้ค้ำประกันของผู้รับช่วงสัญญาใหม่
  • สำเนาใบประกอบการขนส่งหรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง กรณีเป็นรถที่ใช้ประกอบการขนส่ง สำหรับผู้รับช่วงสัญญาใหม่
  • พ.ร.บ. ฉบับจริงของเจ้าของสัญญาเดิม
  • คู่ฉบับสัญญาเช่าซื้อของเจ้าของสัญญาเดิม
  • หน้าตารางกรมธรรม์ประกันภัยของเจ้าของสัญญาเดิม

สำหรับการดำเนินการเปลี่ยนสัญญา ทุกคนต้องเข้ามาเซ็นสัญญาต่อหน้าพนักงานของบริษัทฯ พร้อมกันและเอกสารทุกฉบับเซ็นรับรองสำเนาถูกต้อง

เปลี่ยนสัญญาผ่อนต่อ บ้าน Pantip

ต้องดำเนินการอย่างพร้อมกันต่อหน้าพนักงานบริษัท

กรณีรถทำประกัน สามารถทำเรื่องเปลี่ยนชื่อได้ โดยจะมีค่าใช้จ่าย หากทำประกันมาเกิน 6 เดือน ทางบริษัทจะให้เปลี่ยนประกันใหม่

ค่าใช้จ่ายเมื่อเปลี่ยนสัญญาเช่าซื้อรถยนต์

สำหรับการดำเนินการ หลัก ๆ แล้วทางบริษัททั่วไปมีค่าใช้จ่ายเรียกเก็บดังนี้

  • ค่าเปลี่ยนสัญญารถ ประมาณ 1,500-4,000 บาท
  • ค่าธรรมเนียมการพิจารณาคุณสมบัติ คนละ 500 บาท สำหรับผู้รับช่วงสัญญาใหม่ และผู้ค้ำประกัน
  • ค่างวดล่วงหน้า 1-2 เดือน
  • ค่างวดคงค้าง กรณีรถผ่อนไม่ครบ 1 ปี
  • ค่าต่อภาษีรถประจำปีกรณีภาษีเหลือน้อยกว่า 3 เดือน
  • ค่าประกันภัย

การเปลี่ยนสัญญารถค่าใช้จ่ายทั้งหมดดังกล่าว อาจมีการเรียกเก็บในจำนวนที่แตกต่างกันไปในแต่ละบริษัทที่ดำเนินการ

และทั้งหมดนี่ก็คือข้อมูลสำหรับการเปลี่ยนสัญญาเช่าซื้อรถยนต์ ในเรื่องของค่าใช้จ่ายนั้น ทางเจ้าของเดิมและผู้รับช่วงการผ่อนต่อสามารถพูดคุยตกลงกันได้ อาจจะออกกันคนละครึ่ง และแล้วแต่การเห็นสมควร ตามแต่การตกลง คนหนึ่งหมดภาระ อีกคนได้รถมาผ่อนต่อในราคาที่ถูกกว่า ถือว่าเป็นเรื่องที่ได้ประโยชน์ต่อกันทั้งคู่ ดังนั้นตรวจสอบเอกสารต่าง ๆ ให้ดี และตกลงกันให้แน่ชัดก่อนการดำเนินการ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาตามมาในภายหลังได้นั่นเอง