เฉลย ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม. 6

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้

ตั้งค่าคุกกี้ ยอมรับทั้งหมด

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUserĉตอนที่ 1.doc
ดู ดาวน์โหลด112 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉตอนที่ 2.doc
ดู ดาวน์โหลด446 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 1-1.doc
ดู ดาวน์โหลด340 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉแผน 1-2.doc
ดู ดาวน์โหลด296 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉแผน 1-3.doc
ดู ดาวน์โหลด259 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉแผน 1-4.doc
ดู ดาวน์โหลด336 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 2-1.doc
ดู ดาวน์โหลด285 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉแผน 2-2.doc
ดู ดาวน์โหลด258 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉแผน 2-3.doc
ดู ดาวน์โหลด217 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉแผน 2-4.doc
ดู ดาวน์โหลด308 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 3-1.doc
ดู ดาวน์โหลด249 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉแผน 3-2.doc
ดู ดาวน์โหลด760 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉแผน 3-3.doc
ดู ดาวน์โหลด314 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 4-1.doc
ดู ดาวน์โหลด268 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 4-2.doc
ดู ดาวน์โหลด307 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 5-1 .doc
ดู ดาวน์โหลด302 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 5-2 .doc
ดู ดาวน์โหลด317 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 6-1 .doc
ดู ดาวน์โหลด271 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 6-2 .doc
ดู ดาวน์โหลด276 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 6-3 .doc
ดู ดาวน์โหลด252 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 6-4 .doc
ดู ดาวน์โหลด367 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 6-5 .doc
ดู ดาวน์โหลด259 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 6-6 .doc
ดู ดาวน์โหลด281 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 7-1 .doc
ดู ดาวน์โหลด263 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 7-2 .doc
ดู ดาวน์โหลด256 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 7-3.doc
ดู ดาวน์โหลด219 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 7-4 .doc
ดู ดาวน์โหลด273 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 8-1 .doc
ดู ดาวน์โหลด295 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 8-2 .doc
ดู ดาวน์โหลด234 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 8-3 .doc
ดู ดาวน์โหลด269 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 9-1 .doc
ดู ดาวน์โหลด289 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉแผน 9-2 .doc
ดู ดาวน์โหลด322 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉหน่วยการเรียนรู้ที่ 9.doc
ดู ดาวน์โหลด138 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaewĉหน้าปกรอง.doc
ดู ดาวน์โหลด23 กิโลไบต์เวอร์ชัน 1Sophonnawit Inkaew

คาแนะนาในการใช้ PowerPoint - กดป่ มุ Slide Show ทแ่ี ถบด้านบนหรือ ด้านล่าง - กดป่ มุ Esc ยกเลกิ คาส่ังหรือออกจาก Slide Show - กดป่ ุมลกู ศรหรือคลกิ ส่วนใดในหน้า Slide เพื่อเล่ือนไปหน้าถดั ไป

คาแนะนาในการใช้ PowerPoint กดป่ มุ นี้ กลบั ไปหน้าสารบัญ (Contents) กดป่ ุมนี้ ดูคาตอบ (Answer Key) กดป่ มุ นี้ ฟังคลปิ เสียง (Audio Clip) [การกดป่ มุ ต้องกดให้โดนรูปลาโพง เพราะถ้าคลกิ ไปโดนแถบเล่ือนช่วงการฟัง อาจทาให้เสียงไม่ได้ เริ่มต้นทจ่ี ุดเร่ิมต้น] PowerPoint นี้ เหมาะสาหรับคอมพวิ เตอร์ทใี่ ช้โปรแกรม Microsoft Office 2010 การใช้เวอร์ชั่นอ่ืนๆ หรือ เวอร์ช่ันทตี่ า่ กว่า คุณสมบตั ิบางอย่างอาจทางานไม่สมบูรณ์

สารบญั บทนา การอ่านวรรณคดี ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ๒หน่วยการเรียนรู้ที่ ตอน ขุนช้างถวายฎกี า ๓หน่วยการเรียนรู้ท่ี สามก๊ก ตอน กวนอูไปรับราชการกบั โจโฉ กาพย์เห่เรือ ๔หน่วยการเรียนรู้ท่ี สามคั คเี ภทคาฉันท์ ๕หน่วยการเรียนรู้ท่ี ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนุสสภูมิ

บทนา การอ่านวรรณคดี การอ่านวรรณคดี เป็นการทาความเขา้ ใจบทประพนั ธใ์ หป้ รุโปร่งและใชจ้ ินตภาพ สร้างอารมณ์ เพ่ือจะไดเ้ ขา้ ถึงสารท่ีกวตี อ้ งการส่ือ • ผอู้ ่านตอ้ งใชว้ จิ ารณญาณในการอ่านแลว้ นาไปคิด ใชส้ ติปัญญากลนั่ กรองสกดั คุณค่าทางอารมณ์และคุณค่าทางความคิด • การวจิ กั ษว์ รรณคดี o เกิดความเขา้ ใจแจ่มแจง้ ตระหนกั ในคุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ และคุณค่าดา้ นสงั คม o เกิดความหวงแหนและตอ้ งการธารงรักษาใหเ้ ป็นสมบตั ิของชาติต่อไป • การอ่านท่ีไดค้ ิดคน้ หาเหตุผลมาอธิบายความรู้สึกของตนเองเป็นการแสดงความ คิดเห็นข้นั วจิ ารณ์ ซ่ึงอาจต่อยอดไปถึงการอ่านวรรณคดีในระดบั สูงได้

๑ ความสาคญั ของวรรณคดี • เป็นมรดกที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ เป็นมรดกทางปัญญาของคนในชาติ • เป็นเสมือนกระจกเงาสะทอ้ นภาพของสงั คมในอดีต ดว้ ยการนาเสนอสภาพสังคม ในสมยั ท่ีตนมีชีวติ อยดู่ ว้ ยการสอดแทรกไวใ้ นงานเขียน • มีคติธรรม อนั เป็นแนวทางในการพฒั นาความคิด จิตใจ และโลกทศั นข์ องผอู้ ่าน ดว้ ยการนาขอ้ คิดจากวรรณคดีมาใชใ้ นชีวติ จริง • มีท้งั คุณค่าดา้ นเน้ือหา คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ และคุณค่าดา้ นสงั คม • เป็นการส่งเสริมใหผ้ อู้ ่านมีสุนทรียะทางอารมณ์ เขา้ ใจความจริงของชีวติ มาก ยง่ิ ข้ึน และช่วยจรรโลงสงั คมอีกดว้ ย

๒ แนวทางในการอ่านวรรณคดี เลือกอ่านวรรณคดี • บทร้อยกรอง หรือคาประพนั ธ์ หรือกวนี ิพนธ์มีหลายช้นั • เลือกอ่านวรรณคดีเรื่องที่ไดร้ ับยกยอ่ งวา่ เป็นวรรณคดีช้นั เยยี่ ม ทาใหส้ ามารถยดึ เป็นแนวทางในการอ่านวรรณคดีเร่ืองอ่ืนๆ ได้ • วรรณคดีที่ไดร้ ับการยกยอ่ งจะมีความเป็นอมตะ • มีคุณค่าทางวรรณศิลป์ และมีขอ้ คิดที่สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั ชีวติ ได้ ควรอ่านวรรณคดใี ห้ตลอดท้งั เรื่อง • ทาความเขา้ ใจกบั เน้ือเร่ืองท่ีอ่าน • ใหร้ ู้องคป์ ระกอบของเร่ืองและเขา้ ใจสารท่ีกวตี อ้ งการส่ือมายงั ผอู้ ่าน

๒ แนวทางในการอ่านวรรณคดี (ต่อ) รู้หลกั การพจิ ารณาคุณค่าของวรรณคดี • นาหลกั น้นั มาพิจารณาวรรณคดีท่ีอ่าน เพ่อื ใหส้ ามารถเขา้ ถึงความหมายและคุณค่า ของวรรณคดีเร่ืองน้นั แสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์หรือประเมนิ คุณค่าวรรณคดี • เม่ืออ่านวรรณคดีจบ ผอู้ ่านควรวจิ กั ษว์ รรณคดีเร่ืองน้นั ได้ เพื่อใหเ้ ห็นขอ้ ดีและ ขอ้ บกพร่องของวรรณคดี จึงจะไดป้ ระโยชน์จากการอ่านวรรณคดีอยา่ งแทจ้ ริง

๓ การวจิ กั ษ์วรรณคดี วรรณคดี • หนงั สือที่ไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ แต่งดี มีคุณค่า เป็นบทประพนั ธ์ที่ปลุกมโนคติ • ทาใหเ้ กิดความเพลิดเพลิน และเกิดอารมณ์สะเทือนใจคลอ้ ยตามไปกบั บทประพนั ธ์ วจิ กั ษ์วรรณคดี • การพจิ ารณาวา่ หนงั สือน้นั ๆ แต่งดีอยา่ งไร • ใชถ้ อ้ ยคาไพเราะลึกซ้ึงกินใจหรือมีความงามอยา่ งไร • มีคุณค่า ใหค้ วามรู้ ขอ้ คิด คติสอนใจ • ช้ีใหเ้ ห็นสภาพชีวติ ความคิด ความเชื่อของคนในสงั คมอยา่ งไร

๔ หลกั การวจิ ักษ์วรรณคดี ๑. อ่านอย่างพนิ ิจพจิ ารณา • วเิ คราะห์ต้งั แต่ช่ือเร่ือง ประวตั ิผแู้ ต่ง คานา คานิยม สารบญั ไปจนถึงเน้ือ เรื่องยอ่ และบรรณานุกรม • ทาใหเ้ ราเขา้ ใจเน้ือหามูลเหตุของการแต่ง แรงบนั ดาลใจในการแต่ง ๒. ค้นหาความหมายพืน้ ฐานของบทประพนั ธ์ • ความหมายพ้ืนฐานหรือความหมายตามตวั อกั ษร ผอู้ ่านสามารถคน้ หาได้ จากขอ้ ความท่ีกวไี ดน้ าเสนอไว้ วา่ ใคร ทาอะไร ที่ไหนผลเป็นอยา่ งไร

๔ หลกั การวจิ ักษ์วรรณคดี (ต่อ) ๒. ค้นหาความหมายพืน้ ฐานของบทประพนั ธ์ ค้นหาความหมายตามตวั หนังสือ • คาใดที่ไม่เขา้ ใจไดท้ นั ที สามารถคน้ หาความหมายและคาอธิบายศพั ทจ์ าก พจนานุกรมหรืออภิธานศพั ท์

๔ หลกั การวจิ ักษ์วรรณคดี (ต่อ) ๒. ค้นหาความหมายพืน้ ฐานของบทประพนั ธ์ ค้นหาความหมายแฝง • ความหมายที่ตอ้ งตีความ ซ่ึงผแู้ ต่งอาจใชค้ าที่เป็นสญั ลกั ษณ์ เพ่อื เสนอ สารอนั เป็นความคิดหลกั ของผแู้ ต่ง

๔ หลกั การวจิ ักษ์วรรณคดี (ต่อ) ๒. ค้นหาความหมายพืน้ ฐานของบทประพนั ธ์ ค้นหาข้อคดิ อนั เป็ นประโยชน์ • เป็นการคน้ หาขอ้ คิดคติเตือนใจท่ีสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิด ประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ได้ • กวมี กั สอดแทรกทศั นะ ขอ้ คิด คติสอนใจเร่ืองต่างๆ ไวใ้ นของวรรณคดี

๔ หลกั การวจิ ักษ์วรรณคดี (ต่อ) ๓. รับรู้อารมณ์ของบทประพนั ธ์ • พยายามพิจารณาเม่ือรับรู้ความรู้สึกและอารมณท์ ่ีกวสี อดแทรกในบท ประพนั ธ์

๔ หลกั การวจิ ักษ์วรรณคดี (ต่อ) ๔. พจิ ารณาการใช้กลวธิ ีในการแต่งคาประพนั ธ์ • กลวธิ ีในการแต่งคาประพนั ธเ์ ป็นวธิ ีสร้างความรู้สึกนึกคิดของกวี • ช่วยใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจทศั นะและนยั สรุปของกวหี รือเน้ือเร่ืองไดช้ ดั เจน กวา่ การบอกเล่าดว้ ยถอ้ ยคาและวธิ ีการตรงไปตรงมา • ปมปัญหาของเสภาเร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผน o ปมความขดั แยง้ เรื่องความรักระหวา่ งชายสองหญิงหน่ึง o นาไปสู่การคลี่คลายปมปัญหาดว้ ยการประหารชีวติ นางวนั ทอง ซ่ึงเป็ นจุดจบที่น่าเศร้าสลดใจ o เป็นกลวธิ ีท่ีทาใหเ้ ร่ืองน้ีอยใู่ นใจผอู้ ่านมายาวนาน เพราะกวสี ร้าง ความรู้สึกคา้ งคาใจ ความไม่สมหวงั ของตวั ละคร

๔ หลกั การวจิ ักษ์วรรณคดี (ต่อ) ๕. ความงามความไพเราะของภาษา • พิจารณาการสรรคาและการเรียบเรียงคาใหเ้ ป็นตามลาดบั อยา่ งไพเราะ เหมาะสม และการใชโ้ วหารก่อใหเ้ กิดจินตภาพ อารมณ์ และความรู้สึก

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา (รูปแบบ) ร้อยแก้ว • คาประพนั ธ์ที่ไม่จากดั ถอ้ ยคาและประโยค ไม่มีกฎเกณฑท์ างฉนั ทลกั ษณ์ เป็นรูปแบบต่างๆ ตายตวั • การพจิ ารณาความหมายในคาประพนั ธ์ประเภทร้อยแกว้ ข้ึนอยกู่ บั จุดประสงคแ์ ละเน้ือหาของเร่ือง o มีจุดมุ่งหมายท่ีจะบนั ทึกเรื่องราวเหตุการณ์ใหค้ วามรู้ทวั่ ๆ ไป จะ มีการใชภ้ าษาตรงไปตรงมา เรียบง่าย และชดั เจน o มีเน้ือหาลุ่มลึก แสดงความลึกซ้ึงแยบคาย เรื่องที่เกิดจากจินตนาการ จะแต่งไดก้ ระชบั รัดกมุ สละสลวย ส่ือความหมายไดช้ ดั เจน

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา (รูปแบบ) ร้อยกรอง • คาประพนั ธ์ท่ีนาคามาประกอบกนั ข้ึน ใหม้ ีลกั ษณะรูปแบบตามที่กาหนด และมีกฎเกณฑข์ อ้ บงั คบั ต่างๆ • ร้อยกรอง เป็นคารวมเรียกโคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน และร่าย • เนน้ จงั หวะของเสียงซ่ึงเกิดจากการกาหนดจานวนพยางคห์ รือคาเป็น วรรค บาท และบท การผกู คาสมั ผสั คลอ้ งจองอยา่ งมีแบบแผน • ลกั ษณะการบงั คบั ตาแหน่งวรรณยกุ ต์ • การเพม่ิ สมั ผสั คลอ้ งจองในวรรคข้ึนอยกู่ บั ลีลาช้นั เชิงของกวแี ต่ละคน

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา (องค์ประกอบของเร่ือง) สาระ • พจิ ารณาวา่ สาระที่ผแู้ ต่งตอ้ งการส่ือมายงั ผอู้ ่านเป็นเร่ืองอะไร • ควรจบั สาระสาคญั หรือแก่นของเร่ืองใหไ้ ดว้ า่ ผแู้ ต่งตอ้ งการส่ืออะไร แก่นเรื่องมีลกั ษณะแปลกใหม่ น่าสนใจเพียงใด โครงเร่ือง • วธิ ีการเรียงลาดบั ความคิดหรือเหตุการณ์ในเร่ืองวา่ เปิ ดเร่ืองอยา่ งไร • กวมี ีวธิ ีวางโครงเร่ืองไดด้ ีหรือไม่ การลาดบั ความไปตามลาดบั ข้นั ตอน หรือไม่ มีวธิ ีการวางลาดบั เหตุการณ์น่าสนใจอยา่ งไร • มีการสร้างปมขดั แยง้ อะไรที่นาไปสู่จุดสูงสุดของเร่ือง

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา (องค์ประกอบของเร่ือง) ฉากและบรรยากาศ • กวตี อ้ งใหร้ ายละเอียดเก่ียวกบั สถานที่และสภาพแวดลอ้ ม เพือ่ ใหผ้ อู้ ่าน เกิดความรู้สึกคลอ้ ยตาม ตัวละคร • ลกั ษณะนิสยั ของตวั ละครเป็นส่วนสาคญั ของเร่ือง • ตอ้ งพจิ ารณาวา่ มีบุคลิกภาพอยา่ งไรและมีบทบาทอยา่ งไร พฤติกรรม ที่แสดงออกมาดีหรือไม่ กลวธิ ีการแต่ง • พิจารณาวธิ ีการเลือกใชถ้ อ้ ยคา การนาเสนอของกวี • พิจารณาวธิ ีการวา่ ชวนใหน้ ่าสนใจ ติดตาม และประทบั ใจไดอ้ ยา่ งไร

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ (การสรรคา) • การเลือกใชค้ าไดถ้ ูกตอ้ งตรงตามความหมายท่ีตอ้ งการ • การเลือกใชค้ าที่เหมาะแก่เน้ือเร่ืองและฐานะของบุคคลในเร่ือง • การเลือกใชค้ าไดเ้ หมาะแก่ลกั ษณะของคาประพนั ธ์ • การเลือกคาโดยคานึงถึงเสียง o คาท่ีเล่นเสียงวรรณยกุ ต์ o คาท่ีเลียนเสียงธรรมชาติ o คาที่เล่นเสียงสมั ผสั o การเล่นคาพอ้ งเสียงและซ้าคา

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ (การสรรคา)

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ (การใช้โวหาร) บรรยายโวหาร • การใชค้ าอธิบายเล่าเรื่องราวรายละเอียดใหเ้ ขา้ ใจตามลาดบั เหตุการณ์ พรรณนาโวหาร • การอธิบายความโดยการสอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกหรือให้ รายละเอียดอยา่ งลึกซ้ึงของกวลี งไปในเรื่อง เทศนาโวหาร • กลวธิ ีที่ใชโ้ วหารในการกล่าวสงั่ สอนอยา่ งมีเหตุผลประกอบ

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ (การใช้โวหาร) สาธกโวหาร • การยกตวั อยา่ งเร่ืองราวมาประกอบ เพ่อื เพม่ิ รายละเอียด หรือส่ิงที่น่ารู้ น่าสนใจลงไปในขอ้ ความ ทาใหเ้ ขา้ ใจชดั เจนยง่ิ ข้ึน อปุ มาโวหาร • โวหารท่ีกล่าวเปรียบเทียบส่ิงหน่ึงกบั อีกส่ิงหน่ึงเพื่อใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจ ชดั เจน o พระกณั หากบั พระชาลีเป็นดวงตา แสดงใหเ้ ห็นวา่ ลูกน้นั มีค่ากบั พอ่ แม่ราวกบั ดวงตา

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ (การใช้โวหาร)

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ (การใช้ภาพพจน์) การใช้ภาพพจน์อปุ มา • เป็นการเปรียบเทียบวา่ สิ่งหน่ึงเหมือนกบั อีกสิ่งหน่ึง • ใชค้ าวา่ เสมือน ดุจ ดงั่ ราว เพียง ประหน่ึง แสดงความหมายอยา่ ง เดียวกบั คาวา่ เหมือน การใช้ภาพพจน์อปุ ลกั ษณ์ • เป็นการเปรียบสิ่งหน่ึงเป็นอีกส่ิงหน่ึง • ไม่มีคาท่ีสื่อความหมายวา่ เหมือนปรากฏอยู่ แต่เป็นการเปรียบเทียบ โดยใชค้ าวา่ คือ เป็น การใช้ภาพพจน์บุคคลวตั • สมมติส่ิงไม่มีชีวติ หรือสตั วใ์ หม้ ีกิริยาอาการความรู้สึกเหมือนมนุษย์

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ (การใช้ภาพพจน์)

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ (ลลี าการประพนั ธ์) เสาวรจนี • เป็นลีลาท่ีใชแ้ ต่งความงามจะเป็นความงามของมนุษย์ สถานที่ หรือ ธรรมชาติกไ็ ด้ นารีปราโมทย์ • เป็นลีลาการประพนั ธท์ ี่มุ่งไปในทานองเก้ียว ประเลา้ ประโลมดว้ ย คาหวาน พโิ รธวาทัง • เป็นลีลาท่ีแสดงความโกรธแคน้ ประชดประชนั เกร้ียวกราด สัลลาปังคพสิ ัย • เป็นลีลาแห่งการคร่าครวญหวนไห้ ตดั พอ้ เศร้าโศก

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ (ลลี าการประพนั ธ์)

๕ การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดี (ต่อ) ๓. คุณค่าด้านสังคม • ผแู้ ต่งมีจุดประสงคใ์ นการจรรโลงสงั คมอยา่ งไร • พจิ ารณาจากแนวคิด การใหค้ ติเตือนใจ การสะทอ้ นใหเ้ ห็นชีวิตความ เป็นอยู่ ค่านิยม วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และจริยธรรม ของคนในสงั คมท่ีวรรณคดีไดจ้ าลองภาพ • กวไี ดส้ อดแทรกไวใ้ นบทประพนั ธอ์ ยา่ งแนบเนียน

๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎกี า วรรณคดไี ทยเรื่องเอกทคี่ นไทยจานวนมากรู้จกั กนั และได้รับยกย่อง จากวรรณคดสี โมสรว่าเป็ นยอดของกลอนเสภาทม่ี คี วามไพเราะ

๑ ความเป็ นมา • ขนุ ชา้ งขนุ แผนเป็นเรื่องที่เกิดข้ึนในสมยั อยธุ ยา จากหนงั สือคาใหก้ ารชาวกรุง เก่าไดก้ ล่าวถึงเรื่องราวที่เก่ียวกบั เรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผน • ขนุ แผนรับราชการอยใู่ นสมยั สมเดจ็ พระพนั วษา คือ สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ ๒ • เร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผนเกิดภายหลงั ที่มีเสภา • การนาเร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผนมาขบั เสภาน้นั มีข้ึนราวๆ รัชสมยั สมเดจ็ พระ นารายณ์มหาราช ซ่ึงเป็นเวลาหลงั จากเรื่องเกิดข้ึนเป็น ๑๐๐ ปี • เดิมเป็นนิทานเล่ากนั มาก่อน จนมีการขบั เป็นทานองลานาประกอบการเล่า นิทาน แต่งเป็นกลอนสดๆ ขบั โดยไม่มีป่ี พาทยป์ ระกอบ ต่อมาจึงมีผใู้ ชก้ รับ ประกอบทานองขบั

๑ ความเป็ นมา (ต่อ) • ในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ มีคนขบั เสภาคร้ังกรุงเก่าเหลือมาบา้ ง แต่กจ็ าบท หรือไดบ้ ทมาเพยี งไม่ก่ีตอน • รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั มีการแต่งบทเสภาเรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผนข้ึนใหม่เป็นอนั มาก ไม่ไดแ้ จง้ วา่ ผใู้ ดแต่ง • สนั นิษฐานตามลกั ษณะสานวนกลอน วา่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั ซ่ึงโปรดฟังการขบั เสภาและทรงพระราชนิพนธ์ข้ึนเองกม็ ี • บทเสภาในสมยั รัชกาลที่ ๒ น้ีไดร้ ับยกยอ่ งวา่ แต่งดีเยย่ี ม ท้งั น้ีเพราะกวแี ต่ละ คนไดแ้ ต่งเฉพาะตอนท่ีตนพอใจ • การท่ีไม่ไดเ้ ปิ ดเผยชื่อผแู้ ต่ง ผแู้ ต่งจึงมีอิสระเตม็ ที่ ประชนั ฝีปากแสดงฝีมือกนั อยา่ งออกรส • ในสมยั น้ีไดใ้ ชป้ ่ี พาทยเ์ ป็นอุปกรณ์ในการขบั เสภา และมีการราประกอบตาม จงั หวะป่ี พาทยศ์ ิลปะการขบั เสภาแบบใหม่น้ีเรียกวา่ “เสภารา”

๑ ความเป็ นมา (ต่อ) • การขบั เสภาน้นั ถือกนั เป็นประเพณีวา่ จะมีเฉพาะในงานมงคล • บทเสภาเรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผนในสมยั รัชกาลที่ ๒ แต่งเป็นตอนๆ ไม่ต่อเน่ืองกนั • มีแต่งในสมยั รัชกาลท่ี ๓ หลายตอน ภายหลงั ในสมยั รัชกาลท่ี ๔ มีผแู้ ต่ง เพม่ิ เติมบางตอนและรวบรวมข้ึนใหม่อีกคร้ัง • ไดร้ ับการยกยอ่ งจากวรรณคดีสโมสรวา่ เป็น “ยอดของกลอนเสภา” • การอ่านเสภาเร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผนจึงถือเป็นการศึกษาสงั คมไทย และศึกษา เกี่ยวกบั วถิ ีชีวติ ของบรรพบุรุษไทยในอดีตโดยทางออ้ ม เหตุการณ์เรื่องราว หรือพฤติกรรมของตวั ละครน้นั • สามารถนามาขบคิดใหเ้ ป็นคติสอนใจ นาไปเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต • ดา้ นสานวนกลอน กล่าวไดว้ า่ มีลกั ษณะกลอนเสภาท่ีมีชีวติ ชีวาอยา่ งยง่ิ โวหาร เขม้ ขน้ สมบูรณ์ ก่อใหเ้ กิดอารมณ์สะเทือนใจไดเ้ ป็นเยย่ี ม

๒ ประวตั ผิ ้แู ต่ง • วรรณคดีเรื่องขนุ ชา้ งขนุ แผนมีกวแี ต่งกนั หลายคน ในปลายสมยั อยธุ ยาและในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ • ตอนที่ไพเราะส่วนมากแต่งในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั • การแต่งเสภาเร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผนไม่นิยมบอก นามผแู้ ต่ง มีเพียงการสนั นิษฐานผแู้ ต่งโดย พิจารณาจากสานวนการแต่งเท่าน้นั • เสภาขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอน ขนุ ชา้ งถวายฎีกา จึง ไม่ทราบนามผแู้ ต่งท่ีแน่ชดั

๓ ลกั ษณะคาประพนั ธ์ • เรื่องเสภาขนุ ชา้ งขนุ แผนเป็นคาประพนั ธป์ ระเภทกลอนเสภา ๔๓ ตอน • มีอยู่ ๘ ตอน ท่ีไดร้ ับยกยอ่ งวา่ แต่งดียอดเยย่ี มจากวรรณคดีสมาคม อนั มีสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงเป็นประธาน • ตอน ขนุ ชา้ งถวายฎีกา เป็นหน่ึงในแปดตอนที่ไดร้ ับการยกยอ่ ง • ลกั ษณะคาประพนั ธ์กลอนเสภาเป็นกลอนสุภาพ • เสภาเป็นกลอนข้นั เล่าเรื่องอยา่ งเล่านิทาน จึงใชค้ ามากเพอื่ บรรจุขอ้ ความให้ ชดั เจนแก่ผฟู้ ังและมุ่งเอาการขบั ไดไ้ พเราะเป็นสาคญั • สมั ผสั ของคาประพนั ธ์ คือ คาสุดทา้ ยของวรรคตน้ ส่งสมั ผสั ไปคาใดคาหน่ึงใน ๕ คาแรกของวรรคหลงั สมั ผสั วรรคอ่ืนและสมั ผสั ระหวา่ งบทเหมือนกลอนสุภาพ

๔ เร่ืองย่อ

๔ เร่ืองย่อ (ต่อ)

๔ เร่ืองย่อ (ต่อ)

๔ เร่ืองย่อ (ต่อ) • คร้ังหน่ึงสมเดจ็ พระพนั วษาเสดจ็ ประพาสสุพรรณบุรีเพอื่ ทรงล่าควายป่ า ขนุ ไกรพอ่ ของพลายแกว้ มีหนา้ ที่ตอ้ นควายป่ า เผอิญควายป่ าแตกตื่นขวดิ ผคู้ น ขนุ ไกรจึงไดร้ ับโทษประหาร • นางทองประศรีไดพ้ าพลายแกว้ ไปบวชเรียนที่วดั ส้มใหญ่ เรียนรู้วชิ าอาคมจน จบ กไ็ ดไ้ ปบวชเรียนต่อท่ีวดั ป่ าเลไลยกเ์ มืองสุพรรณบุรี และไดแ้ ต่งงานกบั นางพมิ • พลายแกว้ ตอ้ งยกทพั ไปตีเมืองเชียงใหม่ เม่ือไดร้ ับชยั ชนะกไ็ ดน้ างลาวทอง เป็ นภรรยา • ขณะท่ีพลายแกว้ ไปทาศึก นางพมิ ลม้ ป่ วย ขรัวตาจูจึงแนะนาใหเ้ ปล่ียนช่ือเป็น วนั ทองเพือ่ รักษาอาการไข้ • ขนุ ชา้ งไดใ้ ชอ้ ุบายลวงบงั คบั ใหน้ างวนั ทองแต่งงานกบั ตน • พระพนั วษาไดพ้ ระราชทานบรรดาศกั ด์ิใหพ้ ลายแกว้ เป็นขนุ แผนแสนสะทา้ น

๔ เร่ืองย่อ (ต่อ) • ขนุ แผนรู้เร่ืองการแต่งงานของนางวนั ทองกบั ขนุ ชา้ งก็โกรธ จึงพานางลาวทอง ไปอยกู่ าญจนบุรี • นางวนั ทองถูกนางศรีประจนั เฆ่ียนตีและบงั คบั จนตอ้ งตกเป็นภรรยาขนุ ชา้ ง • ขนุ ชา้ งใชอ้ ุบาย เพื่อใหส้ มเดจ็ พระพนั วษากริ้ว แลว้ ลงโทษขนุ แผน • ขนุ แผนมีความอาฆาตขนุ ชา้ งมากจึงเดินทางไปสุพรรณบุรี สะเดาะดาลประตู ข้ึนเรือนขนุ ชา้ ง แต่เขา้ หอ้ งผดิ ไปเขา้ หอ้ งนางแกว้ กิริยา และไดน้ างเป็นภรรยา • จากน้นั พานางวนั ทองหนีออกจากเรือนขนุ ชา้ งเขา้ ไปอยใู่ นป่ า จนกระทงั่ นาง วนั ทองใกลค้ ลอด ขนุ แผนจึงเขา้ พ่ึงพระพจิ ิตรกบั นางบุษบา ทาใหพ้ ระพจิ ิตร เดือดร้อน จึงไปสูค้ ดีกบั ขนุ ชา้ ง ในท่ีสุดขนุ แผนกเ็ ป็นฝ่ายชนะความ • ขนุ แผนทาใหพ้ ระพนั วษากริ้ว จึงมีรับสง่ั ใหล้ งอาญาจาคุกขนุ แผน • ส่วนนางวนั ทองตอ้ งจาใจอยกู่ บั ขนุ ชา้ งและไดค้ ลอดบุตรท่ีบา้ นขนุ ชา้ ง ใหช้ ื่อ วา่ “พลายงาม” ขนุ ชา้ งรู้วา่ ไม่ใช่บุตรของตนจึงวางอุบายฆ่า

๔ เร่ืองย่อ (ต่อ) • นางวนั ทองทราบเรื่อง จึงไปช่วยพลายงามไดท้ นั แลว้ ใหพ้ ลายงามเดินทางไป อยกู่ บั ยา่ ทองประศรีที่กาญจนบุรี ไดเ้ รียนวชิ าอาคมต่างๆ • เม่ือเติบใหญข่ ้ึนจมื่นศรีพาเขา้ ไปถวายตวั เป็นมหาดเลก็ • พระพนั วษากริ้วเจา้ เมืองเชียงใหม่ เป็นเหตุใหพ้ ลายงามมีโอกาสกราบทูลอาสา และกราบทูลขอขนุ แผนใหไ้ ปทพั ดว้ ย ขนุ แผนจึงพน้ โทษ • ขณะรอฤกษเ์ คลื่อนทพั นางแกว้ กิริยากค็ ลอดบุตร นางทองประศรีจึงใหช้ ื่อ หลานวา่ “พลายชุมพล” • พลายงามไดช้ ยั ชนะ ไดร้ ับพระราชทานความดีความชอบเป็นจม่ืนไวยวรนาถ และแต่งงานกบั นางสร้อยฟ้าและนางศรีมาลา • ขนุ แผนไดร้ ับพระราชทานบรรดาศกั ด์ิเป็นพระสุรินทรฦาไชยมไหสุริยภกั ด์ิ

๔ เร่ืองย่อ (ต่อ) • จม่ืนไวยฯ ไดล้ อบข้ึนเรือนขนุ ชา้ งพานางวนั ทองมาอยทู่ ่ีบา้ น ขนุ ชา้ งจึงถวายฎีกา • พระพนั วษารับสง่ั ใหน้ างวนั ทองเลือกวา่ ตอ้ งการจะอยกู่ บั ใคร นางวนั ทอง กราบทูลเป็นกลางวา่ แลว้ แต่พระพนั วษาจะทรงตดั สิน • พระพนั วษากริ้วจึงรับสงั่ ใหป้ ระหารนางวนั ทอง • ขนุ แผนพานางแกว้ กิริยาและนางลาวทองไปอยเู่ มืองกาญจนบุรี นางทองประ ศรีกบั พลายชุมพลอยกู่ บั จมื่นไวยฯ • นางสร้อยฟ้าไดใ้ หเ้ ถรขวาดทาเสน่ห์ใหจ้ มื่นไวยฯ หลงรัก ขนุ แผนและพลาย ชุมพลช่วยแกเ้ สน่ห์ได้ • นางสร้อยฟ้าแพถ้ ูกเนรเทศไปเชียงใหม่และไดค้ ลอดบุตรต้งั ช่ือวา่ “พลายยง” • นางศรีมาลาคลอดบุตรเช่นกนั ต้งั ชื่อวา่ “พลายเพชร” • พลายชุมพลอาสาปราบจระเขเ้ ถรขวาดได้ พระพนั วษาจึงพระราชทาน บรรดาศกั ด์ิเป็นหลวงนายฤทธ์ิ

๕ บทวเิ คราะห์ ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา รูปแบบ • ใชค้ าประพนั ธ์ประเภทกลอนเสภา ซ่ึงมีลกั ษณะเหมือนกลอนสุภาพ • กลอนเสภาอาจจะมีบางวรรคที่มีจานวนคาไม่เท่ากนั ข้ึนอยกู่ บั เน้ือความหรือกระบวนกลอนและจงั หวะในการขบั เสภา • กลอนเสภาน้ีเหมาะท่ีจะใชใ้ นการเล่าเร่ืองและขบั เป็นทานองลานา คือ การขบั เสภานนั่ เอง

๕ บทวเิ คราะห์ (ต่อ) ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา องค์ประกอบของเรื่อง (ตัวละคร - ขุนช้าง) • มีรูปร่างและหนา้ ตาไม่น่าพงึ ใจแก่ผพู้ บเห็น จิตใจยงั โหดร้าย คบั แคบ • ส่ิงที่ทาใหข้ นุ ชา้ งมีดีอยบู่ า้ งคือ ความรักเดียวใจเดียวที่มีใหน้ างวนั ทอง แต่ความรักของขนุ ชา้ งเป็นความรักที่เห็นแก่ตวั คิดเอาแต่ได้