ใบงาน เรื่อง นาฏย ศัพท์ และภาษาท่า เฉลย

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

เอกสารประกอบการเรียนเรื่องนาฏยศัพท์ ม.4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา อ.คลองหาด จ.สระแก้ว สังกัด อบจ.สระแก้ว

ใบงาน เรื่อง นาฏย ศัพท์ และภาษาท่า เฉลย

เอกสารประกอบการเรียนเรื่องนาฏยศัพท์ ม.4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา อ.คลองหาด จ.สระแก้ว สังกัด อบจ.สระแก้ว

More Related Content

ใบงาน เรื่อง นาฏย ศัพท์ และภาษาท่า เฉลย
ใบงาน เรื่อง นาฏย ศัพท์ และภาษาท่า เฉลย

  1. 1. 1 เอกสารประกอบการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง นาฏยศัพท์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ( สาระนาฏศิลป์ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดย นางเย็นจิตร บุญศรี ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
  2. 2. 2 คานา เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ จัดทาขึ้น เพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับท่ารา เบื้องต้นของนาฏศิลป์ ไทยในเรื่องนาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ โดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายเหมาะสาหรับ นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 การจัดทานวัตกรรมเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนได้ ศึกษาและฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง สามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อีกด้วย ขอขอบคุณ นายไพสิน นกศิริ ผู้อานวยการเชี่ยวชาญโรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา สังกัดองค์การบริหารส่วน จังหวัดสระแก้ว ให้โอกาสส่งนวัตกรรมภาคเรียนละ 1 เรื่อง จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการจัดการ เรียนรู้ เล่มนี้จะช่วยให้ผู้เรียน ผู้สอนและผู้ที่สนใจ มีความรู้ ความเข้าใจได้ถูกต้อง และนาไปพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ด้านนาฏศิลป์ ไทยได้เป็นอย่างดีต่อไป เย็นจิตร บุญศรี
  3. 3. 3 สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องนาฏยศัพท์ 1 ความหมายของนาฏยศัพท์ 2 การฝึกปฏิบัติท่ารานาฏยศัพท์ 3 นาฏยศัพท์การใช้มือ 3 - จีบหงาย 4 - จีบคว่า 4 - จีบปรกข้าง 5 - จีบปรกหน้า 5 - จีบส่งหลัง 6 - จีบล่อแก้ว 6 - ตั้งวงบน 7 - ตั้งวงกลาง 7 นาฏยศัพท์การใช้เท้า 8 - จรด 8 - ประเท้า 9 - ยกเท้า 9 - กระทุ้งเท้า 10 - กระดกเท้า 10 เกร็ดศิลป์ 11 ง
  4. 4. 4 สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า ใบงานที่ 1 เฉลยใบงานที่ 1 ใบงานที่ 2 เฉลยใบงานที่ 2 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม แบบประเมินด้านทักษะ / กระบวนการ บรรณานุกรม 12 13 14 15 16 19 20 21 22 ประวัติผู้จัดทา 23 จ
  5. 5. 5 สาระสาคัญ นาฏศิลป์ ไทย เป็นศิลปะแห่งการฟ้อนราที่แสดงถึงเอกลักษณ์ ประเพณีวัฒนธรรมของไทย ซึ่งเราควรรู้ พื้นฐานของท่าราไทยโดยเริ่มจากนาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์ เพื่อให้เกิดความรู้และทักษะในการร่ายรา จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. มีความรู้และเข้าใจความหมายของนาฏยศัพท์ 2. อธิบายการปฏิบัติท่ารานาฏยศัพท์ได้ถูกต้อง 3. ชื่นชมการปฏิบัติท่ารานาฏยศัพท์ที่ถูกต้องและสวยงาม สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของนาฏยศัพท์ 2. การปฏิบัติท่ารานาฏยศัพท์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง นาฏยศัพท์
  6. 6. 6 การศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ ไทยประเภทต่างๆ เช่น การแสดงโขน ละคร หรือ ระบาเบ็ดเตล็ด กริยา ท่าทางที่ผู้แสดงออกมานั้นจะมีความหมายเฉพาะ ถ้าได้ศึกษาอย่างละเอียดแล้วจะทาให้เข้าใจเรื่องการแสดง มากยิ่งขึ้น ทั้งในตัวผู้แสดงและผู้ที่ชมการแสดงนั้นๆ สิ่งที่เข้ามาประกอบเป็นกิริยา นาฏศิลป์ ไทยนั้นก็คือ เรื่อง นาฏยศัพท์ที่มีความสาคัญในการแสดงด้านนาฏศิลป์ไทย1 ความหมายของนาฏยศัพท์ นาฏยศัพท์ มาจากคาว่า”นาฏย” กับคาว่า “ศัพท์”2 นาฏย คือ เรื่องเกี่ยวการฟ้อนรา เกี่ยวกับการแสดงละคร ศัพท์ คือ เสียงคา คายากที่ต้องแปลเรื่อง นาฏยศัพท์ คือ ศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับการเรียกท่ารา3 นาฏยศัพท์ หมายถึง เป็นคาศัพท์เฉพาะ ใช้ในการฟ้อนราแสดงลักษณะและการเคลื่อนไหวของ ร่างกายที่สัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง สามารถสื่อความหมายกันได้ทุกฝ่ายในการแสดงต่างๆ นาฏยศัพท์แบ่งตาม ลักษณะการใช้เป็น 3 หมวด คือ 1. หมวดนามศัพท์ เช่น 1.1 จีบ ได้แก่ จีบหงาย จีบคว่า จีบส่งหลัง จีบปรกข้าง จีบปรกหน้า 1.2 วง ได้แก่ วงบน วงกลาง วงล่าง วงหน้า 1.3 ท่าเท้า ได้แก่ จรด ประ ยก กระทุ้ง กระดก ก้าวเท้า 2. หมวดกิริยาศัพท์ แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ 2.1 ศัพท์เสริม หมายถึง ศัพท์ที่ใช้เรียกเพื่อปรับปรุงท่าทางให้ถูกต้องสวยงาม เช่น กันวง ลดวง ส่งมือ ตึงมือ หักข้อ เปิดคาง กดคาง ทรงตัว ตึงไหล่ หลบเข่า แข็งเข่า กันเข่า เปิดส้น ชักส้น 2.2 ศัพท์ที่ใช้เรียกเฉพาะขณะที่ใช้ท่า - ส่วนศีรษะ คอ ไหล่ เช่น เอียง ลักคอ กล่อมไหล่ เอียงไหล่ - ส่วนมือ แขน เช่น สะบัดมือ ม้วนมือ คลายมือ กรายมือรวมมือ - ส่วนลาตัว ใช้ตัว (ตัวพระใช้เกลียวข้าง ตัวนางใช้เกลียวหน้า ) - ส่วนขา เท้า ยืด ยุบ กระทบ (เข่าและก้น) ตบเท้า แตะเท้า วางหลัง กระทุ้ง วางส้น ฉายเท้า ซอยเท้า ขยั่นเท้าและถัดเท้า 3. หมวดเบ็ดเตล็ด เช่น เหลื่อม เดินมือ จีบยาว แม่ท่า ขึ้นท่า นายโรงหรือ พระเอก ยืนเครื่อง ยืนเข่า นางตลาด นางกษัตริย์ เป็นต้น นาฏยศัพท์
  7. 7. 7 การฝึกปฏิบัติท่ารานาฏยศัพท์จะแบ่งผู้เรียนเป็น 2 กลุ่ม คือตัวพระ และตัวนาง ที่ม อธิบายนาฏยศัพท์เบื้องต้น นาฏยศัพท์ที่นามากล่าวนี้เป็นเพียงตัวอย่างส่วนหนึ่ง เพื่อให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้นและสามารถ นาไปปฏิบัติเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนนาฏศิลป์ ไทย ผู้เขียนขอนามากล่าวพอสังเขป นาฏยศัพท์การใช้มือ 2. ตั้งวง เป็นการตั้งลาแขนเป็นวง คล้ายครึ่งวงกลมแขนงอ มือตั้งขึ้นและหันฝ่ามือออกนอกลาตัว การตั้งวงมีหลายลักษณะ เช่น ตั้งวงบน ตั้งวงกลาง ตั้งวงล่าง แบบตัวนาง : นางสาวอรวรรณ อาณาเขต นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๑ แบบตัวพระ: นายวัชระ โคตรวิชัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๑ ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี การฝึกปฏิบัติท่ารานาฏยศัพท์
  8. 8. 8 2.1 ตั้งวงบน ให้ยกแขนออกไปข้างลาตัวแล้วงอแขนให้ได้ส่วนโค้ง ตั้งมือขึ้นแล้วแบมือทั้งสี่นิ้ว โดยให้ปลายนิ้วทั้งสี่นิ้วหันเข้าหาศีรษะนิ้วหัวแม่มืองอเข้าหาฝ่ามือเล็กน้อยพร้อมทั้งหักข้อมือเข้าหาลาแขน ตั้งวงบน ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี 2.2 ตั้งวงกลาง ปลายนิ้วจะอยู่ตรงกับระดับไหล่ (ตัวพระและตัวนาง ปลายนิ้วจะอยู่ระดับ เดียวกัน) ตั้งวงกลาง ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี
  9. 9. 9 2.3 ตั้งวงล่างให้ปลายนิ้วทั้งสี่อยู่ระดับชายพกหรือหัวเข็มขัด นิ้วหัวแม่มืองอเข้าหา ฝ่ามือเล็กน้อยพร้อมทั้งหักข้อมือเข้าหาลาแขน ให้ส่วนโค้งของลาแขนห่างจากตัวเล็กน้อย ตั้งวงล่าง ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี 1. จีบ เป็นการใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้มาจรดกัน โดยให้ปลายนิ้วหัวแม่มือมาจรดกับข้อแรกของ ปลายนิ้วชี้ นิ้วที่เหลือทั้งสามนิ้วเหยียดตรง แล้วกรีดออกไปให้สวยงามคล้ายพัด การจีบมีหลายลักษณะ เช่น จีบหงาย จีบคว่า จีบปรกข้างจีบปรกหน้า จีบส่งหลังเป็นต้น 1.1 จีบหงาย คือการจีบโดยหงายข้อมือเข้าหาลาแขนแล้วปฏิบัติท่าจีบ ให้ปลายนิ้วที่จีบชี้ขึ้นข้างบน จีบหงาย ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี
  10. 10. 10 1.2 จีบคว่า คือการจีบโดยคว่าลาแขนหักข้อมือลงแล้วทาท่าจีบให้ปลายนิ้ว ที่จีบชี้ลงข้างล่าง จีบคว่า ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี จีบ จีบหงาย จีบคว่า จีบปรกข้าง จีบปรกหน้า จีบส่งหลัง จีบล่อแก้ว 1.3 จีบปรกข้าง คือการจีบแล้วหักข้อมือเข้าหาแง่ศีรษะ จีบปรกข้าง ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี
  11. 11. 11 1.4 จีบปรกหน้า คือการจีบแล้วหักข้อมือปลายนิ้วที่จีบชี้เข้าหาด้านหน้า จีบปรกหน้า ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี 1.5 จีบส่งหลัง คือการจีบส่งแขนไปด้านหลัง คว่าท้องแขนและพลิกข้อมือให้ปลายนิ้ว ที่จีบหงายขึ้นข้างบน แต่เป็นการยกข้างหลัง จีบส่งหลัง ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี
  12. 12. 12 1.6 จีบล่อแก้ว ใช้นิ้วหัวแม่มือกดทับนิ้วกลางให้เป็นวงกลม ส่วนนิ้วที่เหลือกรีดให้ตึง จีบล่อแก้ว ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี นาฏยศัพท์การใช้เท้า 1. ประเท้าเป็นอาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่งที่วางอยู่ข้างหน้า น้าหนักจะอยู่ที่เท้าหลังเท้าหน้า จะใช้เพียงปลายจมูกเท้า(บริเวณเนื้อโคนนิ้วเท้า) แตะเบาๆ กับพื้นเพื่อจะยกเท้า ประเท้า ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี
  13. 13. 13 2. จรดเท้า เป็นอาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่งที่วางอยู่ข้างหน้า การจรดเท้าน้าหนัก จะอยู่ที่เท้าหลัง เท้า หน้าจะใช้เพียงปลายจมูกเท้า (บริเวณเนื้อโคนนิ้วเท้า) แตะเบาๆ ไว้กับพื้น จรด ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี 3. การยกเท้า เป็นอาการสืบเนื่องจากการประเท้าแล้วยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งขึ้น ตัวนาง ไม่ต้องกันเข่า ปลายเท้าชี้ไปข้างหน้ายกเชิดขึ้น ความสูงของเท้าต่ากว่าเท้าตัวพระเล็กน้อย ตัวพระ กันเข่าออกไปด้านข้าง ความสูงของเท้าให้ส้นเท้าที่ยกสูงตรงกับเข่าที่ยืน 4. กระทุ้งเท้า เป็นอาการของเท้าที่วางอยู่ข้างหลังด้วยจมูกเท้า แล้วกระทุ้งเพื่อจะยกเท้าขึ้ ยกเท้า ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี
  14. 14. 14 กระทุ้งเท้า ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี 5. กระดกเท้า เป็นอาการสืบเนื่องมาจากการกระทุ้งเท้าแล้วยกเท้าขึ้นข้างหลังวิธีกระดกต้องยืนย่อเข่า ข้างหนึ่งแล้วถีบเข่าที่ยกไปข้างหลังมากๆอย่าปล่อยให้เข่าที่ยกขึ้นห้อยอยู่ใกล้เข่าข้างที่ยืนกระดกลาขาส่วนล่าง ขึ้นให้น่องเข้าชิดท้องขาส่วนบน หักข้อเท้าลงให้ปลายนิ้วชี้ลงล่าง ตัวพระให้กันเข่าออกข้างให้มาก ส่วนตัวนาง เพียง แต่ดันเข่าไปข้างหลัง กระดกวิธีนี้เรียกว่า“กระดกหลัง” กระดกเท้า ที่มาของภาพ : เย็นจิตร บุญศรี แบบตัวนาง : นางสาวอรวรรณ อาณาเขต แบบตัวพระ: นายวัชระ โคตรวิชัย
  15. 15. 15 เหตุใดผู้เรียนนาฏศิลป์ จึงต้องนุ่งโจงกระเบน การที่ผู้เรียนนาฏศิลป์ ไทยต้องนุ่งโจงกระเบนในการร่ายรานั้นเหตุหนึ่งเพื่อเป็นการ อนุรักษ์การแต่งกาย ซึ่งในสมัยก่อนผู้หญิงจะนุ่งโจงกระเบนกับนุ่งจีบหน้านาง แต่เพื่อความคล่อง ในการปฏิบัติท่าก้าวเท้า ท่ายกเท้า ท่ากระดกเท้า ก็จะนุ่งโจงกระเบน หากนุ่งจีบหน้านางก็จะมอง ไม่เห็นปลายเท้าขณะฝึกหัด นอกจากนี้ การนุ่งโจงกระเบนจะรวบชายเสื้อ ไว้ในขอบเอวแล้วรัดเข็มขัดทับ เพื่อจะเน้นให้เห็น ทรวดทรง เมื่อฝึกจะมีการกดเอว กดไหล่ ย่อเข่า ซึ่งจะทาให้ครูผู้สอนจับท่าราและสามารถแก้ไข ท่าราที่บกพร่องได้สะดวกยิ่งขึ้น
  16. 16. 16 ใบงานที่ 1 เรื่อง นาฏยศัพท์การใช้มือ ชื่อ................................................................... ชั้น..............................เลขที่................ คาชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายนาฏยศัพท์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ (5 คะแนน) 1.จีบ แบ่งออกได้ดังนี้ ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 2. นาฏยศัพท์การใช้มือมีดังนี้ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 3.จีบล่อแก้ว.............................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 4.ตั้งวงล่าง........................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 5.จีบหงาย คือ.......................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................
  17. 17. 17 เฉลยใบงานที่ 1 เรื่อง นาฏยศัพท์การใช้มือ ชื่อ................................................................... ชั้น..............................เลขที่................ คาชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายนาฏยศัพท์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ (5 คะแนน) 1.จีบ แบ่งออกได้ดังนี้................จีบหงาย ...............จีบคว่า ........................จีบปรกข้าง ................. ...............จีบปรกหน้า ..........จีบส่งหลัง...................จีบล่อแก้ว....................... .................................................................................................................................................................. 2.นาฏยศัพท์การใช้มือมีดังนี้...... 1 จีบ ได้แก่ จีบหงาย จีบคว่า จีบส่งหลัง จีบปรกข้าง จีบปรกหน้า 2 วง ได้แก่ วงบน วงกลาง วงล่าง วงหน้า......................................... .................................................................................................................................................................. 3. จีบล่อแก้ว.............ใช้นิ้วหัวแม่มือกดทับนิ้วกลางให้เป็นวงกลม ส่วนนิ้วที่เหลือ กรีดให้ตึง .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 4.ตั้งวงล่าง..........ให้ปลายนิ้วทั้งสี่อยู่ระดับชายพกหรือหัวเข็มขัด นิ้วหัวแม่มืองอเข้าหาฝ่ามือเล็กน้อย พร้อมทั้งหักข้อมือเข้าหาลาแขนให้ส่วนโค้งของลาแขนห่างจากตัวเล็กน้อย........................................... .................................................................................................................................................................. 5. .จีบหงาย คือการจีบโดยหงายข้อมือเข้าหาลาแขนแล้วปฏิบัติท่าจีบให้ปลายนิ้วที่จีบชี้ขึ้นข้างบน
  18. 18. 18 ใบงานที่ 2 เรื่อง นาฏยศัพท์การใช้เท้า ชื่อ................................................................... ชั้น..............................เลขที่................ คาชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายนาฏยศัพท์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ (5 คะแนน) 1.นาฏยศัพท์การใช้เท้ามีดังนี ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 2. . ประเท้า................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 3. จรดเท้า............................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 4.กระดกเท้า ........................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 5.กระทุ้งเท้า............................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................
  19. 19. 19 เฉลยใบงานที่ 2 เรื่อง นาฏยศัพท์การใช้เท้า ชื่อ................................................................... ชั้น..............................เลขที่................ คาชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายนาฏยศัพท์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ (5 คะแนน) 1.นาฏยศัพท์การใช้เท้ามีดังนี้ ประเท้า จรดเท้า การยกเท้า กระทุ้งเท้า กระดกเท้า 2. ประเท้าเป็นอาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่งที่วางอยู่ข้างหน้า น้าหนักจะอยู่ที่เท้าหลัง เท้าหน้า จะใช้เพียงปลายจมูกเท้า (บริเวณเนื้อโคนนิ้วเท้า) แตะเบาๆ กับพื้นเพื่อจะยกเท้า 3. จรดเท้า เป็นอาการของเท้าข้างใดข้างหนึ่งที่วางอยู่ข้างหน้า การจรดเท้าน้าหนัก จะอยู่ที่เท้าหลัง เท้าหน้าจะใช้เพียงปลายจมูกเท้า (บริเวณเนื้อโคนนิ้วเท้า) แตะเบาๆไว้กับพื้น 4. กระดกเท้า เป็นอาการสืบเนื่องมาจากการกระทุ้งเท้าแล้วยกเท้าขึ้นข้างหลังวิธีกระดกต้องยืนย่อ เข่าข้างหนึ่งแล้วถีบเข่าที่ยกไปข้างหลังมากๆอย่าปล่อยให้เข่าที่ยกขึ้นห้อยอยู่ใกล้เข่าข้างที่ยืนกระดกลาขา ส่วนล่างขึ้นให้น่องเข้าชิดท้องขาส่วนบน หักข้อเท้าลงให้ปลายนิ้วชี้ลงล่าง ตัวพระให้กันเข่าออกข้างให้ มาก ส่วนตัวนางเพียง แต่ดันเข่าไปข้างหลัง กระดกวิธีนี้เรียกว่า“กระดกหลัง 5. กระทุ้งเท้า เป็นอาการของเท้าที่วางอยู่ข้างหลังด้วยจมูกเท้า แล้วกระทุ้ง เพื่อจะยกเท้าขึ้น แต่เป็นการยกข้างหลังด้านข้าง ความสูงของเท้าให้ส้นเท้าที่ยกสูงตรงกับเข่าที่ยืน .
  20. 20. 20 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง นาฏยศัพท์ คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. ข้อใดคือภาษาท่านาฏศิลป์ ที่ใช้สื่อความหมายแทนอารมณ์ความรู้สึก ก. ท่าตัวเรา ข. ท่าตาย ค. ท่าโกรธ ง. ท่ามอง 2. สุพัตราใช้มือซ้ายจีบเข้าหาตัวเองระดับอก สุพัตราปฏิบัติภาษาท่านาฏศิลป์ ตามข้อใด ก. ท่าดีใจ ข. ท่าโกรธ ค. ท่าอาย ง. ท่าตัวเรา 3. ยกเท้า เป็นอาการสืบเนื่องมาจากข้อใด ก. วางเท้า ข. จรดเท้า ค. กระทุ้งเท้า ง. ประเท้า 4. ภาษาท่านาฏศิลป์ ที่แสดงถึงอาการยิ้มหรือดีใจปฏิบัติอย่างไร ก. จีบมือซ้ายเข้าที่ปาก ข. จีบมือซ้ายเข้าหน้าผาก ค. จีบมือขวาเข้าอก ง. จีบมือทั้งสองเข้าที่อก
  21. 21. 21 5. วันรบต้องการใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ สื่อความหมายถึงความยิ่งใหญ่ วันรบควรใช้ภาษาท่าข้อใด ก. ท่าช้างประสานงา ข. ท่าพรหมสี่หน้า ค. ท่าสอดสร้อยมาลา ง. ท่าจันทร์ทรงกลด 6. มาริยาทามือโดยใช้นิ้วชี้กับนิ้วกลางติดกันเก็บนิ้วที่เหลือ มาริยากาลังปฏิบัติภาษาท่าเลียนแบบสัตว์อะไร ก. ปลา ข. นก ค. กวาง ง. ม้า 7. จากภาพคือข้อใด ก. จีบคว่า ข. จีบหงาย ค. จีบปรกข้าง ง. จีบส่งหลัง 8. จากภาพคือข้อใด ก. ยกเท้า ข. ประเท้า ค. กระดกเท้า ง. จรดเท้า
  22. 22. 22 9. จากภาพสื่อความหมายอย่างไร ก. ดีใจ ข. โศกเศร้า ค. เชื้อเชิญ ง. โกรธ 10. จากภาพเป็นการเลียนแบบอะไร ก. คนชรา ข. ม้า ค. ต้นไม้ ง. ปลา
  23. 23. 23 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง นาฏยศัพท์ 1. ค 2. ง 3. ง 4. ก 5. ข 6. ค 7. ข 8. ค 9. ข 10. ค
  24. 24. 24 2. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม คาชี้แจง สังเกตพฤติกรรมแล้วใส่คะแนนที่เหมาะสมลงในแบบบันทึก รายการประเมิน พฤติกรรมของนักเรียน คะแนน 3 2 1 1. ความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน 1. มีความสนใจในการเรียนเรื่องนาฏยศัพท์ 2. มีความกระตือรือร้นในการเรียนเรื่องนาฏยศัพท์ 2. ความรับผิดชอบ ขยัน และอดทน 1. เรียนรู้เรื่องนาฏยศัพท์ได้สาเร็จอย่างเต็มความสามารถ 2. ยอมรับข้อผิดพลาดและรับฟังคาแนะของเพื่อนในกลุ่ม 3. ความซื่อสัตย์ 1. แสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม 2. ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองด้วยความสามารถ 4. ความมีระเบียบ วินัย 1. ตรงต่อเวลาและเรียนรู้เรื่องนาฏยศัพท์ด้วยความละเอียดรอบคอบ 2. ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย 5. ความมีเจตคติที่ดี ต่อวิชานาฏศิลป์ 1. ปฏิบัติท่ารานาฏยศัพท์ด้วยความสนุกสนาน 2. เห็นคุณค่าของนาฏยศัพท์ รวม ระดับคะแนน 3 = ดี 2 =พอใช้ 1 =ปรับปรุง ลงชื่อ.........................................................(ผู้ประเมิน) (......................................................................)
  25. 25. 25 3. ด้านทักษะ / กระบวนการ คาชี้แจง สังเกตพฤติกรรมแล้วใส่คะแนนที่เหมาะสมลงในแบบบันทึก รายการประเมิน พฤติกรรมของนักเรียน คะแนน 3 2 1 1. กระบวนการ ในการปฏิบัติ กิจกรรมนาฏศิลป์ 1. บอกความหมายของนาฏยศัพท์ได้ 2.อธิบายที่มาของนาฏยศัพท์ได้ 3. ปฏิบัติท่ารานาฏยศัพท์ได้ 2. ทักษะ กระบวนการคิด 1. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติท่าราได้ 2. วิเคราะห์และสรุปวิธีการปฏิบัติท่าราได้ 3. กระบวนการ ปฏิบัติกิจกรรม เป็นกลุ่ม 1. ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม 2.ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายอย่างดี 3. แสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติกิจกรรม 4. ช่วยเหลือการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มจนสาเร็จ รวม ระดับคะแนน 3 = ดี 2 =พอใช้ 1 =ปรับปรุง ลงชื่อ.........................................................(ผู้ประเมิน) (.....................................................)
  26. 26. 26 บรรณานุกรม ถวัลย์มาศจรัส และคณะ. นวัตกรรมการศึกษา ชุดเอกสารประกอบการสอนนาฏศิลป์ ไทย. กรุงเทพมหานคร : 21 เซนจูรี่, 2547. ธนิต อยู่โพธิ์. คู่มือนาฏศิลป์ ไทย. พระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพมหานคร :ศิวพร, 2516. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, 2546. รานี ชัยสงคราม. นาฏศิลป์ ไทยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของคุรุสภา, 2544. เรณู โกศินานนท์.นาฏศิลป์ ไทย. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช จากัด, 2543. สุมิตร เทพวงษ์ . นาฏศิลป์ ไทย:นาฏศิลป์ สาหรับครูประถมศึกษา – อุดมศึกษา. กรุงเทพ: สานักพิมพ์โอ เดียนสโตร์. หน้า 183 อมรา กล่าเจริญ. สุนทรียนาฏศิลป์ ไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2542. พันทิพา มาลา . นาฏศิลป์ เปรียบเทียบ – การวิจารณ์ละคร(พระนครศรีอยุธยา : วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา 2528) . หน้า 108 – 109
  27. 27. 27 ประวัติย่อผู้จัดทา 1. ข้อมูลทั่วไป ชื่อ นางเย็นจิตร บุญศรี วันเดือนปีเกิด 17 ธันวาคม 2521 ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการขั้นเงินเดือน 21,460 บาท สถานที่ทางาน โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา อาเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว ที่อยู่ปัจจุบัน 165 หมู่ 6 ตาบลท่าเกวียน อาเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว 2. ประวัติการศึกษา วุฒิการศึกษา ปีที่จบ สถานศึกษา ป.6 ม.3 ม.6 ศิลปศาสตรบัณฑิต (นาฏศิลป์ และการละคร) หลักสูตรวิชาชีพครู การศึกษามหาบัณฑิต 2533 2536 2539 2544 2545 2550 ร.ร. เมืองโพนทอง อ.โพนทอง จ. ร้อยเอ็ด ร.ร.โพนทองวิทยายน อ.โพนทอง จ. ร้อยเอ็ด ร.ร.โพนทองพัฒนาวิทยา อ.โพนทอง จ. ร้อยเอ็ด สถาบันราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร 3. ประวัติการรับราชการ ปี พ.ศ. ตาแหน่ง/โรงเรียน 22548 2552 ปัจจุบัน ตาแหน่งครูผู้ช่วย โรงเรียนเทศบาล 4 รัตนวิทยานุสรณ์ ตาแหน่งครูคศ.1 โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา ตาแหน่งครูคศ.2 โรงเรียนไทรเดี่ยววิทยา ก