สหภาพยุโรป (EU) มีบทบาทสำคัญอย่างไร

����ѵ���ʵ��  ������ʵ�� �ؤ���Ӥѭ �������з�ջ >>

���û

  • ��Ҿ��� ���Ҿ���û�繡��������ȷ���պ��ҷ�Ӥѭ���㹡�����ҧ�������з�ȷҧ������ͧ ������蹤����ɰ�Ԩ����ѧ���дѺ�š
  • 㹴�ҹ���ɰ�Ԩ ���Ҿ���û�� 1 � 3 �ٹ���ҧ���ɰ�Ԩ�š �繓Economic Heavyweight� ����� GDP �˭����ش��š �繵�Ҵ�Թ�����к�ԡ�� ��Ҵ����Թ ������觷���Ңͧ���ŧ�ع����Ӥѭ����ش ����繼��������������������ҧ����ȷ���˭����ش �������պ���ѷ�����ҵ��дѺ�š�繨ӹǹ�ҡ����ش
  • ��ѧ�ҧ���ɰ�Ԩ�ͧ���Ҿ���û������������٧��� �ѹ�繼��Ҩҡ��â�����Ҫԡ�Ҿ���ҧ������ͧ ��þѲ��㹡�ͺ���Ҿ���ɰ�Ԩ��С���Թ ��þѲ�ҹ�º������㹴�ҹ��ҧ� ��С�û���ٻ�ç���ҧʶҺѹ��С�ú�����

��������

  • �.�. 1952 : �Ѵ��駻�ЪҤ���ҹ�Թ������硡���������û (European Coal and Steel Community � ECSC) ����Ҫԡ 6 ����� ���� ������� ������� �Ե��� ������Ź�� ������� ��� �ѡ������
  • �.�. 1958 : �Ѵ��駻�ЪҤ���ѧ�ҹ���ҳ� (European Atomic Energy Community � EURATOM) ��л�ЪҤ����ɰ�Ԩ���û (European Economic Community � EEC)
  • �.�. 1967 : ������ͧ����������ǡѹ������ͺ EEC
  • �.�. 1968 : EEC ��Ѳ�������Ҿ��šҡ� (Custom Union) ��С���������� ��Ҵ���� (Common Market)
  • �.�. 1973 : ���Ҫ�ҳҨѡ� ഹ���� ��������Ź���������Ҫԡ
  • �.�. 1981 : ��ի�������Ҫԡ
  • �.�. 1986 : �໹����õ����������Ҫԡ
  • �.�. 1987 : �͡ Single European Act ���;Ѳ�� EEC ����繵�Ҵ�������͵�Ҵ���� ��ѹ��� 1 ���Ҥ� 1993 ������¡����������� ��ЪҤ����û (European Community � EC)
  • �.�. 1992 : ŧ����ʹ���ѭ�ҡ�͵�����Ҿ���û (Treaty of the European Union) �����ա����˹����� ʹ���ѭ����ʷ�ԡ�� (Maastricht Treaty) ���¡����������� ���Ҿ���û (European Union � EU) �������ѡ 3 ��С�� ��� (1) ��ЪҤ����û (2) ��º��������ҹ��õ�ҧ�������Ф�����蹤� ��� (3) ����������ʹ�ҹ�Ԩ����صԸ�����СԨ�������
  • �.�. 1995 : ������� �Թ�Ź�� ������ഹ�������Ҫԡ
  • �.�. 1997 : ŧ����ʹ���ѭ������������ (Treaty of Amsterdam) ���������� ʹ���ѭ����ʷ�ԡ�� ����ͧ��º��������ҹ��õ�ҧ�������Ф�����蹤� �����繾����ͧ�ͧ���Ҿ���û ��С�û���ٻ��䡴�ҹʶҺѹ�ͧ���Ҿ���û
  • �.�. 2001 : ŧ����ʹ���ѭ�ҹի (Treaty of Nice) �鹡�û���ٻ��ҹʶҺѹ��С�䡵�ҧ � �ͧ���Ҿ���û �����ͧ�Ѻ��â�����Ҫԡ�Ҿ
  • 1 ��Ȩԡ�¹ �.�. 2004 : �Ѻ��Ҫԡ�����ա 10 ����� ���� 䫻��� �� ������� �ѧ���� �ѵ���� �Է����� ��ŵ� ��Ź�� �������� �����������
  • 29 ���Ҥ� �.�. 2004 : �������Ҫԡ EU 25 ����� ŧ���㹸����٭���û ������»���Ȩ��ա��ŧ��Ъ�����Ѻ�ͧ�����٭� ���㹻� �.�. 2006

ʶҹ���Ф����Ӥѭ�ͧ���Ҿ���û
ʶҺѹ��ѡ�ͧ���Ҿ���û
������û (European Parliament)
�����٭���û
��â�����Ҫԡ�Ҿ�ͧ���Ҿ���û�͹Ҥ�

สหภาพยุโรป (EU) มีบทบาทสำคัญอย่างไร
สหภาพยุโรป (EU) มีบทบาทสำคัญอย่างไร
สหภาพยุโรป (EU) มีบทบาทสำคัญอย่างไร
สหภาพยุโรป (EU) มีบทบาทสำคัญอย่างไร

หน้านี้แสดงข้อมูลโดยสังเขปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรป (EU) และประเทศไทยในด้านต่าง ๆ เช่น ความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และการค้า ความร่วมมือทางการเงิน และความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม

บนหน้านี้

ความสัมพันธ์ทางการเมือง

หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562   คณะรัฐมนตรีซึ่งมาจากรัฐบาลผสมหลายพรรคได้สาบานตนเข้ารับตำแหน่งในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2562  

เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2562  สภาการต่างประเทศของสหภาพยุโรปมีมติร่วมกันว่าถึงเวลาเหมาะสมแล้วที่จะกระชับความสัมพันธ์กับประเทศไทยในมิติต่างๆ  เช่น ด้านสิทธิมนุษยชน เสรีภาพขั้นพื้นฐาน และพหุนิยมประชาธิปไตย

นับแต่นั้นมา ทั้งสองฝ่ายจึงได้รื้อฟื้นการเจรจาเพื่อเตรียมความพร้อมที่จะลงนามในข้อตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วนและความร่วมมือ (PCA) ซึ่งจะสร้างกรอบการทำงานที่ครอบคลุม และช่วยส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสหภาพยุโรปและประเทศไทยให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น

ความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ทางการค้า

การค้าระหว่างสหภาพยุโรป และประเทศไทยมีมูลค่า 29.1 พันล้านยูโร ในพ.ศ. 2563 (หรือประมาณ 1.09 ล้านล้านบาท) ทำให้ EU เป็นคู่ค้าที่ใหญ่อันดับสี่ของประเทศไทย

สหภาพยุโรปเป็นตลาดส่งออกที่ใหญ่เป็นอันดับสี่ของประเทศไทย ในพ.ศ. 2563 การส่งออกจากประเทศไทยไปยังสหภาพยุโรป มีมูลค่ารวม 17.7 พันล้านยูโร (ประมาณ 665 พันล้านบาท)

สหภาพยุโรป คือผู้นำเข้ารายใหญ่ที่สุดอันดับสามของประเทศไทย ในพ.ศ. 2563 การนำเข้าจากสหภาพยุโรปสู่ประเทศไทยมีมูลค่ารวมประมาณ 11.4 พันล้านยูโร (ประมาณ 429 พันล้านบาท)

สินค้าที่ถูกนำเข้าจากประเทศไทยไปยังสหภาพยุโรป มากที่สุดสามอันดับแรก ใน พ.ศ. 2563 ได้แก่

เครื่องจักร อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์ขนส่ง  (57.8 % ของการนำเข้าทั้งหมด)

  • ผลิตภัณฑ์เบ็ดเตล็ด (25.8 %) และ
  • อาหาร (8.7 %)
  • สินค้าที่ถูกส่งออกจากสหภาพยุโรปมายังประเทศไทยมากที่สุดสามอันดับแรก ได้แก่
  • เครื่องจักรและอุปกรณ์ขนส่ง (43%)
  • สินค้าอุตสาหกรรม (21.8%) และ
  • ผลิตภัณฑ์เคมีและที่เกี่ยวข้อง (20.8%)

สหภาพยุโรปเป็นผู้ลงทุนจากต่างประเทศรายใหญ่ที่สุดป็นอันดับสาม (10.3% ของหุ้น FDI) และเป็นจุดหมายปลายทางที่ใหญ่เป็นอันดับสามของการลงทุนจากประเทศไทยเช่นเดียวกัน (11% ของการลงทุนขาออก)

ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ

เพื่อที่จะส่งเสริมความสัมพันธ์ทางการค้าและการลงทุนให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น สหภาพยุโรปและประเทศไทยได้เปิดการเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี (FTA) ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 โดยทั้งสองฝ่ายต้องการข้อตกลงที่ครอบคลุมในหัวข้อต่าง ๆ เช่น

  • ภาษีการค้าและมาตรการอื่นนอกเหนือจากภาษีการค้า
  • การบริการ
  • การลงทุน
  • การจัดซื้อสาธารณะ
  • ทรัพย์สินทางปัญญา
  • การปฏิรูปกฎระเบียบและข้อบังคับในการดำเนินธุรกิจ และ
  • การพัฒนาอย่างยั่งยืน

การเจรจาได้ถูกระงับในเดือนเมษายน พ.ศ. 2557    และหลังจากที่สภาการต่างประเทศของสหภาพยุโรปได้ลงมติให้รื้อฟื้นความสัมพันธ์กับประเทศไทยเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2562   ทั้งสองฝ่ายจึง ได้ดำเนินการเพื่อเตรียมความพร้อมที่จะเริ่มการเจรจาใหม่  บนพื้นฐานของความเข้าใจร่วมกันว่า  FTA ฉบับใหม่นี่จะมีเป้าหมายที่สูงส่งและครอบคลุม

ฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ

ฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศของสหภาพยุโรปในประเทศไทยมีหน้าที่หลักในการเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างสหภาพและประเทศไทยในด้านของนโยบายความร่วมมือและการพัฒนาที่ยั่งยืน และเรามุ่งที่จะพัฒนาความร่วมมือภายใต้กรอบนโยบายของกระทรวงการต่างประเทศของสหภาพยุโรปใน 5 ด้านหลักด้วยกัน ได้แก่ ด้านการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมและการเข้าสู่โลกดิจิทัล ด้านการสร้างงานและการเติบโตอย่างยั่งยืน ด้านการย้ายถิ่นฐานและแก้ไขปัญหาการอพยพ ด้านการปกครอง สันติภาพ ความมั่นคง และพัฒนาการด้านมนุษย์  

ฝ่ายของเรามีเป้าหมายหลักในการช่วยรับมือกับปัญหาด้านความเหลื่อมล้ำ โดยการเพิ่มความสามารถในการเข้าถึงโอกาสกับทุกคน สร้างสังคมที่ยั่งยืน ส่งเสริมประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน และหลักกฎหมาย  

เราสนับสนุนประเทศไทยในการดำเนินงานตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเราได้มีการปรับโครงการของเราให้ตอบสนองความต้องการของประเทศไทย ภายใต้หลักของความร่วมมือแบบพยุภาคี โดยเฉพาะตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติและความตกลงปารีสด้านสภาพภูมิอากาศ โดยในปัจจุบันเราได้ร่วมมือกับหลายฝ่ายในประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลไทย สถาบันวิจัย สหประชาชาติ ภาคประชาสังคมและหน่วยงานเอกชนที่มีเป้าหมายเดียวกัน 

สิ่งที่เราเน้นย้ำเป็นพิเศษคือการเสริมสร้างความเท่าเทียมทางเพศ เสริมสร้างพลังของสตรีและเยาวชน โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง โครงการของสหภาพยุโรปในประเทศไทยมีอยู่ทั่วประเทศรวมถึงจังหวัดในชายแดนภาคใต้ และในช่วงการระบาดของไวรัสโควิด 19 เรามีโครงการเพื่อยกระดับการรับมือและการฟื้นฟูสังคมหลังการระบาดโดยมุ่งไปที่การให้ความช่วยเหลือแก่กลุ่มเปราะบางในสังคม  

ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม

สหภาพยุโรปมีสำนักงานในกรุงเทพฯ ซึ่งทำหน้าที่สนับสนุนโครงการด้านมนุษยธรรมของสหภาพยุโรป ทั้งหมดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

การปฏิบัติงานด้านมนุษยธรรมของสหภาพยุโรปในประเทศไทยเริ่มขึ้นในพ.ศ. 2538 และได้ดำเนินการรับมือกับวิกฤตการณ์ต่าง ๆ มากมายทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและเกิดจากกระทำของมนุษย์ ทุนสนับสนุนสำหรับกิจกรรมในด้านนี้มีมูลค่าทั้งหมดเกือบ 120 ล้านยูโร

ในขณะที่ความช่วยเหลือส่วนมากในด้านนี้ นำไปสู่การให้ความช่วยเหลือผู้อพยพชาวพม่าที่อาศัยอยู่ในค่ายผู้ลี้ภัยต่าง ๆ ตามแนวชายแดนของประเทศไทยในช่วงเวลาที่ผ่านมา ในปัจจุบัน  เรามุ่งที่จะให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมกับผู้ที่อพยพและผู้หนีภัยสู้รบเข้ามาในประเทศไทย เพื่อตอบสนองต่อจำนวนผู้ต้องการหนีภัยมายังประเทศไทยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงสองสามปีที่ผ่านมา โครงการความช่วยเหลือในปัจจุบันได้แก่ การให้ความคุ้มครองและความช่วยเหลือด้านสุขอนามัยแก่ผู้อพยพชาวโรฮีนจาที่อาศัยอยู่ในศูนย์พักพิงทั่วประเทศ และเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์โควิด 19 เราได้จัดเตรียมอุปกรณ์ในการป้องกันการระบาดให้แก่ผู้อพยพด้วย ในขณะเดียวกัน เราได้มีการจัดสัมมนาและโครงการที่จะช่วยยับยั้งการระบาดของโควิด 19 รวมถึงการสร้างความตระหนักรู้ถึงผลกระทบในแง่ลบของโควิด 19 ต่อชาวโรฮีนจาและผู้อพยพคนอื่น ๆ

เนื่องจากภาคใต้ของประเทศไทยเป็นพื้นที่ที่ต้องเผชิญกับความท้าทายในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านความขัดแย้งที่กินเวลายาวนาน การระบาดของโควิด 19 และภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ  สหภาพยุโรปจึงร่วมมือกับองค์กรพันธมิตรด้านมนุษยธรรมเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่กลุ่มคนที่เปราะบางที่สุดในสังคมเพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับภัยพิบัติ และวิกฤติต่าง ๆ   เป้าหมายโดยรวมของเราคือการสนับสนุนให้ประเทศไทยเสริมสร้างขีดความสามารถที่จะเตรียมพร้อมรับมือและตอบสนองต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติโดยคำนึงถึงการปกป้องเด็กและเยาวชนในช่วงวิกฤติ