คณะมนุษยศาสตร์สาขาภาษาจีนเกี่ยวกับอะไร

���Ҩչ

�Թ�Թ

�����ѧ���

������

人文学

���Թ ���Թ

����� �����¹

Rénwén xuéyuàn

Faculty of Humanities

����������ʵ��

人文学科与社会科学院

���Թ���Թ

������� ���� ������� ��

����� �����¹

Rénwén xué kē   yŭ shèhuì kē xuéyuàn

Faculty of Humanities and Social Sciences

����������ʵ������ѧ��(��ʵ��)

()学院

���Թ(��)

 ����������¹

wén (kē) xuéyuàn

Faculty of Liberal Arts

�����Ż��ʵ��

通訊

�� ���� ���

Tōngxùn xì

Department of Communications

�Ҥ�Ԫ�(�Ң��Ԫ�)������������Ū�

人际关系学系

���Թ ��� ��ҹ ��� ����� ���

Rénjì guānxì xué xì

Department of

Human Relations

�Ҥ�Ԫ����������ѹ��

心理学

�Թ���� ����� ���

Xīnlĭ xué xì

Department of

Psychology

�Ҥ�ԪҨԵ�Է��

中文系

�����Թ ���

Zhōngwén xì

Department of

Chinese

�Ҥ�Ԫ����Ҩչ

英文系

�ԧ���Թ ���

Yīngwén xì

Department of

English

�Ҥ�Ԫ������ѧ���

泰文系

�����Թ ���

Tàiwén xì

Department of

Thai

�Ҥ�Ԫ�������

旅游学系

�������� ����� ���

Lǚyóu xué xì

Department of Tourism

�Ҥ�Ԫҡ�÷�ͧ�����

泰国语言文化系

�� ���� ������¹ ���Թ ���� ���

Táiguó yŭyán wén huà xì

Department of Thai Language and Culture

�Ҥ�Ԫ���������Ѳ�������

วิสัยทัศน์ : คณะศิลปศาสตร์มีความเป็นเลิศด้านภาษา วัฒนธรรม และการพัฒนามนุษย์ มุ่งสู่การเป็นคณะชั้นนำทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในภูมิภาคอาเซียน ค่านิยม : คณะศิลปศาสตร์ มุ่งพัฒนา รักษาคุณธรรม นำสังคม

คณะมนุษยศาสตร์สาขาภาษาจีนเกี่ยวกับอะไร

 
คณะมนุษยศาสตร์สาขาภาษาจีนเกี่ยวกับอะไร
 
คณะมนุษยศาสตร์สาขาภาษาจีนเกี่ยวกับอะไร
 

ชื่อเต็ม : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาจีน)
           Bachelor of Arts (Chiness)

ชื่อย่อ :  ศศ.บ. (ภาษาจีน)
           B.A. (Chinese)

 
คณะมนุษยศาสตร์สาขาภาษาจีนเกี่ยวกับอะไร
 

            หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรมจีน มีกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล สามารถแสวงหาความรู้เพิ่มเติมและประยุกต์ใช้ภาษาจีนในสาขาวิชาชีพของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการทั้งในระดับภูมิภาค และระดับชาติ อีกทั้งยังเป็นหลักสูตรที่มีแผนการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เลือกศึกษาในประเทศ หรือต่างประเทศ โดยจะเลือกเรียนในมหาวิทยาลัยของสาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากทักษะภาษาจีนเชิงวิชาการแล้ว หลักสูตรยังได้จัดรายวิชาเอกเลือกที่เพิ่มพูนทักษะทางวิชาชีพให้กับนักศึกษา อันได้แก่ กลุ่มวิชาการสอนหรือกลุ่มวิชาธุรกิจบริการ ตลอดจนส่งเสริมให้นักศึกษามีโอกาสในการฝึกงาน หรือปฏิบัติสหกิจศึกษาที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ ฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพในสถานการณ์จริงเพื่อเป็นการสร้างโอกาสในการได้งานทำหลังจากสำเร็จการศึกษาต่อไป

 
คณะมนุษยศาสตร์สาขาภาษาจีนเกี่ยวกับอะไร
 

 รูปแบบของหลักสูตร

หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี โดยจัดการเรียนการสอน จำนวน 2 แผน ดังนี้
      หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554
      1. แผน 4+0 คือ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 4 ปี
      2.
แผน 3+1 คือ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 3 ปี (ชั้นปีที่ 1, 2 และ 4)
         
และเรียนที่สาธารณรัฐประชาชนจีน 1 ปี (ชั้นปีที่ 3)

       หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
       1. แผน 4+0 คือ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 4 ปี
       2. แผน 3+1 คือ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 3 ปี (ชั้นปีที่ 1, 3 และ 4)
           และเรียนที่สาธารณรัฐประชาชนจีน 1 ปี (ชั้นปีที่ 2)

ความร่วมมือกับสถาบันอื่น

หลักสูตรมีความร่วมมือกับ Fudan University  หรือมหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ได้รับการรับรองคุณวุฒิจากสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและมีความร่วมมือทางวิชาการกับคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วัตถุประสงค์

1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ และทักษะการใช้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร
2. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความเข้าใจ วัฒนธรรม ตลอดจนเศรษฐกิจและสังคมจีน ในการรองรับความต้องการของสังคม และประเทศชาติ
3. ผลิตบัณฑิตที่สามารถนำความรู้ ไปพัฒนาตนเอง และสังคมอย่างมีคุณธรรม

 

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย ทั้งในองค์กรของภาครัฐและเอกชนดังตัวอย่างต่อไปนี้

  1. ครู อาจารย์  หรือวิทยากรสอนภาษาจีน
  2. เจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจที่ใช้ภาษาจีน เช่น กระทรวงการต่างประเทศ บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด(มหาชน) สำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฯลฯ
  3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างประเทศ หรือฝ่ายประสานงานต่างประเทศในองค์กรเอกชนของหน่วยงาน องค์กรและบริษัทต่างๆ
  4. งานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการ เช่น งานโรงแรม  มัคคุเทศก์ สายการบิน บริษัทนำเที่ยว ฯลฯ
  5. อาชีพอิสระที่ใช้ภาษาจีนและภาษาต่างประเทศอื่นๆ เช่น นักแปล ล่าม พนักงานจำหน่ายสินค้า ฯลฯ 
 
 
   

หน่วยงาน