เครื่องหมาย != มีความหมายตรงกับข้อใด

เครื่องหมายเปรียบเทียบ ภาษาซี (c) ใช้ในการเปรียบเทียบค่า ว่ามีค่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ สามารถนำไปประยุกต์ ใช้ในการเป็นตัวตัดสินใจ หรือการเลือกกระทำ ก่อนอื่นจะต้องทราบเครื่องหมายต่าง ๆ ดังนี้

เครื่องหมาย == หมายถึงเท่ากับ

เครื่องหมาย != หมายถึงไม่เท่ากับ

เครื่องหมาย < หมายถึงน้อยกว่า

เครื่องหมาย <= หมายถึงน้อยกว่าหรือเท่ากับ

เครื่องหมาย > หมายถึงมากกว่า

เครื่องหมาย >= หมายถึงมากกว่าหรือเท่ากับ


เครื่องหมายตรรกศาสตร์นำมาใช้ในการพิจารณาผลลัพธ์ เครื่องหมายที่ใช้สำหรับการดำเนินการทางตรรกศาสตร์มีอยู่ 3 ชนิดคือ && , ||, !

&& เรียกว่า and ภาษาไทยใช้คำว่า และ มีค่าความจริง กรณีเดียวคือ จริงและจริง เป็นจริง นอกนั้นเป็นเท็จทุกกรณี

|| เรียกว่า or ภาษาไทยใช้คำว่า หรือ มีความเป็นเท็จ กรณีเดียวคือ เท็จและเท็จ เป๋นเท็จ นอกนั้นเป็นจริงทุกกรณี

ตัวดำเนินการ (Operators) คือกลุ่มของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ใช้ทำงานเหมือนกับฟังก์ชัน แต่แตกต่างกันตรงไวยากรณ์หรือความหมายในการใช้งาน ในภาษา Python นั้นสนับสนุนตัวดำเนินการประเภทต่างๆ สำหรับการเขียนโปรแกรม เช่น ตัวดำเนินการ + เป็นตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ที่ใช้สำหรับการบวกตัวเลขเข้าด้วยกัน หรือตัวดำเนินการ > เป็นตัวดำเนินการเพื่อให้เปรียบเทียบค่าสองค่า

นี่เป็นรายการของตัวดำเนินการในภาษา Python ที่คุณจะได้เรียนในบทนี้

  • Assignment operator
  • Arithmetic operators
  • Comparison operators
  • Logical operators

Assignment operator

ตัวดำเนินการที่เป็นพื้นฐานที่สุดสำหรับการเขียนโปรแกรมในทุกๆ ภาษาก็คือ ตัวดำเนินการกำหนดค่า (Assignment operator) ตัวดำเนินการนี้แสดงโดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=) มันใช้สำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปร มาดูตัวอย่างการใช้งานในภาษา Python

a = 3
b = 5.29
c = b
name = 'Mateo'
my_list = [2, 5, 8, 10, 24]
x, y = 10, 20

ในตัวอย่าง เป็นการใช้งานตัวดำเนินการกำหนดค่าสำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปรประเภทต่างๆ โดยทั่วไปแล้ว ตัวดำเนินการกำหนดค่านั้นเกือบจะใช้ในทุกๆ ที่ในโปรแกรมและเป็นตัวดำเนินการที่ใช้บ่อยที่สุดของในบรรดาตัวดำเนินการทั้งหมด

Arithmetic operators

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic operators) คือตัวดำเนินการที่ใช้สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ในพื้นฐาน เช่น การบวก การลบ การคูณ และการหาร มากไปกว่านั้น ในภาษา Python ยังมีตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์เพิ่มเติม เช่น การหารเอาเศษ (Modulo) การหารแบบเลขจำนวนเต็ม และการยกกำลัง เป็นต้น

นี่เป็นตารางของตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ในภาษา Python

ตัวดำเนินการชื่อตัวอย่าง+บวก (Addition)10 + 3–ลบ (Subtraction)10 – 3*คูณ (Multiplication)10 * 3/หาร (Division)10 / 3//หารปัดเศษ (Division and floor)10 // 3%หารเอาผลลัพธ์เฉพาะเศษ (Modulus)10 % 3**ยกกำลัง (Power)10 ** 3

ในตารางข้างบน เรามีตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ประเภทต่างๆ สำหรับการคำนวณเกี่ยวกับคณิตศาสตร์เบื้องต้น คุณอาจจะคุ้นเคยกับตัวดำเนินการบวก ลบ คูณ หาร ในการเรียนระดับมัธยมศึกษามาบ้างแล้ว ในภาษา Python นั้นสนับสนุนตัวดำเนินการสำหรับการหารเอาเศษเช่นเดียวกับภาษาอื่นๆ และนอกจากนี้ ยังมีตัวดำเนินการแบบการหารที่ได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็ม และการหาเลขยกกำลังเพิ่มเข้ามา มาดูตัวอย่างการใช้ตัวดำเนินการประเภทต่างๆ ในภาษา Python

a = 5
b = 3
print("a + b = ", a + b)
print("a - b = ", a - b)
print("a * b = ", a * b)
print("a / b = ", a / b)
print("a // b = ", a // b) # floor number to integer
print("a % b = ", a % b)   # get division remainder
print("a ** b = ", a ** b) # power

ในตัวอย่าง เราได้ประกาศตัวแปร a และ b และกำหนดค่าให้กับตัวแปรทั้งสองเป็น 5 และ 3 ตามลำดับ ในสี่ตัวดำเนินการแรกเป็นการดำเนินการทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน สำหรับตัวดำเนินการ 

a = 5
b = 3
print("a + b = ", a + b)
print("a - b = ", a - b)
print("a * b = ", a * b)
print("a / b = ", a / b)
print("a // b = ", a // b) # floor number to integer
print("a % b = ", a % b)   # get division remainder
print("a ** b = ", a ** b) # power
0 เป็นการหารเช่นเดียวกัน แต่ผลลัพธ์ของการหารนั้นจะตัดส่วนที่เป็นทศนิยมทิ้งไป ส่วนตัวดำเนินการ 
a = 5
b = 3
print("a + b = ", a + b)
print("a - b = ", a - b)
print("a * b = ", a * b)
print("a / b = ", a / b)
print("a // b = ", a // b) # floor number to integer
print("a % b = ", a % b)   # get division remainder
print("a ** b = ", a ** b) # power
1 นั้นเป็นการหารโดยผลลัพธ์จะเป็นเศษของการหารแทน ส่วนสุดท้าย 
a = 5
b = 3
print("a + b = ", a + b)
print("a - b = ", a - b)
print("a * b = ", a * b)
print("a / b = ", a / b)
print("a // b = ", a // b) # floor number to integer
print("a % b = ", a % b)   # get division remainder
print("a ** b = ", a ** b) # power
2 นั้นแทนการยกกำลัง

a + b =  8
a - b =  2
a * b =  15
a / b =  1.6666666666666667
a // b =  1
a % b =  2
a ** b =  125

นี่เป็นผลลัพธ์การทำงานของโปรแกรมในการใช้งานตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์

Comparison operators

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (Comparison operators) คือตัวดำเนินการที่ใช้สำหรับเปรียบเทียบค่าหรือค่าในตัวแปร ซึ่งผลลัพธ์ของการเปรียบเทียบนั้นจะเป็น True หากเงื่อนไขเป็นจริง และเป็น False หากเงื่อนไขไม่เป็นจริง ตัวดำเนินการเปรียบเทียบมักจะใช้กับคำสั่งตรวจสอบเงื่อนไข if และคำสั่งวนซ้ำ for while เพื่อควบคุมการทำงานของโปรแกรม

นี่เป็นตารางของตัวดำเนินการเปรียบเทียบในภาษา Python

ตัวดำเนินการชื่อตัวอย่าง<น้อยกว่า (Less Than)a < b>มากกว่า (Greather Than)a <= b<=น้อยกว่าหรือเท่ากับ (Less Than or Equal)a > b>=มากกว่าหรือเท่ากับ (Greather Than or Equal)a >= b==เท่ากับ (Equal)a == b!=ไม่เท่ากับ (Not Equal)a != b

ในตาราง แสดงให้เห็นถึงตัวดำเนินการเปรียบเทียบประเภทต่างๆ เช่น การเปรียบเทียบความเท่ากัน โดยคุณสามารถใช้ตัวดำเนินการเปรียบเทียบเพื่อเปรียบเทียบว่าค่าในตัวแปรนั้นเท่ากันหรือไม่ หรือการเปรียบเทียบค่ามากกว่าหรือน้อยกว่า ต่อไปมาดูตัวอย่างการใช้งานตัวดำเนินการเปรียบเทียบในภาษา Python

print('4 == 4 :', 4 == 4)
print('1 < 2:', 1 < 2)
print('3 > 10:', 3 > 10)
print('2 <= 1.5', 2 <= 1.5)
print()

# Variable comparison
a = 10
b = 8
print('a != b:', a != b)
print('a - b == 2:', a - b == 2)

ในตัวอย่าง เป็นการเปรียบเทียบค่าประเภทต่างๆ ในคำสั่งกลุ่มแรกนั้นเป็นการใช้ตัวดำเนินการเปรียบเทียบกับค่าคงที่ ในกลุ่มที่สองเป็นการใช้งานกับตัวแปร ซึ่งถ้าหากเงื่อนไขเป็นจริงจะได้ผลลัพธ์เป็น True และถ้าหากไม่จริงจะได้ผลลัพธ์เป็น False

4 == 4 : True
1 < 2: True
3 > 10: False
2 <= 1.5 False

a != b: True
a - b == 2: True

นี่เป็นผลลัพธ์การทำงานของโปรแกรมในการใช้ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ

Logical operators

ตัวดำเนินการตรรกศาสตร์ (Logical operators) คือตัวดำเนินการที่ใช้สำหรับประเมินค่าทางตรรกศาสตร์ ซึ่งเป็นค่าที่มีเพียงจริง (True) และเท็จ (False) เท่านั้น โดยทั่วไปแล้วเรามักใช้ตัวดำเนินการตรรกศาสตร์ในการเชื่อม Boolean expression ตั้งแต่หนึ่ง expression ขึ้นไปและผลลัพธ์สุดท้ายที่ได้นั้นจะเป็น Boolean

นี่เป็นตารางของตัวดำเนินการตรรกศาสตร์ในภาษา Python

ตัวดำเนินการชื่อตัวอย่างandผลจะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการทั้งสองด้านของตัวดำเนินการ and มีค่าเป็นจริง5<7 and 7>3 จริง(True)orผลจะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการตัวใดตัวหนึ่งจากทั้งสองด้านของตัวดำเนินการ or มีค่าเป็นจริง7<5 or 7>3 จริง(True)notผลจะเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ ตัวถูกดำเนินการมีค่าเป็นเท็จ (เป็นการสลับระหว่างข้อมูลที่เป็นจริงและเป็นเท็จ)not(5<7) เท็จ(False)

ในภาษา Python นั้นมีตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ 3 ชนิด คือ ตัวดำเนินการ 

a = 5
b = 3
print("a + b = ", a + b)
print("a - b = ", a - b)
print("a * b = ", a * b)
print("a / b = ", a / b)
print("a // b = ", a // b) # floor number to integer
print("a % b = ", a % b)   # get division remainder
print("a ** b = ", a ** b) # power
3 เป็นตัวดำเนินการที่ใช้เชื่อมสอง Expression และได้ผลลัพธ์เป็น True หาก Expression ทั้งสองเป็น True ไม่เช่นนั้นจะได้ผลลัพธ์เป็น False ตัวดำเนินการ 
a = 5
b = 3
print("a + b = ", a + b)
print("a - b = ", a - b)
print("a * b = ", a * b)
print("a / b = ", a / b)
print("a // b = ", a // b) # floor number to integer
print("a % b = ", a % b)   # get division remainder
print("a ** b = ", a ** b) # power
4 เป็นตัวดำเนินการที่ใช้เชื่อมสอง Expression และได้ผลลัพธ์เป็น True หากมีอย่างน้อยหนึ่ง Expression ที่เป็น True ไม่เช่นนั้นได้ผลลัพธ์เป็น False และตัวดำเนินการ 
a = 5
b = 3
print("a + b = ", a + b)
print("a - b = ", a - b)
print("a * b = ", a * b)
print("a / b = ", a / b)
print("a // b = ", a // b) # floor number to integer
print("a % b = ", a % b)   # get division remainder
print("a ** b = ", a ** b) # power
5 ใช้ในการกลับค่าจาก True เป็น False และในทางกลับกัน มาดูตัวอย่างการใช้งาน