การใช้บริการธนาคารมี อะไร บาง

ในปัจจุบันธนาคารในบ้านเราเกิดกระแสตื่นตัวเรื่องการให้บริการธนาคารทางอิเล็กทรอนิกส์กันเป็นอย่างมาก หรือที่เรามักเรียกกันว่า E-Banking เนื่องจากมีการทำธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ E-Banking เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

จากสถิติของธนาคารแห่งประเทศไทย ธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile banking และ Internet banking พบว่า จำนวนบัญชีลูกค้าที่ใช้บริการ, ปริมาณรายการที่ทำธุรกรรม, และมูลค่ารายการ มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในเดือนมิถุนายน 2555 มีจำนวนบัญชีลูกค้าที่ใช้บริการ Internet banking ทั้งหมด 6,051,554 บัญชี ปริมาณรายการที่ทำธุรกรรมจำนวน 10,299 รายการ และมีมูลค่ารายการ1,239 พันล้านบาท ในขณะเดียวกันการทำธุรกรรมผ่านบริการ Mobile banking มีมูลค่ารายการเพียง 35 ล้านบาทเท่านั้น แต่ในอนาคตอันใกล้การชำระเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ Mobile banking มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นจากการที่บริษัทกูเกิ้ลเปิดตัว Google Wallet ในปีที่ผ่านมาเพื่อใช้โทรศัพท์ที่รองรับการสื่อสารแนบ Near Field Communication (NFC) และใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เป็นเหมือนกระเป๋าสตางค์อิเล็กทรอนิกส์ที่ชำระเงินได้ตามจุดเครื่องอ่านตามร้านค้าที่รองรับ ซึ่งในปัจจุบันมีการให้บริการในประเทศสหรัฐอเมริกาเท่านั้น แต่อาจจะขยายการให้บริการมาถึงประเทศไทยในไม่ช้า ดังนั้น เราควรทำความรู้จักกับ E-Banking เพื่อให้ทราบว่าคืออะไร และสามารถทำอะไรได้บ้าง

E-Banking คือ การทำธุรกรรมต่างๆ กับธนาคาร โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น การฝากเงิน ถอนเงิน โอนเงิน หรือ สอบถามยอดเงิน เป็นต้น E-Banking อาจเรียกด้วยชื่ออื่น เช่น Internet Banking (ธนาคารอินเตอร์เน็ต), Online Banking (ธนาคารออนไลน์), Electronic Banking (ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์), Cyber Banking (ธนาคารไซเบอร์) เป็นต้น

ประเภทของ E-Banking สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

  1. ให้บริการผ่านอินเตอร์เน็ต
บริการสำหรับธนาคารที่ให้บริการผ่านอินเตอร์เน็ต มีบริการ อาทิ
  • บริการโอนเงินระหว่างบัญชีของผู้ใช้บริการเอง หรือการโอนเงินไปยังบุคคลอื่น
  • บริการสอบถามสถานะเช็ค
  • บริการอายัดเช็ค
  • บริการสอบถามรายการเคลื่อนไหวในบัญชี
  • บริการสอบถามรายการชำระ
  • บริการสอบถามยอดคงเหลือในบัญชี
  • บริการชำระค่าสินค้าหรือบริการฃ
  • บริการชำระค่าบัตรเครดิต
  • บริการขอสินเชื่อ
เป็นต้น
  1. ให้บริการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
ธนาคารที่ให้บริการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ มีบริการ อาทิ
  • บริการเอทีเอ็ม (ATM)
  • บริการสมาร์ทการ์ด (Smart d)
  • บริการธนาคารทางโทรศัพท์ (Tele-Banking)
เป็นต้น

การให้บริการของ E-Banking ยังไม่หมดเพียงเท่านี้ ในอนาคตการให้บริการของ E-Banking ยังสามารถพัฒนาได้อีกเรื่อยๆ เพื่อรองรับความต้องการในการใช้บริการของผู้ใช้บริการ E-Banking ที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจาก E-Banking ทำให้เกิดความรวดเร็วและสะดวกสบายในการทำธุรกรรมมากขึ้น อีกทั้งยังประหยัดทรัพยากรอีกด้วย

ธนาคารได้ร่วมมือกับสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) กระทรวงการคลัง เปิดขายพันธบัตรออมทรัพย์พิเศษรุ่น “ยิ่งออมยิ่งได้” ผ่านวอลเล็ต สบม. บนแอปพลิเคชันเป๋าตัง ด้วยวงเงิน 10,000 ล้านบาท กำหนดเงินเริ่มลงทุนขั้นต่ำเพียง 100 บาท สูงสุดไม่เกิน 10 ล้านบาท รับผลตอบแทนสม่ำเสมอ รับดอกเบี้ยสูงสุดถึง 2.20% ต่อปี จ่ายดอกเบี้ยทุก 3 เดือน โดยมีประชาชนให้ความสนใจซื้อพันธบัตรจำนวน 11,874 ราย และสามารถขายหมดได้ในเวลา 2 ชั่วโมง 45 นาที สะท้อนถึงศักยภาพของระบบแอปพลิเคชันเป๋าตัง ที่สามารถรองรับการทำธุรกรรมได้จำนวนมากกว่า 50,000 รายการต่อวินาที คิดเป็น 3 ล้านรายการต่อนาที

ทั้งนี้ การขายพันธบัตรดังกล่าว ถือเป็นการขายผ่านวอลเล็ต สบม. บนแอปพลิเคชันเป๋าตัง ครั้งที่ 4 ซึ่งทั้ง 3 ครั้งที่ผ่านมา มีประชาชน 26,110 คน ให้ความสนใจซื้อพันธบัตร วงเงินรวมทั้งหมด 10,200 ล้านบาท โดยการขายพันธบัตรบนแอปพลิเคชันเป๋าตัง เป็นการเพิ่มความสะดวก ลดการใช้กระดาษ และลดความเหลื่อมล้ำให้กับการประชาชนทุกวัยให้สามารถเข้าถึงแหล่งการออมได้ด้วยความเท่าเทียม ด้วยแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือของตัวเอง ที่มีความปลอดภัย รวมถึงสามารถทราบถึงข้อมูลการซื้อขายได้แบบ Real – Time

PROTECTION / HEALTH ปกป้อง คุ้มครองชีวิตและสุขภาพให้คุณอุ่นใจ ด้วยบริการประกันชีวิตหลากหลายที่ใช่กับตัวคุณ

ขอแนะนำ: บี ทูเกตเทอร์ เลกาซี พลัส / บีทูเกตเทอร์ บีเลิฟด์ พลัส / บี ทูเกตเทอร์ แคร์ / บี ทูเกตเทอร์ เฮลธ์แอนด์เซฟ / บี ทูเกตเทอร์ เฮลธ์

SAVING ทางเลือกที่ตรงใจ มอบความคุ้มค่าให้คุณเสมอ เพื่อให้คุณวางแผนสร้างวินัยในการออมในรูปแบบประกันชีวิตเพื่ออนาคตและความมั่นคงในชีวิต

ขอแนะนำ: บี ทูเกตเทอร์ เซฟพลัส / บี ทูเกตเทอร์ เฮลธ์แอนด์เซฟ / เกนเฟิสต์ 

การใช้บริการธนาคารมี อะไร บาง
      
การใช้บริการธนาคารมี อะไร บาง
 

RETIREMENT คุ้มครองชีวิตพร้อมกับความมั่นใจว่ามีเงินใช้หลังเกษียณ  

ขอแนะนำ: บี ทูเกตเทอร์ สมาร์ท รีไทร์เมนท์

การใช้บริการธนาคารมี อะไร บาง
  

ขอแนะนำ ประกันชีวิตสะสมทรัพย์ บี ทูเกตเทอร์ แคร์

การใช้บริการธนาคารมี อะไร บาง

ดูแลอย่างอุ่นใจ ตอบโจทย์หลากหลายความต้องการ

  • คุ้มครองทั้งชีวิตและโรคร้ายแรงตลอดชีวิต (ถึงอายุ 99 ปี*)
  • ครอบคลุมโรคร้ายแรงระดับต้นถึงระดับปานกลาง 18 โรค/การรักษา และครอบคลุมโรคร้ายแรงระดับรุนแรง 44 โรค/การรักษา
  • เลือกระยะเวลาชำระค่าเบี้ยประกันแบบ 10 ปี หรือ 20 ปี เบี้ยประกันภัยคงที่ตลอดอายุสัญญา มีมูลค่าเวนคืนกรมธรรม์
  • เบี้ยประกันชีวิตสามารถนำไปหักลดหย่อนภาษี เงินได้ตามหลักเกณฑ์ที่กรมสรรพากรกำหนด**

*โรคร้ายแรงที่ไม่ได้คุ้มครองถึงอายุ 99 ปี มีดังนี้

  • โรคร้ายแรงสำหรับผู้เยาว์ คุ้มครองตั้งแต่อายุ 1 เดือน - 16 ปี ได้แก่โรคไข้รูมาติกที่ทำให้หัวใจผิดปกติ โรคคาวาซากิที่ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนของหัวใจ โรคเบาหวานชนิดที่ 1 โรคน้ำไขสันหลังคั่งในโพรงสมองซึ่งเกิดภายหลังและต้องใส่ท่อระบาย
  • โรคสมองเสื่อมชนิดอัลไซเมอร์ และโรคพาร์กินสัน คุ้มครองจนถึงก่อนอายุครบ 80 ปีบริบูรณ์
  • การสูญเสียการดำรงชีพอย่างอิสระ คุ้มครองจนถึงก่อนอายุครบ 80 ปีบริบูรณ์
  • การทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง
    • ไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองอย่างถาวรตั้งแต่ 3 อย่างขึ้นไป ต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 180 วัน (คุ้มครองจนถึงก่อนอายุครบ 80 ปีบริบูรณ์) หรือ
    • ไม่สามารถประกอบอาชีพใดๆ เพื่อรับค่าตอบแทนหรือกำไรได้ต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 180 วัน (คุ้มครองตั้งแต่อายุ 17 ปี จนถึงก่อนอายุครบ 70 ปีบริบูรณ์) หรือ
    • การสูญเสียสายตา มือ หรือเท้า ทั้ง 2 ข้าง หรือสูญเสียมือ 1 ข้างและเท้า 1 ข้าง หรือสูญเสียสายตา 1 ข้าง และมือ 1 ข้าง หรือสูญเสียสายตา 1 ข้าง และเท้า 1 ข้าง (คุ้มครองจนถึงก่อนอายุครบ 80 ปีบริบูรณ์)

ตัวอย่างเงื่อนไขการไม่คุ้มครอง

  • ความผิดปกติซึ่งแพทย์ยืนยันและมีหลักฐานชัดเจนว่าเกี่ยวข้องกับโรคร้ายแรงหรือโรคร้ายแรงที่เกิดขึ้นก่อนวันเริ่มมีผลคุ้มครองตามกรมธรรม์นี้ หรือก่อนวันที่ให้มีการต่ออายุกรมธรรม์ แล้วแต่วันใดจะเกิดขึ้นภายหลัง เว้นแต่ผู้เอาประกันภัยได้แถลงให้บริษัททราบและบริษัทยินยอมรับความเสี่ยงภัย โดยไม่มีเงื่อนไขยกเว้นความคุ้มครองดังกล่าว
  • การฆ่าตัวตาย หรือทำร้ายร่างกายตนเอง
  • การติดเชื้อเอชไอวีหรือโรคเอดส์

ซึ่งธนาคารจะแจ้งให้ท่านทราบรายละเอียดก่อนการสมัครทำประกัน

**เบี้ยประกันชีวิตสามารถใช้สิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 100,000 บาท ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 172) และเบี้ยประกันสุขภาพสามารถใช้สิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามที่จ่ายจริง โดยเบี้ยประกันสุขภาพที่จ่ายตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 63 สามารถใช้สิทธิลดหย่อนภาษีเพิ่มเป็นสูงสุดไม่เกิน 25,000 บาท โดยเมื่อรวมกับสิทธิลดหย่อนค่าเบี้ยประกันชีวิตแล้ว ต้องไม่เกิน 100,000 บาท ตามเงื่อนไขของกรมสรรพากร

หมายเหตุ : Be Together Care (บี ทูเกตเทอร์ แคร์) เป็นชื่อทางการตลาดของแบบ AIA CI SuperCare (เอไอเอ ซีไอ ซูเปอร์แคร์ (ไม่มีเงินปันผล))