การลำดับเหตุการณ์ ก่อน หลัง คือ

บริการ ติดโพย (PopThai) เป็นบริการเปิดพจนานุกรมอัตโนมัติ โดยผู้ใช้สามารถป้อนข้อความ ทีละประโยค หรือ เป็นหน้าเลยก็ได้ ไม่จำเป็นต้องทีละคำสองคำ ระบบจะทำการแนบความหมายของคำหรือวลีภาษาต่างประเทศ (ปัจจุบันสนับสนุน ภาษาอังกฤษ, ญี่ปุ่นและเยอรมัน) ติดกับเนื้อหานั้นๆ และจะแสดงผลความหมายเมื่อเอาเมาส์ไปวางเหนือคำหนึ่งๆ ช่วยให้สามารถเข้าใจเนื้อหาของเวบภาษาต่างประเทศได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

ความหมายของคำจะปรากฏขึ้นมาเมื่อท่านเอาเมาส์ไปวางบนคำหรือวลีที่มีอยู่ในพจนานุกรม โดยไม่จำเป็นต้องกดปุ่มใดๆ ดังตัวอย่างในรูปข้างล่างนี้

การลำดับเหตุการณ์ ก่อน หลัง คือ

คุณสมบัติ / Features

  • แสดงความหมายของคำโดยอัตโนมัติ เพียงวางเมาส์ไว้บนคำที่ต้องการทราบความหมาย
  • สนับสนุนเวบหลากภาษา (ปัจจุบัน ภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น และเยอรมัน)
  • ค้นหาความหมายจากพจนานุกรมหลายชุดพร้อมๆกัน ในฐานข้อมูลของ Longdo ได้แก่ Lexitron2, Hope, Nontri, Longdo อังกฤษ-ไทย, Longdo เยอรมัน-ไทย เป็นต้น
  • แสดงได้ทั้งความหมายของคำเดี่ยว และคำผสม ได้อย่างถูกต้อง เช่น Secretary of State=รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐฯ (ในภาพตัวอย่าง), High school=โรงเรียนมัธยมปลาย
  • แสดงความหมายของคำที่แปรรูปจากคำในพจนานุกรมได้ เช่น เมื่อวางเมาส์ไว้บนคำว่า executed/abusing ซึ่งไม่มีในพจนานุกรม เครื่องจะแสดงความหมายของคำว่า execute/abuse ให้โดยอัตโนมัติ
  • เรียกใช้งานได้ง่ายเพียงกดปุ่ม PopThai บน Longdo Toolbar เพื่อแนบความหมายหน้าจอที่เปิดชมอยู่ในขณะนั้น
  • แก้ไข Link ในหน้าที่แสดง เพื่อให้สามารถเปิดชม Link เหล่านั้นผ่านบริการ PopThai ได้ทันทีเช่นเดียวกัน
  • สนับสนุนบราวเซอร์ชั้นนำทั่วไป เช่น Internet Explorer, Firefox, Chrome, Safari, Konqueror, etc.
  • แสดง Link ให้ผู้ใช้ช่วยป้อนความหมายสำหรับคำที่ยังไม่มีอยู่ในพจนานุกรม
  • ใหม่: บริการ Vocabulary แสดงสรุปรายการคำศัพท์พร้อมความหมาย สำหรับพิมพ์ออกมาอ่านได้สะดวก วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Vocabulary แทน PopThai. (PopThai ในโหมดปกติ จะเหมาะกับการใช้งาน on-line หน้าจอคอมพิวเตอร็ ส่วนบริการ Vocabulary เหมาะสำหรับท่านที่ต้องการพิมพ์รายการคำศัพท์และความหมายออกมาบนกระดาษไว้อ่าน off-line)
  • ใหม่: บริการ Pronunciation Guide แสดงคำอ่านของคำใน เว็บ หรือ text ที่ป้อนให้ ข้างบนคำนั้นๆ, นอกเหนือไป จากการแสดง pop-up ความหมาย. วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Pronunciation. ขณะนี้ใช้ได้กับภาษาอังกฤษ (แสดงคำอ่านภาษาอังกฤษ) และภาษาญี่ปุ่น (แสดง hiragana เหนือคันจิ). บริการนี้ ใช้ extension ของ browser ที่ชื่อ Ruby ปัจจุบันมีแค่ IE browser ที่สนับสนุน ถ้าเป็น browser อื่นๆ จะเห็นคำอ่านปรากฎในวงเล็บแทน

วิธีใช้

ท่านสามารถป้อนเนื้อหาหรือ URL ของเว็บไซต์ที่ต้องการให้แนบความหมายนี้ ในช่องใส่ข้อความค้นหาปกติ

หลังจากนั้นเลือกบริการที่ต้องการ (เช่น ถ้าป้อนข้อความ ให้เลือก PopThai (text) ถ้าป้อน URL ให้เลือก PopThai (URL)) ถ้าท่านไม่เลือกบริการ ระบบจะเดาบริการที่ท่านต้องการ จากข้อความที่ท่านใส่เข้ามา (ว่าเป็นข้อความหรือเป็น URL) โดยอัตโนมัติ, จากนั้นกด Submit เป็นอันเสร็จ

ในกรณีที่ท่านใส่ URL ระบบจะไปทำการดาวน์โหลดเนื้อหาของหน้านั้นๆ มาและแนบความหมาย พร้อมแก้ไขลิงค์ต่างๆ ให้เป็นผ่านบริการ PopThai เ พื่อที่ว่าเมื่อท่านกดที่ลิงค์ใดๆ ต่อไปจากเพจนั้นๆ ก็จะมีการแนบความหมายมาให้ด้วยในทันที

เพื่อเพิ่มความสะดวกในการใช้ท่านสามารถใช้ PopThai ผ่าน Longdo Toolbar โดยเมื่อท่านเปิดดูเว็บไซต์ใดๆ อยู่ตามปกติ และต้องการใช้บริการ PopThai สำหรับ หน้านั้นๆ สามารถทำได้ทันที โดยคลิกที่ปุ่ม PopThai บน Toolbar รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดอ่านที่ Longdo Toolbar

คำเตือน ในกรณีของ URL นี้ ถึงแม้ทางผู้ดูแลระบบลองดูจะได้ทำการทดสอบกับหลายเว็บไซต์ แล้วก็ตาม ยังมีบางเว็บไซต์ที่ข้อมูลเวลาที่ระบบไปโหลดมาจะแตกต่างจากที่ท่านเปิดดูโดยใช้ browser โดยตรง โปรดระวังด้วย และไม่ควรใช้กับหน้าเว็บไซต์ที่ ต้องการความถูกต้องสูง)

การลำดับเหตุการณ์ ก่อน หลัง คือ

การเขียนโครงเรื่อง
โครงเรื่องเป็นการกำหนดแนวทางการเขียน การเรียบเรียงข้อมูล การจัดลำดับความคิด และการจัดลำดับหัวข้อ หลังจากที่ผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูล การเขียนโครงเรื่องจึงเป็นขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญในงานเขียน แต่ก็มิได้หมายความว่าผู้เขียนจะต้องเขียนตามโครงเรื่องที่วางไว้เสมอ เพราะเมื่อลงมือเขียนจริงอาจมีการปรับเปลี่ยนโครงได้ตามความเหมาะสม นอกจากนี้การเขียนโครงเรื่องยังช่วยให้ผู้เขียนไม่สับสนเวลาเขียน หรือเขียนหัวข้อใดข้อหนึ่งยาวเกินไป และอาจจะลืมเขียนบางหัวข้อ ดังนั้นการเขียนโครงเรื่องก่อนที่จะลงมือเขียนจะทำให้งานเขียนมีความสมบูรณ์มากที่สุด
ประโยชน์ของโครงเรื่อง
การเขียนโครงเรื่องมีประโยชน์ในการเขียนหลายประการ ดังนี้
1. โครงเรื่องช่วยในการนำเสนอเนื้อหา ทำให้ผู้เขียนเตรียมเนื้อหาได้อย่างเหมาะสมกับจุดมุ่งหมายในการเขียน รู้จักกำหนดขอบข่ายของเนื้อหา รวมทั้งช่วยให้เห็นแนวทางการเรียบเรียงความคิด ว่าควรจะใช้แบบใด และมีเนื้อหาในประเด็นหรือหัวข้อใดที่เรายังไม่รู้ดีพอหรือยังหารายละเอียดไม่ได้ เราก็สามารถเตรียมความรู้เหล่านี้เพิ่มเติมได้อีกจนเพียงพอ
2. โครงเรื่องช่วยแบ่งหัวข้อได้ชัดเจน การแบ่งหัวข้อใหญ่และหัวข้อย่อยอย่างชัดเจนทำให้ผู้เขียนสามารถจัดลำดับเพื่อเชื่อมโยงหัวข้อย่อยกับหัวข้อย่อย หัวข้อใหญ่กับหัวข้อย่อยได้ง่าย
3. โครงเรื่องช่วยเขียนเรื่องอย่างมีเหตุผล ทำให้ผู้เขียนมองเห็นความสัมพันธ์ของประเด็นต่างๆ ในเนื้อหาจากโครงเรื่องได้ชัดเจน ว่ามีประเด็นหรือหัวข้อใดเกี่ยวข้องกันบ้าง และความคิดของประเด็นต่างๆ เหล่านั้นเชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างไร จึงจะทำให้เนื้อหามีน้ำหนักและสมเหตุสมผล
4. โครงเรื่องช่วยในการวางสัดส่วนของเรื่องได้เหมาะสม โครงเรื่องช่วยให้ทราบว่าควรเขียนในประเด็นอะไรบ้าง มีประเด็นใดที่ไม่ควรเขียน หรือประเด็นใดควรนำความคิดหรือรายละเอียดมาสนับสนุนมากน้อยแค่ไหน จึงจะพอเหมาะกับความยาว ซึ่งจะช่วยให้สัดส่วนของเรื่องเหมาะสม
5. โครงเรื่องช่วยไม่ให้ลืมหัวข้อเรื่องที่จะเขียน ในขณะเขียนเราอาจจะจดจ่อกับเรื่องที่เขียนจนลืมเขียนหัวข้ออื่นๆ ได้ แต่การเขียนโครงเรื่องจะช่วยเตือนความจำให้เราไม่ลืมเขียนหัวข้อ
6. โครงเรื่องช่วยไม่ให้สับสนเวลาเขียน การเขียนโครงเรื่องก่อนลงมือเขียนเปรียบเสมือนการเขียนฉบับร่างของงานเขียน เมื่อลงมือเขียนจึงสามารถเขียนตามหัวข้อต่างๆ ที่ผู้เขียนได้วางโครงเรื่องไว้ทำให้ไม่เกิดความสับสนเวลาเขียน
รูปแบบของการเขียนโครงเรื่อง
1. โครงเรื่องแบบคร่าวๆ เป็นการเขียนโครงเรื่องอย่างคร่าว ๆ ด้วยคำหรือวลีอย่างหยาบ ๆ เพื่อวางแนวเรื่องที่สั้น ๆ เรียงลำดับลดหลั่นกันมา โดยอาจจัดเป็นหัวข้อใหญ่และมีหัวข้อย่อยก็ได้
ตัวอย่าง เรื่อง ภาวะโลกร้อน
- ความหมาย
- สาเหตุ
- ผลกระทบ
- สิ่งแวดล้อม
- เศรษฐกิจ
- สุขภาพ
- การแก้ปัญหา
- ลดการใช้พลังงาน
- ปลูกต้นไม้
- ลดใช้ถุงพลาสติก
2. โครงเรื่องแบบหัวข้อ โครงเรื่องแบบนี้เขียนด้วยคำวลีสั้น ๆ หรืออนุประโยคที่ไม่ได้ความครบถ้วนในตัวเอง และมีตัวเลขหรืออักษรย่อกำกับประเด็นทุกประเด็นที่สังเขปด้วยคำวลีหรืออนุประโยคนั้น ๆ
ตัวอย่าง เรื่อง ภาวะโลกร้อน
1. ความหมายภาวะโลกร้อน
2. สาเหตุภาวะโลกร้อน
3. ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
3.1 ด้านสิ่งแวดล้อม
3.2 ด้านเศรษฐกิจ
3.3 ด้านสุขภาพ
4. การแก้ปัญหา
4.1 ลดการใช้พลังงาน
4.2 ปลูกต้นไม้และรักษาป่าไม้
4.3 ลดการใช้ถุงพลาสติก
3. โครงเรื่องแบบประโยค โครงเรื่องแบบนี้เขียนด้วยข้อความซึ่งเป็นประโยคที่สมบูรณ์และชัดเจน มีเลขหรืออักษรย่อกำกับประโยคทุกประโยคที่เป็นประเด็นของเรื่องนั้น
ตัวอย่าง เรื่อง ภาวะโลกร้อน
1. ความหมายของภาวะโลกร้อน
2. สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
3. ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
3.1 ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
3.2 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
3.3 ผลกระทบด้านสุขภาพ
4. การแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน
4.1 อนุรักษ์พลังงาน
4.2 อนุรักษ์ป่าไม้
4.3 อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
แนวทางการเขียนโครงเรื่อง
1. การประมวลความคิด คือ รวบรวมข้อมูลเป็นหัวข้อต่างๆ
2. การจัดสรรความคิด คือ จัดหมวดหมู่ข้อมูลและจัดลำดับความสำคัญของแต่ละหัวข้อ
3. การจัดหมวดหมู่หรือแยกประเภทความคิด จัดลำดับของหัวข้อแต่ละหัวข้อให้มีเนื้อหาต่อเนื่องเป็นลำดับและสัมพันธ์กัน ผู้เขียนสามารถจัดลำดับเนื้อหาตามลำดับเวลา ตามประเพณีนิยม ตามความสำคัญน้อยไปสำคัญมากหรือสำคัญมากไปหาสำคัญน้อย เป็นต้น
4. การเขียนโครงเรื่อง เขียนโครงเรื่องให้เป็นระเบียบโดยใช้รูปแบบการเขียนแบบเดียวกันตลอดเนื้อหา และจัดหัวข้อย่อยแต่ละข้อเยื้องไปทางขวา

การลำดับเหตุการณ์ ก่อน หลัง คือ

          http://ajsurat.blogspot.com/2014/02/blog-post.html

การลำดับเหตุการณ์ ก่อน หลัง คือ

การลำดับเรื่อง คืออะไร

การพูดลำดับเหตุการณ์ของเรื่องราวที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นการทบทวนและสรุป เนื้อเรื่องโดยรวมทั้งหมดให้เข้าใจ การพูดที่ดีควรมีการเรียบเรียงตามเหตุการณ์ ช่วงเวลา สถานที่ จึงจะทำให้ผู้ฟังเกิดความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ไม่สับสน เช่น เรียง ตามอดีต ปัจจุบัน ไปอนาคต หรือ เรียงตามวัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยชรา หรือ เรียงจาก ...

การเรียงลำดับเหตุการณ์คืออะไร

ขั้นตอนการเรียงลำดับเหตุการณ์ ๑.อ่านจับใจความให้ทราบว่า “ใคร ทำอะไร ทำที่ไหน ทำอย่างไร ทำ เมื่อไร” ๒.เรียงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อน-หลังตามลำดับ เช่น - ตอนแรก ต่อมา ตอนจบ - ตามช่วงเวลา เช้า สาย บ่าย เย็น - ตามฤดูกาล ตามปฏิทิน ปีพ.ศ

การวางโครงเรื่องมีกี่ขั้นตอน

วิธีการเขียนโครงเรื่อง มีขั้นตอน ๑. รวบรวมความคิด ข้อมูลเป็นข้อๆ (ระดมความคิด) ๒. จัดหมวดหมู่ข้อมูลและจัดล าดับความส าคัญของแต่ละหัวข้อ ๓. จัดล าดับของหัวข้อแต่ละหัวข้อให้มีเนื้อหาต่อเนื่องเป็นล าดับและสัมพันธ์กัน ผู้เขียนสามารถจัดล าดับเนื้อหาตามล าดับ เวลา / ตามประเพณีนิยม / ตามความส าคัญน้อยไปสาคัญมากหรือส าคัญ ...

เค้าโครงเรื่อง มีอะไรบ้าง

โครงเรื่อง หรือพล็อต (Plot) เป็นเค้าโครงความคิด แผนผัง หรือโครงสร้าง ที่บอกแผนการว่างานชิ้นนั้นจะเล่าถึงอะไร เพื่ออะไร โดยวิธีการอย่างไร อาจเขียนออกมาใน ๑ หน้ากระดาษ มีส่วนประกอบคร่าวๆ ได้แก่ หัวเรื่อง จะเล่าเรื่องอะไร แนวคิด ทำไมจึงเล่าเรื่องนี้ ขอบเขตเนื้อหาจะกินคลุมถึงไหนอย่างไร เล่าเรื่องนี้เพื่ออะไร