แบบรายงานการดําเนินงานคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียน 2564

เพื่อรับรางวลั

ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ประจาปี ๒๕๖๔

ระดับภูมิภาคภาคกลาง ภาคตะวนั ออก
และภาคตะวนั ตก

โรงเรยี นเทพศิรนิ ทรค์ ลองสบิ สาม ปทมุ ธานี

สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาปทุมธานี
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้น เพ่ือรายงานผลการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน
เทพศรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี ประจำปี ๒๕๖๔ และเปน็ เอกสารประกอบการคัดเลือกสถานศกึ ษาเพ่ือเข้ารับ
รางวลั ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระดับภูมิภาคภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวนั ตก โดยมีรายละเอียด
ตามแบบรายงานการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (รน.๑) จำนวน ๒ หัวข้อ ดังน้ี ๑. ข้อมูลโรงเรยี น ๒. รายงานผลการบริหารจัดการและการ
ดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนอย่างต่อเน่ือง ๓ ปีการศึกษา ( ปี ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓ )
ครอบคลุมท้ัง 5 ขนั้ ตอน ได้แก่ การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล การคัดกรองนักเรียน การสง่ เสริมพัฒนานักเรียน
การป้องกันแก้ไขนักเรียน และการส่งต่อนักเรียน นอกจากน้ียังมีการใช้นวัตกรรม DSP GREAT SYSTEM ในการ
บริหารจัดการระบบดูแลการช่วยเหลอื นักเรยี น โรงเรียนคุณธรรม สถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข
กิจกรรมโฮมรูม การประชุมผู้ปกครอง การเยี่ยมบ้านครบ 100 เปอร์เซ็นต์ การใช้วินัยเชิงบวก การช่วยเหลือ
นักเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เป็นต้น และเอกสาร หลักฐานประกอบ/
ภาคผนวก โดยมเี อกสารและรายละเอยี ดประกอบการพิจารณาดังแนบ

ดังนั้น หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับนี้จะสามารถใช้ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการในการ
คัดเลอื กสถานศึกษาเพือ่ รับรางวัลระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน
โรงเรยี นเทพศริ ินทร์คลองสิบสาม ปทมุ ธานี

สารบญั หน้า

คำนำ ข
สารบญั 1
ขอ้ มลู สถานศกึ ษา
รายงานผลการดำเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นของสถานศึกษา รน.๑ ๑๓
ภาคผนวก ๑๔
๑๙
๑. การบรหิ ารจดั การระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนของโงเรยี น ๒๓
๒. การดำเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนและความปลอดภัยอย่างมปี ระสิทธิภาพ ๒๗
๓. การสสี ว่ นร่วมของภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งในการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น
๔. การสง่ เสริม สนบั สนนุ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ๓๐
๓๓
ส่งผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน และความปลอดภัยในโรงเรียน
๕. ความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน
แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาเพอ่ื รับรางวลั ระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น

รน.๑1

แบบรายงานการดำเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นของสถานศกึ ษา
โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

1. ขอ้ มูลโรงเรียน
ชือ่ โรงเรียนเทพศิรนิ ทร์คลองสบิ สาม ปทมุ ธานี สงั กัด สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาปทมุ ธานี
สถานทตี่ งั้ 37 หมู่ 4 ตำบลบึงคอไห อำเภอลำลกู กา จังหวดั ปทมุ ธานี
โทรศัพท์ 02-1901003 โทรสาร 02-190100๕ เปดิ สอนระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 6
จำนวนนกั เรียน 878 คน จำนวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 5๗ คน
ชือ่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา นายพษิ ณุ เดชใด โทรศัพท์มือถือ 085-6603771
2. รายงานผลการบริหารจัดการและดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนตั้งแต่วันท่ี 15 พฤษภาคม
พ.ศ.256๑ ถงึ วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 256๔ รวมระยะเวลาต่อเน่ือง ๓ ปี

๑. การบริหารจดั การระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นทีส่ ะท้อนการดำเนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๓ ปี
การศกึ ษา ใหเ้ หน็ ถึงแนวคดิ และวธิ กี ารทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและบรบิ ทของโรงเรยี น

๑.๑ นโยบายการดำเนนิ งานระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนและ ความปลอดภัยในโรงเรียน
๑.๑.๑ โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี ได้กำหนดวิสัยทัศน์ คือ “พัฒนาคุณภาพ

การศึกษา สู่โรงเรียนมาตรฐานสากล”และโรงเรียนมีวิสัยทัศนใ์ นการดูแลช่วยเหลือนักเรียน “ระบบดูแลช่วยเหลอื
นกั เรยี น DSP สรา้ งคนดีสู่สงั คมไทย ดแู ลดว้ ยรกั และห่วงใย ด้วยหัวใจเทพศริ ินทร์ฯ ปทุม” เพ่ือใช้ขับเคลื่อนระบบ
ดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นให้อย่างมีประสิทธิภาพในปี ปี 2561 - ๒๕๖๓

๑.๑.๒ มีแผนกลยุทธ์ในการขับเคลื่อนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์
พันธกิจเป้าประสงค์ซึ่งตามโครงสร้างได้มีการแบ่งงานเป็น ๔ กลุ่มงาน ได้แก่ กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหาร
แผนงาน งบประมาณและงานบุคคล กลุ่มบริหารทั่วไป และกลุ่มกิจการนักเรียน ซึ่งในกลุ่มกิจการนักเรียน
จะให้ความสำคัญในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนนอกจากนี้ยังมีการกำหนดวิสัยทัศน์ของงานระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน คือ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น DSP สร้างคนดีสูส่ ังคมไทย ดูแลด้วยรักและห่วงใย ด้วยหัวใจ
เทพศิรนิ ทร์ฯ ปทุม และสร้างโมเดลนวตั กรรมการบริหารจัดการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นท่ีเรยี กว่า DSP GRAET
SYSTEM

๑.๑.๓ โรงเรียนได้กำหนดแผนปฏิบัติการ โดยใช้วงจรคุณภาพเดมม่ิง (PDCA) มีโครงการ กิจกรรม
ที่เกี่ยวข้องกับระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นการพัฒนาสง่ เสริมทักษะชีวติ และการคุม้ ครองนักเรียนตามนโยบาย
ของโรงเรียนอย่างชัดเจน ได้แก่ กิจกรรมประชุมผู้ปกครองนักเรียน เกี่ยวกับระเบียบและข้อปฏิบัติของนักเรียน
โรงเรียนเทพศริ ินทร์คลองสบิ สาม ปทุมธานี และประชมุ ผู้ปกครองเครือข่าย โครงการปฐมนเิ ทศสำหรบั นักเรียนใหม่
และนกั เรยี นเกา่ โครงการอบรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม โครงการสถานศกึ ษาสีขาว โครงการ
ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการเยี่ยมบ้าน โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศของ
นักเรียน กิจกรรมการเลือกตั้งสภานักเรียนส่งเสรมิ ประชาธิปไตย กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน พี่ช่วยน้อง และระบบ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียนประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ กิจกรรมรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล และการคัดกรอง
กิจกรรมการเยี่ยมบ้านนักเรียน กิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิต กิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรตินักเรียน ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา กิจกรรมป้องกันและคุ้มครองนักเรียน กิจกรรมแข่งขันกีฬาภายใน และรณรงค์ป้องกันยาเสพติด
กิจกรรมติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครอง กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมประเมิน

2

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนทุกคน กิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน กิจกรรม
ภาษาอังกฤษสู่ชุมชน กิจกรรมสปั ดาหว์ ิทยาศาสตร์

๑.๑.๔ โรงเรียนมคี ำสงั่ แต่งตงั้ และมอบหมายหน้าที่ครูประจำช้นั ในแต่ละปกี ารศึกษา ระบุบทบาท
และหน้าที่ของครูประจำชั้นอย่างชัดเจน มีคำสั่งเยี่ยมบ้านนักเรียน คำสั่งประชุมผู้ปกครอง มีคำสั่งแต่งต้ัง
คณะทำงานเกี่ยวกบั ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน การส่งเสริมพัฒนาทักษะชีวิตและการคุ้มครองนักเรียนในแตล่ ะปี
การศึกษา แตง่ ต้ังครแู ละบุคลากรในตำแหน่งตา่ งๆ เพอ่ื ให้มกี ารขบั เคลอื่ นการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นด้วยการทำงาน
เป็นทีม มที ีมประสานและทีมทำใหส้ ามารถดำเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนได้อย่างมีปะสิทธภิ าพ

๑.๑.๕ โรงเรียนมคี ู่มือระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นใหค้ รูท่ปี รึกษาเพ่ือศกึ ษาแนวระเบยี บปฏิบัติของ
ระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นถูกนำมาใชอ้ ยา่ งเหมาะสม จัดทำคู่มอื นกั เรยี นเปน็ ปจั จุบันทกุ ปี เช่น ระเบียบว่าด้วยการ
ปฏิบตั ิตนของนกั เรยี นระเบยี บว่าด้วยเครอ่ื งแบบและการแต่งกายของนกั เรียนระเบียบ เป็นตน้

๑.๒ ข้อมลู สารสนเทศระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น และความปลอดภยั ในโรงเรยี น
๑.๒.๑ โรงเรยี นมีการวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาศกึ ษาบริบทของสถานศึกษาอย่างเป็นรปู ธรรมทั้งปัจจัย

ภายนอกและภายในโอกาสและอุปสรรค (SWOT) และการเก็บรวบรวมข้อมูลรอบด้าน เช่น แบบประเมินตนเอง
(SDQ) สำหรับครู ผู้ปกครอง และนักเรียน จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาส่วนใหญ่ ในช่วงก่อน ปี ๒๕๖๑ พบว่า
ปัญหา ดงั นี้

๑. สถิติการมาสายของนักเรยี น มี อัตรา เฉลยี่ ปลี ะ ๔๕.๖๖ คน
๒. สถิติการขาดเรียนของนกั เรยี น มี อัตรา เฉล่ียปีละ ๓๓.๖๖ คน
๓. สถติ ิการหนีเรียนของนกั เรยี น มี อัตรา เฉลย่ี ปีละ ๑๒ คน
๔. สถิติการออกกลางคันของนกั เรยี น มี อัตรา เฉลี่ยปีละ ๔ คน

แผนภมู ิแสดงจำนวนนักเรียนมาสาย ขาดเรยี น หนเี รียน ออกกลางคนั ระหวา่ งปี ๒๕๕๘ -๒๕๖๐

จากข้อมูลและสภาพปญั หา ซึง่ สาเหตุเกดิ จากสภาพครอบครัวยากจน ขาดความอบอุน่ ผูป้ กครองไปทำงาน
ทอ่ี ่ืน ครอบครวั แตกแยกหรืออาศัยอยู่กับผูป้ กครองทา่ นอนื่ ท่ไี ม่ใช่พ่อหรือแม่ บา้ นห่างไกลโรงเรยี น โรงเรียนจึงได้นำ
นวตั กรรม DSP GREAT SYSTEM มาขับเคลือ่ นระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนอย่างจริงจังเพ่อื แกป้ ัญหาขา้ งต้นท่ีกล่าว
มาทง้ั หมด

๑.๒.๒ โรงเรียนไดน้ ำนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานเรอ่ื งระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนมาขับเคลื่อนครบทั้ง ๕ ขั้นตอนเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนานักเรียนนอกจากนี้ยังได้ปฏิบัติตาม

3

จุดเน้นของสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี เช่น นโยบายโรงเรยี นคุณธรรม นโยบายปลอด ๐, ร,
มส. สถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมขุ และหอ้ งเรียนกฬี า เป็นต้น

๑.๒.๓ โรงเรียนมีแนวทางการดำเนินงานที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและบริบทของโรงเรียนโดย
การทำ SWOT เพ่อื ใหท้ ราบจุดแข็ง จุดอ่อน ปญั หา และโอกาสซง่ึ ใช้การมีสว่ นรว่ มระดมความคิดจากผู้บริหารคณะ
ครู นกั เรยี นและผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน ศิษยเ์ กา่ ตลอดจนผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสียทุกฝ่ายทำให้
ทราบถงึ แนวทางพัฒนาให้ดีขึ้นโดยใช้กระบวนการวงจรคุณภาพเดมมง่ิ (PDCA) เปน็ หลักในการในการทำงาน

๑.๓ ขอ้ มูลสารสนเทศของโรงเรียนทเี่ กี่ยวข้องกบั ระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน
โรงเรียนมกี ารรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนและนำข้อมลู

สารสนเทศมาใช้ในการปรับปรุงพฒั นาการจดั กิจกรรมเสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวติ ของนกั เรียนและการคุ้มครองนักเรยี น
มีการเกบ็ รวบรวมสารสนเทศด้านคำส่ังการปฏิบัตงิ าน บันทึกการประชุม สรปุ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน โครงการ
หรอื กิจกรรมท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน การส่งเสรมิ ทกั ษะชีวิตและการคุ้มครองนกั เรยี นดงั น้ี

1.3.1 มสี ารสนเทศดา้ นขอ้ มูลนกั เรยี นรายบุคคลทเี่ ปน็ ปัจจบุ นั และพรอ้ มนำไปใช้ ครูมกี ารเก็บ
รวบรวมข้อมูลนกั เรียนรายบคุ คลด้านความรูค้ วามสามารถ ดา้ นสขุ ภาพร่างกาย จติ ใจ พฤตกิ รรม ด้านครอบครวั
เศรษฐกจิ การคุม้ ครองนกั เรียน และด้านอ่ืน ๆ โดยใชร้ ะเบยี นสะสม แบบประเมินพฤตกิ รรมเดก็ SDQ แบบ
ประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบรายงานการเยยี่ มบ้านนักเรยี นและอ่นื ๆ เพ่อื การคัดกรอง จดั กลมุ่
นักเรยี นและเพ่ือหาแนวทางในการพฒั นาส่งเสรมิ ทักษะชวี ติ การป้องกันและชว่ ยเหลอื นกั เรยี นในลำดบั ต่อไป

1.3.2 มีสารสนเทศด้านการคัดกรองนกั เรียนอย่างเป็นระบบ (ปี ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓) มีเครื่องมือใน
การคัดกรองที่หลากหลาย มีการวิเคราะห์ข้อมูลจากระเบียนสะสม แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก คัดกรองนักเรียน
จากรายงานการเยี่ยมบ้านนักเรยี น ใชแ้ บบสรุปผลการคัดกรองและช่วยเหลือนกั เรยี นรายบุคคล และแบบสรุปผลการ
คดั กรองนักเรยี นเปน็ หอ้ งเรียน เพอื่ ใหไ้ ดข้ ้อมูลของนกั เรียนทแ่ี ทจ้ รงิ เปน็ ปัจจุบนั และพร้อมนำไปใช้ได้อยา่ งเหมาะสม

1.3.3 มีสารสนเทศผลการดำเนินงานที่แสดงให้เห็นว่านักเรียนทุกคนได้รับการดูแล ได้แก่ บันทึก
การประชมุ ผ้ปู กครองชนั้ เรยี น รายงานการประชุมผู้ปกครองเครือข่าย การบนั ทกึ การโฮมรมู บนั ทกึ การเขา้ เรียนราย
ชวั่ โมง รายงานผลการปฏิบัติงานตนเอง (SAR) บันทกึ พฤตกิ รรมและการสง่ ต่อ รายงานการเยีย่ มบา้ นนักเรียน บนั ทกึ
การจัดกลุ่มนักเรยี นและการช่วยเหลือนกั เรียน มกี ารสรปุ รายงานผลการพัฒนา ป้องกนั แกไ้ ขปัญหาและส่งต่อ เช่น
บันทึกการติดต่อประสานผู้ปกครอง การประสานงานกับหน่วยงานภายนอก บันทึกการพัฒนาคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ บันทึกการพบผู้ปกครอง เป็นต้น และนำสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการ
รายงานผลการเยย่ี มบ้านนักเรียนโดยใชร้ ะบบออนไลน์ ระบบไลน์ เฟซบคุ๊ เพจของโรงเรียน

๑.๓.๔ มกี ารสรุปข้อมลู พร้อมทั้งรายงานผลการพฒั นาป้องกนั แก้ไขปญั หาและส่งต่อตามระบบการ
ดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนโดยกำหนดใหร้ ายงานรายเดอื นรายภาคเรียนหรอื รายปีการศกึ ษาแลว้ แต่กรณี เชน่ ขอ้ มูลการ
ขาดเรยี นมาสายรายวนั ข้อมูลการอบรมนกั เรียน ข้อมลู การตัดคะแนนพฤติกรรม การเชิญผู้ปกครองมาพบ ขอ้ มูลผล
การเรยี น ข้อมลู สรปุ ผลโครงการระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นรายปีการศึกษา เป็นตน้

๑.๓.๕ จากข้อมูลสาระสนเทศที่กล่าวมาทั้งหมดโรงเรียนได้นำข้อมูลสถิติสารสนเทศมาใช้พัฒนา
ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น และมกี ารประชมุ สรุปผลการดำเนินงาน เม่อื สิน้ ปีการศึกษามกี ารประเมินผลความ
พงึ พอใจของผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี และนำผลการเหมอื นมาพัฒนาสร้างสรรค์กิจกรรมโครงการนวัตกรรมใหม่ ๆ อยเู่ สมอ
เช่น ปรับปรุงโครงสร้างบริหาร สร้างวิสัยทัศน์ของกลุ่มกิจการนักเรียนใหม่ เพิ่มโครงการกิจกรรมในแผนปฏิบัติการ

4

ประจำปีให้เหมาะสม คิดค้นนวัตกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน DSP GREAT SYSTEM เป็นต้น ส่งผลให้ระบบ
การดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนมีความเขม้ แขง็ อย่างต่อเนือ่ ง

1.4 ขอ้ มูลสารสนเทศเกี่ยวกับความปลอดภัยในโรงเรียน
๑.๔.๑ โรงเรียนมขี ้อมลู โครงการกิจกรรมพัฒนาให้นักเรียนรู้เท่าทนั อันตรายหรือความไม่ปลอดภัย

จากบุคคล อุบัติภัย และความเสี่ยงต่อชีวิต เช่น โครงการขับขี่ปลอดภัย โครงการป้องกันการจมน้ำ การอบรมเร่อื ง
เพศวถิ ศี ึกษา เป็นตน้

๑.๔.๒ มีรายงานการจัดกิจกรรมตามโครงการและรายงานสรุปการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อรายงาน
ผลการจัดกิจกรรมสำหรับนักเรียนทกุ คนได้รับการพัฒนาให้รู้เท่าทนั และป้องกนั ความไมป่ ลอดภัย โดยนักเรียนร้อย
ละ 100 ได้เข้าร่วมกิจกรรมให้รู้เท่าทันอันตรายและความไม่ปลอดภัยจากบุคคล อุบัติภัย และความเสี่ยงต่อชีวิต
และไดอ้ ยู่กับสภาพแวดล้อมทปี่ ลอดภยั ต่อการเรยี นรู้มีสาธารณูปโภคที่สะอาด ถูกสขุ ลกั ษณะ และมีพ้นื ที่ในการออก
กำลังกาย เสรมิ สร้างสมรรถนะทางรา่ งกายท่ีได้มาตรฐานปลอดภยั นกั เรยี นทุกคนเขา้ รว่ มโครงการโรงเรยี นคุณธรรม
นกั เรยี นกลุม่ เสย่ี งเข้าร่วมโครงการขับขป่ี ลอดภัยนักเรียนท่ีวา่ ยนำ้ ไม่เปน็ เข้ารว่ มอบรมการปอ้ งกนั การจมน้ำทกุ คน

๑.๔.๓ มีข้อมูลสารสนเทศของผู้เกี่ยวข้องที่อาจเสี่ยงต่อการเกิดความไม่ปลอดภัยต่อนักเรียน
โรงเรียนมีมาตรการรักษาความปลอดภัยที่เข้มแข็ง มีการบันทึกการเข้าออกของผู้มาติดต่อราชการ ในเวลาสถานที่
ราชการอย่างเคร่งครัด มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยในระบบการเข้าออกของโรงเรียน กำหนดให้เข้าออกทาง
เดียว และมีกลอ้ งวงจรปดิ มีการแสดงบตั ร และแลกบัตรเพ่ือเขา้ ออกทุกครงั้ ดงั น้ันจึงมกี ารบันทกึ ข้อมลู ผู้ที่เก่ียวข้อง
อยู่ตลอดอย่างต่อเนื่องเป็นการป้องกันได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้การขออนุญาตออกนอกโรงเรียนระหว่างเรียน
นกั เรยี นจะตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากผูป้ กครองเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรหรือไดร้ บั การติดต่อประสานจากผปู้ กครอง

2. การดำเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนและความปลอดภัยในโรงเรยี นอย่างมีประสิทธภิ าพ
๒.๑ มีวิธีการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นในโรงเรียน โดยมีคณะกรรมการอำนวยการ (ทีม
นำ) ประกอบด้วยผอู้ ำนวยการ และรองผอู้ านวยการ ทงั้ 4 ฝ่ายซ่ึงจะใหค้ ำปรกึ ษาและสนบั สนนุ ด้านงบประมาณที่ใช้
ในการดำเนินงาน นิเทศติดตามผลงานหรือร่วมกิจกรรมตามความเหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ คณะกรรมการ
ประสานงาน (ทมี ประสาน) ประกอบดว้ ย หวั หนา้ งานระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนของโรงเรียน หัวหนา้ ระดับช้ัน
เรียนทั้ง 6 ระดับ หัวหน้างานแนะแนว และหัวหน้ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ช่วยประสานงานให้คำแนะนำ ชี้แนะ
แนวทางการปฏิบัติงานและช่วยเหลือแก้ปัญหาต่าง ๆ
ให้กับครูที่ปรึกษาทุกท่าน คณะกรรมการปฏิบัติงาน (ทีม
ทำ) ซึ่งถือไดว้ ่ามีความสำคัญมากท่ีสดุ เพราะผลงานจะดไี ด้
ต้องอาศัยความรว่ มมือร่วมใจของคณะครทู ี่ปรึกษาทุกท่าน
ทที่ มุ่ เท กำลังกาย กำลังใจด้วยความรักและเมตตานักเรียน
ซึ่งครูที่ปรึกษาจะต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ในการสร้าง
ศรัทธาเพื่อให้เกิดความไว้วางใจพร้อมที่จะดูแลช่วยเหลือ
และให้คำปรึกษากับนักเรียนทุกคน โดยดำเนินงาน
สอดคล้องอย่างเป็นระบบ ๕ ขั้นตอนอย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล โดยดำเนินงานตามแผนภูมิภาพ ดังนี้
(๒.๑.๑ - ๒.๑.๗)

5

๒.๑.๘ นอกจากนยี้ ังมีการใช้นวัตกรรม DSP GREAT MODEL ซึ่งมาจากวสิ ยั ทัศนก์ ล่มุ บรหิ าร
กจิ การนกั เรียนเทพศิรนิ ทร์คลองสิบสาม ปทุมธานีนำมาปฏบิ ตั ิจนเกิดการยอมรบั ของทุกฝ่ายในโรงเรียนและร่วมมือ
กันขับเคล่อื นกลายเปน็ ระบบทเ่ี ขม้ แข็ง

๒.๒ การดำเนินการเสริมสรา้ งทักษะชวี ติ อยา่ งเปน็ รูปธรรม
๒.๒.๑ โรงเรียนเทพศริ ินทร์คลองสบิ สาม ปทุมธานีดำเนินการเสริมสร้างทักษะชีวิตของนกั เรยี นโดย

การบูรณาการการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้งแปดกลุ่มสาระให้มีสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ คุณลักษณะพึง
ประสงค์ ๘ ประการ และมีคุณลักษณะที่พิเศษที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะโรงเรียนในเครือเทพศิรินทร์ทั้ง ๑๐ แห่งท่ัว
ประเทศ กำหนดเป็นคุณลักษณะของนักเรียนเทพศิรินทร์ทุกแห่ง ที่ต้องเสริมสร้างให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนซึ่งก็คือ
“วิสัยทัศน์ไกล ใจกวา้ ง รา่ งสมาร์ท มารยาทงาม”

๒.๒.๒ - ๒.๒.๓ นอกจากน้ีโรงเรียนจะนำนโยบายหรือโครงการของสพฐ. ที่สำคัญอีกหลายๆ เรื่อง
มาบูรณาการปฏิบตั ิ ไปพร้อมๆ กบั การขับเคล่ือนระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นคอื “โรงเรยี นคณุ ธรรม” “สถานศึกษา
สขี าวปลอดยาเสพติดและอบายมุข”แล้ว โรงเรียนยังได้จดั ทำโครงการสง่ เสรมิ สมรรถนะทางอาชีพเพื่อให้นักเรียนได้
มที กั ษะชวี ติ เกิดประโยชน์สูงสุดตอ่ นกั เรียนทุกกลมุ่ เพ่อื ช่วยลดปัญหาพฤตกิ รรมนกั เรยี นทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์

๒.๒.๔ รวมทงั้ การจดั กิจกรรมเชิงบวกในการจดั การชน้ั เรยี นในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคโควดิ เพ่ือสรา้ งแรงจูงใจในการเรยี นออนไลนข์ องนกั เรียน คือ โครงการ “ห้องเรยี นยุคใหม่ เรียนไดท้ ุกที เด็กดี
ท.ศ.ป.”และกิจกรรม “ครูจดั สง่ ให้ หากออนไลน์ มปี ญั หา” สำหรบั นกั เรยี นทไี่ ม่พร้อมเรยี นออนไลน์อกี ด้วย

2.3 การดำเนินงานความปลอดภยั ในโรงเรยี นอย่างเป็นระบบ
๒.3.1 มีการวิเคราะห์สถานการณ์ที่อาจเกิดความไม่ปลอดภัยต่อนักเรียนมีการสำรวจอาคาร

สถานที่อุปกรณ์ต่างๆ อยู่เสมอให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยได้แก่การปรับปรุงภูมิทัศน์ของโรงเรียนและพัฒนา
สิ่งแวดล้อมภายในโรงเรยี นให้มคี วามสะอาดสวยงามเหมาะแกก่ ารเรียนรู้ ปรบั ปรงุ พน้ื ที่ และตดิ กลอ้ งวงจรปดิ ตามมุม
อับเพ่อื เป็นการป้องกันพฤตกิ รรมอันนีป้ ระสงคข์ องนกั เรียนและปอ้ งกนั ภัยอนั ตราย

2.3.2 มีวธิ ีการที่เสรมิ สร้างความปลอดภัยให้แก่นักเรียน เชน่ โรงเรยี นมกี ารกำหนดยุทธศาสตร์ใน
การดำเนินงานโครงการสถานศึกษาปลอดภัยและโครงการสวัสดิภาพและความปลอดภัย นักเรียนไว้ในแผนปฏิบัติ
การประจำปี มกี ารจัดกจิ กรรมเพื่อเป็นการปอ้ งกนั และเสริมสร้างความปลอดภยั ไดแ้ ก่ ได้จดั มาตรการดูแลนักเรียน
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด - 19 กิจกรรมรณรงค์สวมนริ ภัย 100 เปอร์เซ็นต์ กจิ กรรมงดสูบบุหร่ี
โลก กจิ กรรมปอ้ งกนั ปญั หาโรคเอดส์ เป็นต้น

๒.3.3 มีวิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่ปลอดภัยในโรงเรียนโรงเรียนมีระบบการดูแล
นักเรียนขณะอยู่ในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ เช่น การจัดระบบรถรับส่งให้มีความปลอดภัย การจัดระบบเข้าออก
สถานศกึ ษาของนกั เรียนการปรับปรงุ วัสดปุ กรณท์ ี่ชำรดุ ซึ่งอาจเปน็ อันตรายต่อนกั เรยี นได้ เปน็ ต้น

6

๒.3.4 มีวิธีการรู้จักนักเรียนที่มีแนวโน้มอาจเผชิญต่อความไม่ปลอดภัยในโรงเรียน โดยใช้วิธีการ
สำรวจนกั เรียนกลุม่ เสี่ยงที่อาจเผชิญตอ่ ความไม่ปลอดภัย เชน่ สำรวจการสวมหมวกนิรภัยของนกั เรียน การสุ่มตรวจ
กระเปา๋ ของนกั เรียนทีอ่ ยใู่ นกลุ่มเส่ียง เป็นตน้

2.4 การดำเนนิ การคมุ้ ครองนกั เรยี นอย่างเป็นรูปธรรม
๒.4.1 มกี ารติดตามเฝ้าระวงั และคมุ้ ครองนกั เรียนอย่างต่อเนือ่ งโรงเรียนเทพศริ ินทร์คลองสิบสาม

ปทุมธานี ติดตามเฝา้ ระวังและค้มุ ครองนักเรียนอย่างต่อเน่ืองตง้ั แต่เมื่อรับนักเรยี นใหมเ่ ข้ามามอบตวั ไดแ้ ก่การบันทกึ
ข้อมลู ประวัตนิ กั เรียนในระเบียนสะสมการเย่ียมบา้ นนกั เรยี น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ การประชุมผปู้ กครอง การทำ MOU
ความร่วมมอื ในการดูแลนักเรยี นระหว่างผู้ปกครองกับครูที่ปรึกษา นอกจากนี้ยังติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมนักเรียน
โดยคุณครูท่ีปรึกษาทกุ คนจะมกี ารติดต่อผา่ นทางไลน์กลุ่มผู้ปกครอง หากพบว่านักเรียนมีพฤตกิ รรมท่ีไม่พึงประสงค์
ครูทีป่ รกึ ษาจะรีบดำเนินการแจ้งผู้ปกครองเพอ่ื หาวธิ ีป้องกันแก้ไขร่วมกนั

๒.4.2 มีกิจกรรมโครงการที่คุ้มครองนักเรียนในโรงเรียนโรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม
ปทุมธานี มีกิจกรรมและโครงการที่คุ้มครองนกั เรียนในโรงเรียน ได้แก่ โครงการสถานศึกษาปลอดภัยที่ช่วยปอ้ งกนั
อบุ ตั ิเหตแุ ละอบุ ัติภัยต่างๆรวมถึงปญั หาทางสังคมที่อาจเกิดขนึ้ ภายในโรงเรียนโครงการโรงเรียนคุณธรรมที่พัฒนาให้
นกั เรยี นได้ร่วมกนั แก้ไขปญั หาพฤติกรรมท่ไี มพ่ งึ ประสงคใ์ นหอ้ งเรยี น โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและ
อบายมุขกิจกรรมในการคุ้มครองนักเรียน เช่น กิจกรรมตู้แดงเสมารักษ์ที่เปิดโอกาสให้นักเรียนพลเมืองดีได้แจ้ง
เบาะแสหรือพฤติกรรมของนกั เรยี นที่ไม่พึงประสงคก์ ิจกรรมคลินิกเสมารักษท์ ่ีคอยให้คำปรึกษานักเรยี นทม่ี ีพฤติกรรม
ทไี่ มพ่ งึ ประสงค์หรือมปี ญั หาอนื่ ๆ เป็นต้น และยงั มกี ารจัดกจิ กรรมเพือ่ ลดความเสีย่ งใหก้ ับนกั เรียน เช่น การตั้งครรภ์
ท่ีไม่พร้อม การปอ้ งกันยาเสพตดิ การป้องกนั อุบตั เิ หตทุ งั้ ในและนอกโรงเรียน การฝึกทักษะป้องกันการจมนำ้ และการ
ป้องกนั ภยั พิบัติ การใหค้ วามรวู้ ิธีการป้องกันตนเองจากเชื้อไวรัสโคโรนา เป็นตน้

๒.4.3 นักเรยี นทกุ คนไดร้ ับการคมุ้ ครองดว้ ยรูปแบบวิธกี ารที่เหมาะสมโรงเรียนได้นำเทคโนโลยีเข้า
มาช่วยบริหารจัดการโดยกำหนดให้มีบัตรประจำตัวนักเรียนซึ่งสามารถตรวจสอบการมาเรียนของนักเรียนและ
รายงานผลให้ผู้ปกครองรับทราบได้ทันทีซึ่งเป็นหนึ่งในวิธีการป้องกันปัญหานักเรียนไม่เ ข้าเรียนของนักเรียน
นอกจากนยี้ งั สามารถบนั ทึกคะแนนพฤติกรรมของนักเรยี นซงึ่ โรงเรียนได้ใชร้ ะบบการตดั คะแนนความประพฤติ เม่ือ
นักเรียนกระทำพฤตกิ รรมทไี่ ม่พึงประสงค์ โดยจะหักคะแนนครง้ั ละ ๕ คะแนน เมอื่ ครบ 20 คะแนนโรงเรยี นจะแจ้ง
ผปู้ กครองใหม้ าพบและหาทางแก้ไขปัญหาร่วมกนั เป็นการชว่ ยเหลือนักเรียนใหป้ รบั พฤติกรรมก่อนทจี่ ะสายเกนิ ไป

3. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและส่งเสริม
ความปลอดภยั ของโรงเรยี น

3.1 มีข้อมลู ภาคเี ครอื ขา่ ยและวิธกี ารสรา้ งเครือข่ายอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
3.1.1 มีภาคีเครือข่ายผู้ปกครองชุมชนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และเขตพื้นที่การศึกษาซ่ึง

เป็นจุดแข็งของโรงเรียน โรงเรียนมีภาคีเครือข่ายเป็นจำนวนมาก ได้แก่ สมาคมครูและผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน องคก์ ร หน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนในชุมชนใกล้โรงเรียนได้มีสว่ นช่วยเหลือในกิจกรรม
ต่าง ๆ เช่น สถานีตำรวจภูธรคลองสิบสอง โรงพยาบาลลำลูกกา องค์การบริหารส่วนตำบลบึงคอไห โรงพยาบาล
ส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลบงึ คอไห วดั นเิ ทศน์ราษฎร์ประดิษฐ์ วดั โสภนาราม มัสยดิ ประชาสัมพนั ธ์ มสั ยิดอัลฮูดา บริษัท
เซฟเป้ จำกดั (มหาชน) บรษิ ัท นโี อ แฟคเทอรี่ จำกดั บรษิ ทั ซนั ดวิ (ประเทศไทย) จำกัด โรงเรยี นในเครือเทพศิรินทร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิทยาลัยเทคนิคธัญบุรี มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
เป็นต้น

7

๓.๑.๒ มสี ารสนเทศเครอื ข่ายผูป้ กครอง ชมุ ชน ภาครัฐ ภาคเอกชนที่เกย่ี วขอ้ งในการดูแลได้มีการ
จัดประชุมผปู้ กครองเพือ่ สรา้ งความสมั พันธ์ที่ดรี ะหวา่ งโรงเรยี น ครแู ละผูป้ กครอง ผปู้ กครองกบั ผู้ปกครอง และมีการ
แตง่ ต้ังคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองระดับโรงเรยี น จำนวน 6 คน ระดับชั้นเรยี น ระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น
จำนวน 1๖ คน ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 1๗ คน เพื่อช่วยประสานงานดูแลช่วยเหลอื นักเรียนและ
ส่งเสริมกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนที่จัดให้กับนักเรียน โดยผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมกิจกรรม
ต่าง ๆ อยา่ งสม่ำเสมอ เช่น การใหท้ ุนการศกึ ษา การมอบเงนิ และของรางวลั ในการจัดกจิ กรรมปีใหม่ กจิ กรรมวันเด็ก
และกิจกรรมกีฬาสมั พนั ธ์ เป็นต้น อกี ท้งั ยังชว่ ยดูแลดา้ นความประพฤติ ดา้ นการคมุ้ ครองความปลอดภัยของนักเรียน
เมื่อนักเรียนอยู่นอกสถานศึกษา และอื่น ๆ นอกจากนี้ยังได้รับความร่วมมือจากสมาคมครูและผู้ปกครอง
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน องค์กร หน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนในชุมชนใกล้โรงเรียนได้มีส่วน
ช่วยเหลือในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น สถานีตำรวจภูธรคลองสบิ สอง โรงพยาบาลลำลกู กา องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบงึ คอ
ไห โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบงึ คอไห วัดนเิ ทศน์ราษฎรป์ ระดษิ ฐ์ วัดโสภนาราม มัสยิดประชาสัมพันธ์ มัสยิด
อลั ฮดู า บรษิ ทั เซฟเป้ จำกดั (มหาชน) บรษิ ัท นีโอ แฟคเทอรี่ จำกดั บริษัทซันดวิ (ประเทศไทย) จำกดั เปน็ ตน้ สง่ ผล
ใหน้ กั เรียนมีขวญั และกำลังใจในการปฏิบตั ิกจิ กรรมดียง่ิ ข้นึ

3.1.3 โรงเรยี นมวี ธิ กี ารสร้างและการทำงานร่วมกับเครือข่ายทสี่ นับสนนุ ระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนอย่างหลากหลาย เช่น การลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) การออกชุมชนสัมพันธ์ในงานต่างๆการระดม
ทรัพยากรการขอรับบริจาคการบรกิ ารสังคมการประชุมอบรมสมั มนาแลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ ารจัดต้งั คณะกรรมการการ
จัดชมรมการสนบั สนนุ ทางวิชาการการสนบั สนนุ บคุ ลากรเป็นต้น

3.1.4 ภาคเี ครอื ข่ายให้การสนับสนนุ ระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนอยา่ งต่อเน่อื งอาทิ
- การทำบันทกึ ขอ้ ตกลงทางวชิ าการกับเครือขา่ ยโรงเรยี นในเครือเทพศิรนิ ทรท์ ุกปี
- การทำบันทกึ ข้อตกลงระหวา่ งโรงเรียนกบั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- การทำบันทึกข้อตกลงระหว่างโรงเรยี นกบั วทิ ยาลยั เทคนิคธัญบุรี
- การไดร้ บั การสนบั สนุนงบประมาณจากองคก์ รบรหิ ารสว่ นจังหวดั ปทมุ ธานีต่อเน่ืองทกุ ปี
- การไดร้ บั บริจาคสอื่ วสั ดุอุปกรณ์จากหา้ งร้าน บริษัท ในพน้ื ทีอ่ ำเภอลำลกู กาตอ่ เน่อื งทกุ ปี
3.2 การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมสนับสนุนป้องกันช่วยเหลือและวิธีการสร้างเครือข่าย
อย่างมีประสิทธภิ าพ
3.2.1 ภาคเี ครอื ขา่ ยมีส่วนรว่ มประชุมในการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนภายใตบ้ ทบาทหนา้ ทที่ ีไ่ ดร้ บั
ของแต่ละบคุ คลหรอื หน่วยงานเช่นการเข้าร่วมการทำ SWOT ของโรงเรียนของผู้มีส่วนร่วมได้ส่วนเสีย (ครูนักเรียน
ผปู้ กครองชุมชน) รว่ มเสนอแนะให้คำปรกึ ษาเห็นชอบในรปู ของคณะกรรมการสถานศึกษาการประชุมผู้ปกครองภาค
เรียนละ 1 ครง้ั เพื่อให้ข้อมูลบตุ รหลานกบั คุณครูและหาแนวทางสง่ เสริมสนับสนุนร่วมกันทั้งสองฝ่าย
3.2.1 - 3.2.4 ภาคีเครือขา่ ยมสี ่วนร่วมประชุมวางแผนสง่ เสริมสนบั สนุนดำเนนิ งานประเมนิ ช่ืนชม
ให้ขวัญกำลงั ใจการดำเนินงานการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นอยา่ งครบถ้วนทกุ ข้ันตอน เชน่
- คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานของโรงเรยี น ได้แก่ 1) ประชมุ วางแผนวิเคราะห์ SWOT
ร่วมจัดทำแผนปฏบิ ัติการประจำปีกับผูบ้ ริหารและคณะครูทุกครั้ง 2) สนับสนุนสง่ เสริมโครงการกิจกรรมของระบบ
การดูแลช่วยเหลือนักเรียนเช่นบริจาคทุนทรัพย์ 3) ลงมือปฏิบัติเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนอยู่เสมอ 4) มอบ
เกยี รติบัตรให้นักเรียนดีประพฤติดีพรอ้ มช่ืนชมให้กำลงั ใจครูและนกั เรียนตามโอกาสตา่ ง ๆ

8

- ผปู้ กครองนักเรยี นเปน็ เครือข่ายทมี่ ีความสำคัญทกุ ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ 1) ประชุมผปู้ กครองภาคเรียน
ละ 1 คร้งั 2) ส่งเสริมสนบั สนุนให้การเลี้ยงดูและให้ความร่วมมือกบั ทางโรงเรยี นรวมถงึ บริจาคเงนิ 3) ลงนามบันทึก
ขอ้ ตกลงรว่ มกบั ครทู ีป่ รกึ ษาในการกำกบั ดแู ลติดตามช่วยเหลือนกั เรยี นและใชไ้ ลนใ์ นการพดู คยุ ส่อื สารตลอดปี

3.3 การมีส่วนรว่ มของภาคเี ครือขา่ ยในการส่งเสริมความปลอดภยั ในโรงเรยี น
3.3.1 - 3.3.4 ภาคเี ครือขา่ ยมีส่วนร่วมประชมุ วางแผนสง่ เสริมสนบั สนนุ ชืน่ ชม ใหข้ วัญกำลงั ใจ

การดำเนินงานความปลอดภัยในโรงเรียนจากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าโรงเรียนมีจุดแขง็ ในเรื่องการมีส่วนรว่ ม
ของภาคีเครือข่ายเป็นอย่างยง่ิ จึงทำใหโ้ รงเรยี นมีพัฒนาการขึน้ จากการทำงานรว่ มกนั ของทุกฝ่ายซง่ึ ในส่วนของความ
ปลอดภัยโรงเรียนได้ดำเนนิ การครบทกุ ข้นั ตอนตวั อยา่ ง เช่น

- ชมรมผู้ประกอบการรถรบั -สง่ มกี ารประชมุ ปลี ะครง้ั เพือ่ วางแผนสร้างความปลอดภัยสงู สดุ ให้กับ
นักเรียนในการรบั -สง่ นักเรยี น ซ่งึ ผู้ประกอบการและครทู รี่ บั ผดิ ชอบลงมอื ทำงานรว่ มกันโดยผ้ปู ระกอบการจะตอ้ งขอ
อนุญาตกรมขนส่งให้ถูกต้องโดยมีโรงเรียนเป็นผู้ประสานงานให้และโรงเรียนยังจัดให้มีครูเวรปฏิบัติหน้าที่อำนวย
ความสะดวกเร่ืองจราจรทุกเชา้ -เย็น คอยช่วยเหลือเรอ่ื งความปลอดภยั กับผ้ปู ระกอบการรถรับสง่ นอกจากนใี้ นการให้
ขวญั กำลังใจการดำเนินงานความปลอดภยั โรงเรียนได้จัดให้มีการมอบอาหารหรอื เครอื งดื่มให้นักเรียนเม่ือมีกิจกรรม
เช่น กิจกรรมกีฬาสีภายใน โดยผูป้ ระกอบการรถรับส่งเปน็ ผู้มอบให้

๔. การส่งเสริม สนบั สนุน นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดำเนินงาน สง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพการดูแล
ช่วยเหลอื นกั เรยี น และความปลอดภยั ในโรงเรียน

4.1 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความตระหนักความรู้ความเข้าใจระบบการดูแลช่วย
นักเรยี นการเสริมสรา้ งทักษะชีวิตการเสรมิ สร้างความปลอดภยั และการค้มุ ครองนักเรยี น

4.1.1 ครโู รงเรียนเทพศริ ินทร์คลองสบิ สาม ปทุมธานี ทุกคนได้รบั การพฒั นาใหม้ คี วามร้คู วาม
เข้าใจเรื่องระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนการเสริมสร้างทักษะชีวิตและการคุ้มครองนักเรียนด้วยวิธีการที่
หลากหลายอย่างต่อเนื่องโดยการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารเรื่องระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนอบรมโรงเรียนคุณธรรม
อบรมการใชส้ อื่ และเทคโนโลยกี ารเรียนการสอนการศึกษาดงู านโรงเรียนมีความเขม้ แข็งเรื่องระบบการดูแลช่วยเหลือ
นกั เรยี นการอบรมโครงการแลกเปลีย่ นเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต้านทุจริตศึกษาการอบรมป้องกันยา
เสพตดิ การอบรมยกระดับผลสัมฤทธิ์และการแกไ้ ขปญั หาตดิ 0 เปน็ ต้น

4.1.2 ครทู ุกคนมีความเขา้ ใจในการทำงานตามระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนและทำหน้าที่ครทู ่ี
ปรึกษาอย่างชดั เจนดว้ ยวิธีการที่หลากหลายภายหลังจากการได้รับการอบรมใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจและการศึกษาดู
งานโรงเรยี นได้กำหนดบทบาทหนา้ ที่ครูท่ีปรึกษาอย่างชดั เจนโดยมอบหมายให้แตล่ ะห้องเรียนมีครูท่ีปรึกษา 2 คน
ปฏิบัติหน้าท่ีดงั น้ี ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน กำกับดูแลพฤติกรรมนักเรียน ดูแลการลงเขตพื้นที่ ควบคุมแถว
หน้าเสาธง โฮมรูม รับฝากเงินเพื่อออม ส่งเสริมความสามารถตามความถนดั ของนักเรียน ติดตามผลการเรียนสร้าง
แรงบันดาลใจติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองสม่ำเสมอเพือ่ รายงานพัฒนาการของนักเรียนและส่งตอ่ นักเรียนกลุม่ เสี่ยง
หรอื มปี ญั หาเพอื่ แก้ไขพฤตกิ รรมนกั เรยี น

4.1.3 โรงเรยี นจดั ใหม้ กี ารพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาอยา่ งต่อเนือ่ งโดยจัดโครงการ /
กจิ กรรมพฒั นาครตู ามตัวช้วี ดั ที่ 4.1.1 และ 4.1.2 เปน็ ประจำต่อเนือ่ งทุกปี เพ่ือใหค้ รูเข้าใจกระบวนการเสริมสร้าง
ทักษะชีวิตเพื่อใช้แก้ปัญหาของนักเรยี น เช่น การอบรมหน้าที่ครูที่ปรกึ ษา การอบรมคัดกรองนักเรียนยากจน การ
อบรมพฒั นาความกา้ วหนา้ ทางวิชาชพี เป็นตน้

4.1.4 ครูทุกคนได้รบั การพฒั นาให้มคี วามรู้ความสามารถเพยี งพอในการจัดโครงการ / กจิ กรรม

9

การเรียนรู้กจิ กรรมเพือ่ เสริมทักษะชวี ิตใหก้ ับผู้เรียนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ เชน่ การอบรมผ้กู ำกับลูกเสอื และผู้กำกับ
นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร การอบรมโครงการคุณธรรมการ การนำพืชผลผลิตจากสวนเกษตรมาแปรรูป จัดต้งั ตลาดจำลอง
เพื่อใหน้ ักเรียนสามารถฝกึ ทักษะอาชพี สร้างรายได้ระหว่างเรียน เป็นต้น

4.1.5 ครทู ุกคนมสี ่วนรว่ มในการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นจดั กจิ กรรม / โครงการคมุ้ ครองนักเรียน
และดูแลความปลอดภัยในโรงเรียน เชน่ การเยย่ี มบ้านนกั เรยี น การปฏิบตั ิหน้าทคี่ รผู ูร้ ับผิดชอบอาคารเรียนและเขต
พ้ืนท่ี การแจง้ ซ่อมอุปกรณ์ท่เี กดิ ความเสียหายที่จะเป็นอนั ตรายต่อนักเรียนการสง่ เสริมการทำประกันอุบัติเหตุ เป็น
ตน้

4.2 การนิเทศ ติดตาม ส่งเสริมสนับสนุนและให้ขวัญกำลังใจแก่ครู และบุคลากรทางการศึกษาในการ
ดำเนินงานการดูแลช่วยเหลือนักเรียนการเสริมสร้างทักษะชีวิตการเสริมสร้างความปลอดภัยและการคุ้มครอง
นักเรยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

4.2.1 มกี ารนิเทศกำกบั ติดตามการดำเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นภายในสถานศึกษา
โดยมคี ำสง่ั แต่งตั้งกรรมการดำเนนิ งาน จดั ทำปฏิทินการนเิ ทศ ประกาศโรงเรยี น จัดทำบนั ทึกข้อความที่เป็นรูปธรรม
โดยผู้อำนวยการเป็นผู้กำกับติดตามจากรายงาน SAR ของครูที่ปรึกษาให้คำแนะนำช่วยเหลือสนับสนุนร่วมกับ
คณะกรรมการฝ่ายบริหารที่ได้รับการแต่งตั้ง เช่น การประชุมหัวหน้าระดับ 2 สัปดาห์ / ครั้งเพื่อติดตามการ
ดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงานเป็นระยะทั้งระดับชั้นระดับโรงเรียนและติดตามการส่งงานโดยตรวจสอบ
ร่องรอยการทำงานของคณะครูจากสมุดบันทึกสถิตนิ กั เรียน สมดุ บนั ทึกดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น สรุปข้อมูลเยี่ยมบ้าน
สรุปขอ้ มูลสารสนเทศของหอ้ งเรียน สมดุ บันทกึ โฮมรูม แบบรายงานการแกป้ ญั หาของนกั เรียนแบบบันทึกพฤติกรรม
นักเรียนแบบประเมินพฤติกรรม SDQ รายงานโครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจำปเี ป็นตน้ ซึง่ ครูจะต้องสง่ รายงาน
สมำ่ เสมอเปน็ รายวันรายสัปดาหร์ ายเดือนรายภาคเรยี นรายปีข้นึ อยกู่ ับลักษณะของข้อมลู

4.2.2 มีการนเิ ทศกำกับติดตามการดำเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลือจากคณะกรรมการติดตาม
ประเมินผลและนิเทศการจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานีและให้คำปรึกษา
แนะนำระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนอย่างสม่ำเสมอ

4.2.3 มีรปู แบบและกระบวนการนิเทศท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษาโรงเรยี นใชร้ ูปแบบ
การนิเทศอย่างกัลยาณมิตรทั้งแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการมีปฏิทินการนิเทศใช้การสังเกตสัมภาษณ์การ
ประชมุ ครูท่ปี รกึ ษาการทำแบบประเมิน เปน็ ตน้

4.2.4 ผูร้ บั การนิเทศมคี วามพงึ พอใจและนำผลการนเิ ทศไปพัฒนางานอย่างตอ่ เนื่อง ครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษานำผลการนิเทศเก่ียวกบั ขอ้ มูลของนกั เรียนท้ังผลการเรียนและพฤติกรรมมาวเิ คราะห์สาเหตุทั้ง
ปจั จัยภายในและภายนอกเพอ่ื หาวธิ ีการทเ่ี หมาะสมในการพฒั นาหรือแกไ้ ขนักเรยี นคิดวธิ กี ารใหม่ ๆ ท่ีเปน็ ปจั จัยแห่ง
ความสำเร็จนำไปพัฒนางานเป็นประจำทกุ ปโี ดยใชก้ ระบวนการ PDCA ซง่ึ โรงเรียนใช้วิธีการจัดทำแบบประเมนิ ความ
พึงพอใจในรูปแบบของ QR CODE

4.2.5 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทกุ คนได้รบั การสง่ เสริมสนบั สนุนและไดร้ บั ขวญั กำลงั ใจ
จากการปฏบิ ัตงิ านอย่างตอ่ เนอ่ื งเสรมิ แรงและใหข้ วญั กำลงั ใจในการปฏิบตั งิ านโดยการมอบเกียรตบิ ัตรเชิดชูเกียรติครู
ดีไม่มีอบายมุข ครูที่ปรึกษาดีเด่นห้องเรียนดีเด่น ให้คะแนนพิจารณาความดคี วามชอบ ยกย่องชมเชยในการประชมุ
ครหู รอื ทป่ี ระชมุ ผปู้ กครอง มอบบตั รอวยพรวันเกดิ ประจำเดอื น มอบของขวญั ให้กลมุ่ สาระเนื่องในโอกาสพิเศษและ
สง่ เสรมิ ใหค้ รสู ่งผลงานครดู เี ด่นและให้มวี ิทยฐานะที่สงู ขน้ึ

10

4.3 การประเมนิ ผลการดำเนินงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนการเสริมสร้างทักษะชวี ิตการเสริมสร้าง
ความปลอดภัยและการคุม้ ครองนักเรยี นเพ่อื ปรับปรุงพฒั นาอย่างตอ่ เนื่องและย่ังยนื

๔.๓.๑ - ๔.๓.๔ ในภาพรวมของประเด็นนโ้ี รงเรยี นประเมินผลการดำเนนิ งานระบบการดแู ล
ช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้วิธีการและเครื่องมืออย่างเหมาะสมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานคือปีแห่งการ
ขับเคลื่อนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี นอย่างมีประสิทธิภาพโดยนำผลการประเมนิ จากร่องรอยการทำงานข้อมูล
สถิติจากปีท่ีผ่านมา เช่น แบบรายงานการประชุมผู้ปกครอง แบบบันทึกการเข้ารว่ มกิจกรรมหนา้ เสาธง แบบบันทกึ
การเขา้ เรยี นรายคาบแบบบนั ทกึ การเข้าร่วมกิจกรรมของนกั เรยี นแบบบันทึกพฤติกรรมและการสง่ ตอ่ แบบบันทกึ
กจิ กรรมโฮมรมู แบบรายงานการเยยี่ มบ้านนกั เรียน แบบรายงานผลการคัดกรองนกั เรยี น แบบรายงานผลการพัฒนา
ป้องกันแก้ไขปัญหาและส่งตอ่ แบบบันทึกการพบผู้ปกครอง เป็นต้น และนำผลการประเมนิ ไปพัฒนางานระบบการ
ดแู ลช่วยเหลือนักเรียนมีการปรบั ปรงุ และพฒั นาวธิ กี ารและเครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการดำเนินงาน

5. ความสำเร็จของการดำเนินงานระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน
5.1 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิต และการคุ้มครองมีผลต่อการพัฒนา
คณุ ภาพของนกั เรยี น

๕.๑.๑ - ๕.๑.๖ จากการนำระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนมาขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบตั้งแต่
ปีการศึกษา 256๑-256๓ พบว่านักเรียนกลุ่มเสี่ยง / มีปัญหามีจำนวนลดลงอย่างต่อเนื่อง ไม่มีนักเรียนออก
กลางคัน นกั เรียนมีทกั ษะชีวติ ตามเป้าหมายทโ่ี รงเรียนกำหนดนักเรยี นสามารถศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพได้ร้อย
ละ 100 (ม. 6) นักเรียนทุกกลุ่มไดร้ ับการดูแลชว่ ยเหลือปกป้องคุ้มครองแก้ไขและพฒั นาตามศักยภาพของตนเอง
โดยเลือกเรียนในสาขาวิชาที่ตนเอง ถนัด โรงเรียนได้อำนวยความสะดวกในเรื่องสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ อาคารสถานท่ี
แหลง่ เรยี นรู้ ปรบั ภมู ทิ ศั น์ เพือ่ ใหเ้ อ้ือตอ่ การจัดการเรียนการสอน พัฒนาครูให้มคี วามรู้ ความสามารถในการจัดการ
เรียนการสอน การดูแลช่วยเหลือ ช่วยเหลือนักเรยี นด้านการเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโร
นา ทำให้นักเรียนมกี ำลังใจในการเรียนออนไลน์มากยิ่งข้ึน อีกทั้งยังดแู ลช่วยเหลือนักเรียนท่ีไมพ่ ร้อมเรียนออนไลน์
ให้ไดร้ ับเอกสารการเรียนไปเรยี นทีไ่ ป โดยจัดส่งเอกสารให้นักเรียนทางไปรษณีย์ อีกท้ังยังอำนวยความสะสวกให้กับ
นักเรียนในการส่งเอกสารกลับ โดยการจัดตู้รับเอกสารการเรียนไว้ตามจุดต่างๆในชุมชน จัดกิจกรรมการสอนเสรมิ
เพื่อเตรียมสอบ O-Net ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่ง ส่งผลให้นักเรียนทั้ง 2
ระดับชั้นมีผลการสอบเป็นลำดับที่ดีขึ้น ของเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี นักเรียนสำเร็จการศึกษาตาม
หลักสูตรทุกคน 100 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ต่าง ๆ ยังส่งเสริมให้นักเรียนเข้าแขง่ ขนั
เพื่อหาประสบการณ์ตรงจากภายนอกทำให้นักเรียนได้รู้จักตนเองและสามารถเลือกแนวทางการดำเนินชีวิตของ
ตนเองในอนาคตได้

5.2 นกั เรยี นสามารถดูแลช่วยเหลือตนเองใตต้ ามวยั
๕.๒.๑ จากการดำเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลืออยา่ งต่อเนือ่ งทำใหโ้ รงเรียนได้รบั การยอมรบั ยก

ย่องเชิดชูเกียรติในด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิต และความปลอดภัยและการคุ้มครอง
นกั เรยี น เชน่ รางวลั สถานศึกษาระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น ระดบั เขตพืน้ ที่การศึกษา ระดับทอง รางวัลสถานศึกษา
ปลอดภัย ระดบั ทอง รางวลั ชนะเลิศ ผลงานนักเรียนกิจกรรมรณรงค์ เฝ้าระวัง และส่งเสริมสรา้ งสรรคว์ ันวาเลนไทน์
ภายใต้มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ รางวัลระดับเงินโครงการสถานศึกษาสี
ขาวปลอดยาเสพติดและอบายมขุ เป็นตน้

๕.๒.๒ จากการทโ่ี รงเรยี นได้รับการยอมรับ ยกยอ่ ง เชดิ ชเู กียรตใิ นดา้ นต่างๆ ท่ีกล่าวมาขา้ งต้น ใน

11

ขอ้ ๕.๒.๑ นน้ั แล้ว เน่อื งจากโรงเรียนไดน้ ำวิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน DSP GREAT SYSTEM
เพ่ือการเสรมิ ทักษะชวี ิตความปลอดภยั และการคมุ้ ครองนกั เรียนอย่างยั่งยนื

5.3 นักเรยี นมีความปลอดภัยครอบคลุมทุกดา้ น
๕.๓.๑ นักเรียนมที ักษะชวี ิตรู้เทา่ ทนั ภัยตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ข้นึ ในสงั คมและสามารถจัดการปญั หาท่ีเกดิ

ขึ้นกับตนเองโดยโรงเรียนได้ปลูกฝังให้นักเรียนคิดเป็นทำเป็นแก้ปัญหาเป็นทำงานเป็นทีมผ่านกิจกรรมต่าง โดยที่
นักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัตเิ องทั้งหมดทุกขั้นตอนโดยครูมีหน้าที่ใหค้ ำปรึกษาเท่านั้นเพ่ือฝึกใหน้ ักเรียนมีทักษะชีวติ
นอกจากนี้นักเรียนนำความสามารถพิเศษทางด้านดนตรี กีฬา และการแปรรูปจากผลผลิตสวนเกษตรสามารถฝึก
ประกอบอาชีพเพื่อหารายได้พเิ ศษระหวา่ งเรียนได้

๕.๓.๒ จากที่โรงเรียนไดป้ ลกู ฝังนักเรยี นผ่านการทำกจิ กรรมต่างๆของโรงเรียนแล้วทำใหน้ ักเรียนมี
ทักษะชีวิต รู้เท่าทันภัยต่าง ๆ คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็นนั้น จึงส่งผลให้นักเรียนมีสมรรถนะครบ 5 ข้อ และมี
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสูตรครบทงั้ 8 ประการ

๕.๓.๓ จากการดำเนินงานของระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนและความปลอดภัยในโรงเรียนทีม่ ี
ขนั้ ตอนในการทำงานที่เป็นระบบแล้วมีผลต่อการอยรู่ อดปลอดภัยและเรียนจนจบหลักสูตร เพราะไม่มีนักเรียนออก
กลางคัน และจบการศึกษา ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ แสดงจากแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบระหว่างปี 255๘-2560 กับ
2561-2563 จนได้รบั การยอมรับจากผู้ปกครองและชมุ ชนส่งบุตรหลานมาเรียนมากข้นึ

5.4 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิต และการคุ้มครองนักเรียนส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพของโรงเรยี นและชมุ ชนทอ้ งถิ่น

๕.๔.๑ จากการท่ีโรงเรยี นได้มีระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นที่เกดิ จากความร่วมมอื จากทกุ ภาค
ส่วนนั้นทำให้เป็นการเสริมสร้างทกั ษะชวี ิตและการคมุ้ ครองนักเรียนให้มีความปลอดภยั ในชวี ิตประจำวนั โรงเรียนได้
ดำเนนิ การเกยี่ วกับความปลอดภยั ในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น การปรบั ภูมิทศั นใ์ หเ้ ออ้ื ตอ่ การจัดการเรียนสอน รม่ รน่ื สะอาด
ปลอดภัย ด้านอาคารสถานที่ มีการสำรวจตรวจตราตามที่ต่าง ๆ ให้สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย เช่น ระบบ
ไฟฟ้าปลอดภัย หอ้ งนำ้ สะอาดถูกสุขลักษณะ โรงอาหารสะอาดถกู สุขลกั ษณะ ตลอดจนการให้ความรู้ในการใช้ การ
จัดเก็บ เครื่องมอื วัสดุอุปกรณต์ ่าง ๆ ส่งผลให้เกิดความไว้วางใจจากผู้ปกครองและชุมชน และมั่นใจระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนในการส่งบุตรหลานมาเรียนในแต่ละวันเพราะมีการติดตามเฝ้าระวังและคุ้มครองนักเรียนใน
ชีวติ ประจำวันอยา่ งสมำ่ เสมอ

๕.๔.๒ โรงเรยี นไดจ้ ดั ระเบยี บรถรบั สง่ ใหม้ ีมาตรฐานตามระเบียบของสำนักงานขนสง่ อำนวยความ
สะดวกให้ผู้ปกครองที่มารับส่ง มีการรณรงค์ให้นักเรียนสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์และกวดขันการวินัยการ
ดัดแปลงรถให้ถูกต้องตามระเบียบกฎหมายการจราจร การจัดระเบียบการเข้า-ออกของนักเรียนอย่างเป็นระบบ
รวมทั้งในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ได้อำนวยความสะดวกในการเดนิ ทางเพ่อื
จัดส่งเอกสารการเรยี นโดยการติดตง้ั ตูร้ ับเอกสารใหก้ บั นักเรียนในชมุ ชน ส่งผลให้นกั เรยี นไดร้ บั ความปลอดภัยในการ
เดนิ ทางและได้รบั ความพงึ พอใจจากผปู้ กครอง

๕.๔.๓ โรงเรยี นไดม้ ีการจัดระบบการรักษาความปลอดภยั ทง้ั ช่วงกลางวนั และกลางคืนกำหนดให้
นักเรียนใช้บัตรนักเรียนเพื่อบันทึกการเข้าออกของนกั เรียนรวมถึงผู้ที่มาติดต่อราชการจะต้องมีการแสดงบัตรเพอื่
แสดงตวั ตนและตอ้ งแลกบตั รกอ่ นเข้าโรงเรียนทกุ ครงั้ รวมท้งั ไม่อนุญาตให้บริษัทขนส่งต่างๆในการจัดส่งพัสดุเข้าไป
สง่ พสั ดุในโรงเรยี น และในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือวัสโคโรนา ๒๐๑๙ น้ัน มีการคัดกรอง ตรวจวัด
อณุ หภูมริ า่ งกายก่อนเขา้ โรงเรียน อย่างเครง่ ครัด สง่ ผลใหน้ ักเรยี นนกั เรยี นได้รับความปลอดภัยจากบคุ คลรอบข้าง

12

๕.๔.๔ โรงเรียนได้จัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเข้มแข็งและรอบด้านเพื่อให้นักเรียน
ผู้ปกครอง ชุมชน ได้รับการปกป้องคุ้มครองความปลอดภัยทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ว่าเป็นระบบการดูแล
ชว่ ยเหลอื นกั เรียนทเ่ี ป็นข้ันตอน การจดั สภาพแวดลอ้ มเพ่อื เออื้ ตอ่ การเรียนรู้ต่างๆ การดำเนินการตรวจตรา
เฝ้าระวัง คุ้มครองนักเรียนจากอันตรายจากบุคคล ดูแลนักเรียนที่มีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ การสร้าง
บรรยากาศความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน นั้น ส่งผลให้นักเรียนให้เกิด
ความสมั พันธอ์ นั ดแี ละส่งผลต่อการพัฒนานกั เรียนใหม้ คี ณุ ภาพ

ตลอดระยะเวลา ๓ ปี โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี ได้สนองนโยบายในการ
ชว่ ยเหลือนักเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยได้ดำเนนิ งาน
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน อย่างจรงิ จัง ต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความย่ังยืนกับนกั เรียนทุกคน ช่วยเหลอื
ปกป้อง คุ้มครองอย่างรอบด้าน ด้วยวิสัยทัศน์ “ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน DSP สร้างสรรค์คนดีสู่
สังคมไทย ดแู ลดว้ ยรักและหัวใจ ดว้ ยหัวใจเทพศิรินทร์ ฯ ปทุมฯ” ขับเคลือ่ นโดยใช้นวัตกรรม DSP GREAT
SYSTEM ผ่านกระบวนการ 5 ขนั้ ตอน สง่ ผลให้นกั เรยี นทุกคนไดร้ ับการช่วยเหลือในทกุ ๆดา้ น ทำให้ครูและ
นกั เรยี นมคี วามใกล้ชิดและตระหนักถงึ การมคี ุณค่าของตนเอง อกี ทงั้ ยังเปน็ แรงผลักดนั ให้โรงเรียนมีการขับ
เคลอื่ นทจ่ี ะสง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพของนักเรยี นในด้านต่างๆ ตามความความสามารถของนกั เรยี น โดย
ให้ความสำคัญกับความสามารถของนักเรียนในทุกเร่ือง มีการสร้างขวัญและกำลังใจ เพื่อเป็นแบบอยา่ งที่ดี
กับนักเรียนคนอื่น แม้ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ ทำให้ได้รับผลกระทบกันอย่างวงกว้าง โรงเรียนก็ไมท่ ้ิงนักเรียนไวข้ ้างหลัง มกี ารปรับเปลยี่ นการเรียน
การสอนให้เข้ากับสถานการณ์และเป็นไปตามบริบท เพื่อดูแลนักเรียนอย่างทั่วถึง เปรียบเสมือน “ดูแล
นักเรียนดุจลกู หลาน ใส่ใจดัง่ คนในครอบครวั ” และไมท่ อดท้ิงนกั เรียน กลมุ่ เสี่ยงหรอื นักเรยี นทีม่ ีปัญหา แต่
ได้พยายามในทุกทางที่จะสร้างแรงบันดาลใจช่วยเหลือนักเรียนให้เอาตัวรอดได้ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ นี้ และมีความตระหนักในคุณค่าของตนเอง มีทักษะชีวิต มีความ
ปลอดภยั จนสามารถปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม และพรอ้ มจะเป็นทรัพยากรบุคคลทดี่ ีและมคี ณุ คา่ ตอ่ การตอ่ การ
พัฒนาประเทศชาตติ ่อไป

ขอรับรองว่า ขอ้ ความขา้ งตน้ เป็นความจรงิ ทกุ ประการ

(ลงชอื่ ) ผรู้ ายงาน
(นายพษิ ณุ เดชใด)

ผอู้ านวยการโรงเรยี นเทพศิรนิ ทร์คลองสิบสาม ปทมุ ธานี
2๕ พฤษภาคม 256๔

13

ภาคผนวก

14
ภาคผนวก
๑. การบริหารจัดการระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนที่สะท้อนการดำเนินงานอย่างต่อเนือ่ ง ๓ ปีการศึกษา ให้
เหน็ ถงึ แนวคดิ และวิธีการท่ีสอดคล้องกับสภาพปญั หาและบริบทของโรงเรียน
๑.๑ นโยบายของโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะ
ชีวิต และการค้มุ ครองนกั เรียนอยา่ งปลอดภยั
๑.๑.๑ วิสัยทัศน์ของโรงเรียนสะท้อนให้เหน็ ถงึ ความสำคัญของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยมี
การกำหนดแนวทางตามนโยบายที่เก่ียวข้องกับระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียนการเสริมสร้างทักษะชีวิตและคุ้มครอง
นกั เรยี นอย่างชัดเจน

๑.๑.๒ มแี ผนกลยทุ ธ์ที่ระบุ
การดำเนนิ งานเก่ยี วกบั การขับเคลอ่ื นระบบการ
ดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น การเสริมสร้างทักษะชีวติ
และการคุ้มครองนักเรยี นและใช้ระบบDSP
GREAT ในการบรหิ ารจัดการ

๑.๑.๓ มีแผนปฏบิ ัตกิ ารท่ีระบุโครงการ กิจกรรมทเ่ี กีย่ วข้อง
กบั ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น การเสริมสร้างทักษะชีวติ และคมุ้ ครอง
นักเรียน

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี และโครงการของกลุ่มกิจการนักเรียน

15
๑.๑.๔ มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเกี่ยวกบั ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิต
และการคมุ้ ครองนกั เรยี นทชี่ ัดเจน

๑.๑.๕ มรี ะเบยี บ แนวปฏิบตั ทิ เ่ี ก่ียวข้องกบั ระบบการดูแล ชว่ ยเหลอื นักเรยี น

๑.๒ ขอ้ มูลสารสนเทศระบบการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น และความปลอดภัยในโรงเรยี น
๑.๒.๑ โรงเรยี นมกี ารวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาศกึ ษาบรบิ ทของสถานศึกษา

1500
1000

500
0

จำนวนนกั เรยี นทง้ั หมด จำนวนนกั เรยี นที่จบ จำนวนนกั เรยี นทไ่ี มจ่ บ

จำนวนนกั เรยี นทีจ่ บและไมจ่ บการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2558 – 2560
ผลสำรวจพบว่าปีการศึกษา 2558 – ๒๕๖๐ นกั เรียนไมจ่ บการศกึ ษา เฉลย่ี ๔ คนตอ่ ปี

16

ข้อมูลนกั เรยี น / แผนภูมิ ท่ีอยอู่ าศัย/ สถานภาพทางครอบครัวของนักเรียน

ผลสำรวจ พบวา่ สถานภาพครอบครัวนักเรียน ผลสำรวจ พบว่านักเรียนสว่ นใหญอ่ าศยั อยู่กับพอ่ แม่ หรอื ผ้ปู กครอง

หยา่ ร้างสูงกว่าครอบครวั อย่ดู ้วยกัน

๑.๒.๒ โรงเรียนไดน้ ำนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานเรอื่ งระบบการ

ดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นมาขับเคล่อื นครบทงั้ ๕ ขัน้ ตอนเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนานกั เรยี นนอกจากน้ียังได้ปฏิบัติตาม

จุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี เช่น นโยบายโรงเรียนคุณธรรม สถานศึกษาสีขาว

ปลอดยาเสพติดและอบายมุข

โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมขุ
๑.๒.๓ โรงเรียนมแี นวทาง /รูปแบบการดำเนนิ งานท่ีสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและบรบิ ทของ

โรงเรียน

มีรปู แบบการทำงานโดยการประชุมวางแผนดำเนินงาน กำกับตดิ ตาม และรายงานผลอยเู่ สมอ

ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา 2 ครง้ั / ปีการศกึ ษา

17

๑.๓ มีขอ้ มูลสารสนเทศของโรงเรียนทเี่ ก่ียวข้องกบั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
๑.๓.๑ มีขอ้ มูลนกั เรียนรายบุคคลที่เป็นปจั จุบนั และพร้อมนำไปใช้

1.3.2 มีสารสนเทศเกี่ยวกับผลการคัดกรองนักเรียน 3 ปี การศึกษาย้อนหลังต่อเนื่องอย่างเป็น

ระบบ 1200 982 967
1000 843 842 820 819
800 14 15 20 182 2561
600 กลุ่มปกติ กลมุ่ เสยี่ ง กล่มุ มีปญั หา 2562
400 2563
200

0
จานวนนักเรยี นทัง้ หมด

1.3.๓ มสี ารสนเทศผลการดำเนินงานท่ีแสดงให้เหน็ ว่า นักเรียนทุกคนได้รับการดูแล

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา และรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานของครู ( SAR)

1.3.๔ มีการสรปุ ข้อมูลพร้อมทงั้ รายงานผลการพัฒนาป้องกนั แกไ้ ขปญั หาและส่งตอ่ ตามระบบการ
ดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน

แบบรายงานนักเรยี นทมี่ ีความตอ้ งการพิเศษทางการศึกษา รายงานความประพฤตินักเรียน

18

๑.3.5 มีการนำสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาระบบ การดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้าง
ทกั ษะชวี ติ และการคุม้ ครองนักเรยี นอย่างตอ่ เนอื่ งและยัง่ ยนื

แบบประเมินความพึงพอใจ ท่ีมีตอ่ ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน

1.4 ขอ้ มลู สารสนเทศเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในโรงเรยี น/ สถานศกึ ษา เชน่ ขอ้ มูล อบุ ัติเหตุ -ความเสย่ี ง
1.4.1 มีข้อมูลกิจกรรม/โครงการพัฒนาให้นักเรียน รู้เท่าทันอันตรายหรือความไม่ปลอดภัยจาก

บคุ คล อบุ ตั ภิ ยั และความเส่ียงตอ่ ชีวิต

อบรมปอ้ งกนั ยาเสพติด อบรมการชว่ ยชวี ติ อบรมการปอ้ งกนั อัคคภี ัย อบรมการขับขี่ปลอดภยั

๑.๔.๒ มีสารสนเทศผลการดำเนินงานที่แสดงให้เห็นว่านักเรียนทกุ คนได้รบั การพัฒนาให้รู้เทา่ ทัน
และป้องกนั ความไมป่ ลอดภัย

แผนภูมิรายงานจดั กจิ กรรมตามโครงการและรายงานสรปุ การจัดกจิ กรรมตา่ งๆ

๑.๔.๓ มีขอ้ มลู สารสนเทศผู้เก่ียวขอ้ งท่ีอาจเสี่ยงต่อการเกิดความไม่ปลอดภยั ตอ่ นักเรยี นในโรงเรียน

/ สถานศึกษา

19

ได้รับความร่วมมือเจา้ หน้าท่ี มีการบันทึกข้อมลู ผูข้ ออนุญาตินำ
ตำรวจในการดูแลความปลอดภยั นักเรยี นออกนอกโรงเรียนทุกครง้ั

๒. ดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและมีความปลอดภัยในโรงเรียน/สถานศึกษา อย่างมี

ประสิทธภิ าพ

๒.๑ วธิ กี ารดำเนนิ งานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนครบทั้ง ๕ ขน้ั ตอน

2.1.1 มวี ิธกี ารรูจ้ กั นกั เรียนเป็นรายบุคคล คือ การเกบ็ ข้อมลู นกั เรยี นรายบคุ คลลงในระเบียนสะสม

การโฮมรมู เพื่อสังเกตุและสอบถามเพ่ือให้นักเรยี นรู้จักตนเองเข้าใจผู้อื่นวางแผนอนาคตด้านการศึกษาจัดกิจกรรม

อบรมคุณธรรมและสร้างวินัยของนักเรียน กิจกรรมเยี่ยมบ้าน ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ เก็บข้อมูลสภาพความเป็นอยู่ของ

นกั เรียน กิจกรรมประชมุ ผู้ ปกครองประสานความรว่ มมือในการชว่ ยเหลอื นกั เรยี นระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครอง

โฮมรมู เยย่ี มบา้ น เล่มคุณลักษณะฯ ประชุมผู้ปกครอง

2.1.2 มีวธิ ีการคัดกรองนักเรียนโดยโรงเรียนใช้เครื่องมอื คดั กรองนักเรยี นคือ แบบคัดกรองด้านการ
เรียนและความถนัด แบบคัดกรองด้านสุขภาพ แบบคัดกรองด้านพฤติกรรมนักเรียน แบบคัดกรองสถานภาพทาง
ครอบครวั และเศรษฐกจิ แบบคดั กรองด้านพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ และดา้ นความฉลาดทางอารมณ์

20
2.1.3 มวี ิธีส่งเสรมิ พฒั นานักเรยี นทกุ กลมุ่ โดยการจัดกิจกรรมตามโครงการและกิจกรรม ดังน้ี

ตวิ เพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ภาพการเขา้ คา่ ยของห้องเรยี น MOU มทร. คา่ ยลกู เสือ

โครงการฟุตบอล แข่งขันทางวชิ าการ โครงการ NT Smart smart agriculture

2.1.4 มีวิธปี ้องกนั และแก้ไขปัญหา โดยการจัดกิจกรรมตามกิจกรรมโครงการดงั นี้

โครงการโรงเรียนคุณธรรม ที่ส่งเสริมให้นักเรียนแก้ปัญหาพฤติกรรมของตนเองผ่านโครงงาน โครงการ

โรงเรียนสถานศึกษาสีขาปลอดยาเสพติดและอบายมุข ที่ป้องกันแก้ปัญหายาเสพติดในโรงเรียน โครงการสถาน

ศึกษาปลอดภยั ที่ช่วยเหลือป้องกันอบุ ตั ิเหตแุ ละอุบตั ิภัยต่างๆ รวมถึงปญั หาทางสงั คมที่เกดิ ขึ้นภายในโรงเรียนและ

ภายนอกโรงเรียน

ค่ายคุณธรรม กจิ กรรมโรงเรียนสขี าว อบรมการจราจร ใหค้ ำปรกึ ษาเกีย่ วกบั การป้องกนั ยาเสพตดิ

2.1.5 มีวธิ ีการสง่ ตอ่ เมื่อครทู ่ีปรกึ ษารู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลและคัดกรองนักเรยี นโดยแบ่งกลุ่ม

นักเรียนออกเป็น ๔ กลมุ่ อยา่ งเปน็ ระบบ กลมุ่ พเิ ศษและกลุ่มปกติจะสง่ เสริมและพฒั นาโดยกิจกรรมที่เหมาะสมส่วน

นักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหาจะถูกส่งต่อภายในเพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาแตห่ ากพบว่าโรงเรียนไม่สามารถ

แก้ไขปัญหาไดจ้ ะมกี ารสง่ ตอ่ ภายนอก เช่น โรงพยาบาลลำลูก อนามัยตำบลบงึ คอไห

การรบั ฟังการใหค้ ำปรกึ ษาจากนักจติ วิทยา

2.1.6 มีการดำเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นอย่างร้อยรัดทั้ง 5 ขัน้ ตอน

21
2.1.7 มกี ารดำเนินงานแตล่ ะข้นั อยา่ งเปน็ ระบบ มีการดำเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน
ครอบคลุม ๕ ขน้ั ตอนอย่างเปน็ ระบบ

๒.๑.๘ มีการใช้นวัตกรรมในการดำเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นท่ีโรงเรียนคิดค้นข้ึนเอง
คอื DSP GREAT SYSTEM

2.2 การดำเนนิ การเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิตอยา่ งเป็นรูปธรรม
2.2.1 มีการจดั กจิ กรรมบรู ณาการทักษะชวี ติ การเรยี นการสอนในกลมุ่ สาระการเรียนรูต้ า่ งๆ

2.2.2 จดั กิจกรรม/โครงการที่เสรมิ สร้างทกั ษะชีวิต เชน่ กิจกรรมฝกึ ประสบการณ์อาชพี ทไ่ี ด้รับการฝึกจาก
มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพธนบุรี การฝึกเพาะเหด็ จากปราชญ์ชาวบา้ น

22

2.2.3 นกั เรยี นทกุ กลุ่มได้รับการพฒั นาทักษะ / ปญั หาพฤตกิ รรมลดน้อยลง

2.2.4 การใช้พฤตกิ รรมเชงิ บวกในการจัดการชน้ั เรยี นและพฤติกรรมนกั เรยี น

2.3 การดำเนินงานความปลอดภัยในโรงเรยี น/สถานศึกษาอย่างเปน็ รปู ธรรม
2.3.1 วเิ คราะห์สถานการณ์ที่อาจเกิดความไม่ปลอดภัย

๒.๓.๒ มีวิธีการเสริมสรา้ งความปลอดภยั ให้แกน่ กั เรียน เช่น การอบรมทกั ษะการวา่ ยนำ้ การอบรม
ดา้ นสขุ ภาพ

๒.๓.๓ มีวิธีการป้องกันและแก้ปญั หาความไม่ปลอดภัยในโรงเรียน ได้แก่ ปรับภูมิทศั น์ในโรงเรียน
ซอ่ มแซมอาคารสถานท่ี

๒.๓.๔ มวี ิธีการรจู้ กั นกั เรียนท่มี ีแนมโน้มอาจเผชญิ ตอ่ ความไม่ปลอดภัย เชน่ การสุ่มตรวจปัสสาวะ
กรสำรวจนักเรียนทไ่ี มส่ วมหมวกกันนอ็ ค

23
2.4 การดำเนินการคุม้ ครองนักเรียนอยา่ งเป็นรูปธรรม

2.4.1 มีการติดตาม เฝ้าระวัง และคุ้มครองนักเรียน เช่น บันทึกข้อตกลงอย่างต่อเนื่องครูกับ
ผู้ปกครองและตดิ ต่อสอ่ื สารทางช่องทางไลนก์ ลุ่มผปู้ กครองอยา่ งสม่ำเสมอ

2.4.2 มีกิจกรรมคุ้มครองนักเรียน เช่น มีบัตรประจำตัวนักเรียนสแกนมาเรียน คะแนนความ
ประพฤติ มีเสมารกั ษ์ออนไลนแ์ ละคลีนคิ เสมารักษด์ ูแล

2.4.3 นักเรียนทุกคนได้รับการคุ้มครองด้วยวิธีการที่เหมาะสม เช่น มีเกณฑ์การตัดคะแนน มี
รายงานความประพฤติ

๓. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ในการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน และส่งเสริมความ
ปลอดภยั ของโรงเรยี น

3.1 ขอ้ มูลภาคเี ครือขา่ ย และวธิ ีการสรา้ งเครือขา่ ย อย่างมปี ระสิทธิภาพ
3.1.1 มีภาคีเครือข่าย ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและสำนักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษา

บันทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือ (MOU) กบั วิทยาลยั เทคนิคธญั บรุ ี

24

3.1.๒ มีสารสนเทศเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องในการ
ดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น

โรงเรียนมกี ารสรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ยผู้ปกครองนักเรยี นทกุ ระดับชั้น

๓.๑.๓ โรงเรียนมีวิธีการสรา้ งและการทำงานร่วมกับเครอื ข่ายท่ีสนับสนุนระบบการดูแลช่วยเหลอื
นกั เรยี นโดยใช้วิธีทีห่ ลากหลาย

การทำ MOU กับ มทร. ประชุมผ้ปู กครองเครือข่าย การมอบทนุ ใหน้ ักเรียน

ทำกจิ กรรมร่วมกบั ชมุ ชน วดั และมัสยิด

3.1.4 ภาคเี ครือข่ายให้การสนบั สนนุ การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนอย่างต่อเน่ือง

142921 แผนภูมแิ สดงดา้ นทนุ การศกึ ษา ปีการศกึ ษา2561
ปกี ารศกึ ษา2562
47692,494,1060
256,560
57172981

จานวนทุน จานวรนับนทกัุนเรียนยอดเงินรวม ปีการศกึ ษา2563
Linear (ปีการศกึ ษา2561)
ปกี ารศึกษา2561 14 57 256,560

ปีการศึกษา2562 29 179 479,440

ปีการศกึ ษา2563 21 281 629,160

การสนบั สนุนจากภาคเี ครือข่ายในการให้ทนุ การศกึ ษาอยา่ งต่อเน่อื งเพ่มิ ข้ึนทุกปี

25

๓.๒ การมีส่วนร่วมของภาคี เครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุน ป้องกัน ช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรียน
ร่วมกบั สถานศึกษาอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ

3.2.1 ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมประชุมเพื่อให้ข้อมูลและ วางแผนการส่งเสริม สนับสนุน ป้องกนั
ช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรยี น เชน่ ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา การประชมุ ผ้ปู กครอง

3.2.2 ภาคเี ครอื ข่ายมีสว่ นรว่ มในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ การดำเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลอื
นักเรยี น การเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ และค้มุ ครองนกั เรียน

รบั การสนับสนนุ จากชุมชน รบั การสนบั สนุนจากโรงเรยี นธนาคาร

3.2.3 ภาคีเครอื ขา่ ยมกี ารดำเนนิ งานในการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน การเสริมสรา้ งทักษะชีวิตและ

ค้มุ ครองนักเรยี น

ตำรวจอบรมใหแ้ ก่นกั เรยี น อนามยั อบรมใหแ้ ก่นักเรียน วทิ ยากรให้ความรู้ดา้ นอาชพี ในการเพาะเห็ด

3.2.4 ภาคเี ครือขา่ ยรว่ มประเมนิ /ชนื่ ชม ใหข้ วญั กำลังใจ การดำเนนิ งานการดแู ลช่วยเหลือ

นกั เรียน

รบั มอบทุนจากหน่วยงานภายนอก รับเกียรติบตั รเรยี นดี รร.เครือข่ายเทพศิรนิ ทร์ รับมอบของขวญั ให้กำลงั ใจนักเรยี น

26

รับมอบเจลล้างมือจากหนว่ ยงานภายนอก รบั มอบระบบอิเลก็ ทรอนกิ สจ์ ากบรษิ ัท TOT รบั มอบถงุ ยงั ชีพ

รบั มอบของขวัญจากโรงเรียนธนาคาร รับมอบพนั ธป์ุ ลาจากหน่วยงานภายนอก รับมอบทุนการศกึ ษา

3.3 การมีสว่ นร่วมของภาคีเครอื ขา่ ยในการส่งเสริมความปลอดภยั ในโรงเรยี น/สถานศกึ ษา
3.3.1 ภาคเี ครือขา่ ยมสี ่วนร่วมประชุมเพื่อให้ขอ้ มลู และวางแผนการส่งเสรมิ สนับสนุน ปอ้ งกนั

ความปลอดภยั ในสถานศึกษา

อบรมผปู้ ระกอบการรถรับ-สง่ การปรับปรุงแปลงเกษตร

3.3.2 ภาคีเครือขา่ ยมสี ว่ นรว่ มในการส่งเสรมิ สนับสนนุ การดำเนนิ งานความปลอดภัยในโรงเรยี น/

สถานศึกษา

วทิ ยากรให้ความรู้ดา้ นวิชาชพี ภาคเี ครอื ขา่ ยใหค้ วามรู้แกน่ ักเรยี น ภาคีเครือขา่ ยให้การสนบั สนุนเจลล้างมอื , ที่กดเจล

๓.๓.๓ ภาคเี ครือข่ายมีการดำเนินงานความปลอดภยั ในโรงเรียน/สถานศกึ ษา

รับมอบเจลลา้ งมอื รบั มอบเจลลา้ งมือ ตำรวจชว่ ยดูแลการจราจรหนา้ โรงเรยี น

27

3.3.4 ภาคเี ครือขา่ ยรว่ มประเมิน /ชืน่ ชม ให้ขวัญกำลงั ใจการดำเนนิ งานความปลอดภยั ใน
โรงเรียน/ สถานศกึ ษา

รับมอบทนุ จากบรษิ ัท ปตท. รับมอบทนุ วัดเขยี นเขต รบั มอบทุนจากเจา้ อาวาสวดั สุวรรณาราม

4.การส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานส่งผลต่อประสิทธิภาพระบบการดูแล

ช่วยเหลอื นกั เรยี นและความปลอดภยั ในโรงเรยี น

4.1 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความตระหนัก มีความรู้ ความเข้าใจระบบการดูแล

ชว่ ยเหลือนักเรียน การเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต การเสรมิ สรา้ งความปลอดภัย และการคมุ้ ครองนกั เรียน

4.1.1 ครูทุกคนได้รับการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจเรื่องระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การ

เสริมสรา้ ง ทกั ษะชวี ิตและการคุ้มครองนกั เรยี นดว้ ยวธิ กี าร ทีห่ ลากหลายอย่างตอ่ เนอ่ื ง

คณะครศู กึ ษาดงู าน ครูเขา้ รับการอบรมพัฒนา

4.1.2 ครทู ุกคนมีความเขา้ ใจในวธิ ีการดำเนินงานตามระบบกาศรกัดยูแภลาชพว่ ยเหลือนักเรียนและทำ

หนา้ ทเ่ี ป็นครทู ี่ปรกึ ษา

โฮมรูมช้ันเรยี น อบรมหน้าเสาธง ครฝู ึกซอ้ มนักเรยี น

มอบทุนการศกึ ษา เยีย่ มบา้ นช่วยเหลือนักเรยี น

4.1.3 ครูมีความเข้าใจในกระบวนการเสริมสร้างทักษะชีวิต แบบบูรณาการและทกั ษะชีวิตเฉพาะ

ปญั หา

28

4.1.4 ครสู ามารถจดั กจิ กรรมเสรมิ สร้างทักษะชวี ติ ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

นักเรยี นทำกจิ กรรมขายของ นกั เรียนฝึกทกั ษะงานช่าง

4.1.5 ครูทุกคนมีสว่ นรว่ มในการดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน จดั กจิ กรรม/โครงการการคุม้ ครองนกั เรียน

และการดแู ลความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา

เย่ียมบา้ นชว่ ยเหลือนกั เรยี น

ครเู วรประจำจุด ภาพลงเขตพนื้ ทีร่ บั ผดิ ชอบ ภาพดแู ลบริเวณหนา้ โรงเรยี น

๔.๒ การนเิ ทศ ตดิ ตาม ส่งเสรมิ สนบั สนุนและใหข้ วัญก าลังใจแก่ครแู ละบคุ ลากรทางการ

ศกึ ษาในการดำเนินงานการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น การเสริมสรา้ งทักษะชีวิต การเสรมิ สรา้ งความปลอดภัย และการ

คุ้มครองนกั เรียนอย่างต่อเนื่อง

๔.2.1 มกี ารนิเทศตดิ ตามการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน เสรมิ สร้างทกั ษะชีวิต ความ

ปลอดภัย และการคุม้ ครองนักเรยี นภายในโรงเรียน

นิเทศครทู ีป่ รกึ ษาทุกภาคเรยี น อบรมนักเรยี น พบนักเรยี นหน้าเสาธง กำกบั ตดิ ตามจากรายงาน SAR ของครู

4.2.2 มีการนิเทศติดตามการดำเนินงานระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะ
ชีวติ ความปลอดภยั และการคุ้มครองนกั เรียนจาก ภายนอก

29

โรงเรียนผา่ นการประเมนิ SCQA ประเมินโรงเรยี นปลอดภยั ภาพประเมนิ ระบบดแู ลนักเรียน

4.2.3 มรี ปู แบบ และกระบวนการนเิ ทศท่ีเหมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรียน/สถานศึกษา

โรงเรยี นมีรูปแบบการนิเทศอยา่ งกัลยาณมิตร ทง้ั แบบเป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ ปฏทิ ินการนิเทศ

4.2.4 ผ้รู ับการนิเทศมีความพงึ พอใจ และนำผลการนิเทศไปพฒั นางานอย่างตอ่ เนื่อง

แบบประเมินความพงึ พอใจ ทีม่ ีต่อระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน

4.2.5 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทุกคนไดร้ บั การสง่ เสรมิ สนบั สนุน และได้รับขวญั ก าลงั ใจ
จากการปฏบิ ตั ิงานอยา่ งตอ่ เน่อื ง

ครดู ีในดวงใจ ครดู ีไมม่ อี บาย เกียรตบิ ตั รดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนดีเด่น มอบบัตรอวยพรวนั เกิด

4.3 การประเมินผลการดำเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น การเสรมิ สร้างทักษะชีวติ

4.3.๑ - ๔.3.4 มีวิธีการและเคร่ืองมือประเมนิ อย่างเหมาะสมท่ีสอดคล้องกบั วตั ถุเพ่ือนำไปพัฒนา

และมีการปรับปรงุ อยา่ งต่อเนอ่ื ง

รายงานพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ แบบบันทึกการเขา้ เรียนรายงาน วิเคราะห์พฤตกิ รรมจาก SDQ กำกับตดิ ตามการแก้ไข 0 ร มส
QQ

30

แบบบันทึกการเยียมบ้าน สถติ กิ ารมาเรยี น แบบบันทกึ การขาดเรียนและกจิ กรรมโฮมรูม
5. ความสำเร็จของการดำเนนิ งานระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน และความปลอดภัยในโรงเรียน

5.1 ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น การเสริมสร้างทักษะชีวติ และการค้มุ ครองนักเรียน มีผลต่อคุณภาพ

ของนกั เรียน

5.1.1 นักเรียนกลมุ่ เสย่ี ง กลมุ่ มีปญั หามจี ำนวนลดลง

จำนวนนักเรียน รอ้ ย ร้อย รอ้ ย

ปกี ารศึกษา ทั้งหมด ละ กล่มุ ปกติ ร้อยละ กลุม่ เสยี่ ง ละ กล่มุ มปี ญั หา ละ

2561 982 100 967 97.27 20 2.39 8 0.95

2562 843 100 820 97.32 15 1.78 2 0.27

2563 842 100 819 98.45 14 1.46 1 0.09

1200 982843842 967820819 จากกราฟแสดงใหใ้ หเ้ หน็ วา่ ในปี 2561-2563 มี
1000
800 นกั เรยี นกล่มุ ปกตอิ ยู่ในระดบั คงท่ี ระดบั คนทอ่ี ย่ใู น
600 2561 กลุม่ เส่ียงและกลุ่มมปี ญั หาลดลง จงึ แสดงใหเ้ ห็นว่า
400 2562 การนำระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นมาใชใ้ น
200 14 15 20 182 2563 สถานศึกษา สามารถช่วยแก้ปัญหา และพัฒนา
0
คุณภาพนักเรียนได้ ตรงตามเปา้ หมาย

5.1.๒ อตั ราการไม่จบตามหลกั สตู รตามเวลาทกี่ ำหนดของ นกั เรียนลดลงอย่างต่อเน่ือง

จากกราฟแสดงจำนวนนักเรียนจะเห็นว่าในปี
25๕๘-256๑ พบว่ามีจำนวนนกั เรียน
บางส่วนทีอ่ อกกลางคัน แต่ตัง้ แต่ปี ๒๕๖๑
จนกระทงั่ ถงึ ปี ๒๕๖๓ นักเรยี นไม่มีการออก
กลางคันและจบช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ ครบทง้ั
๑๐๐ เปอร์เซ็นต์

5.1.3 อัตราการออกกลางคันของนักเรยี นลดลงกว่าปที ่ผี ่านมาอย่างต่อเนอ่ื ง
จากตารางตัวชี้วัดท่ี ๕.๑.๑ และ ๕.๑.๒ ทำให้ทราบว่านักเรียนมีการจบการศึกษาที่กำหนดไว้และ
ไม่มีการออกกลางคัน

31

5.1.4 นกั เรียนมีทักษะชวี ติ ตามเป้าหมาย ท่โี รงเรยี นกำหนด

5.1.5 นักเรยี นทุกกลุม่ ไดร้ ับการดแู ล ชว่ ยเหลือ ปกปอ้ ง คุ้มครอง ความปลอดภยั แกไ้ ข
และพฒั นาตามศักยภาพ

การดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน ด้านการเรียน ด้านสภาพชวี ติ ความเป็นอยู่ ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙

5.1.6 นกั เรียนประสบความสำเร็จไดร้ บั การยอมรบั ในระดับตา่ ง ๆ

รางวลั ชนะเลศิ อนั ดับ 1 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ การแขง่ ขันคีตะมวยไทย การแขง่ ขันศลิ ปหัตถกรรม

(การแข่งขันหุ่นยนต์ 10 เทพ) (การแขง่ ขนั ฟตุ บอล) รางวลั รองชนะเลิศระดับประเทศ การจัดการคา่ ย

5.2 นกั เรียนสามารถดแู ล ช่วยเหลอื ตนเองได้ตามวัย ระดบั ประเทศ

5.2.1 โรงเรียน/สถานศึกษาได้รับการยอมรับ ยกย่อง เชิดชูเกียรติในด้านการดูแลช่วยเหลือ

นักเรียน

รางวัลสถานศึกษาปลอดภัย รางวลั ระดับเงินสถานศึกษาสขี าว

รางวลั ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น รางวลั ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น
ระดับเหรียญทอง เขตพื้นการศึกษา ระดบั เหรยี ญเงนิ ระดับภาค

32

5.2.๒ มวี ธิ ีปฏบิ ัติท่ีเปน็ เลิศในการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน การเสรมิ สรา้ งทักษะชีวิตความปลอดภัย
และการคุ้มครองนักเรยี นอย่างย่งั ยืน

5.3 นักเรยี นมคี วามปลอดภัย ครอบคลุมทุกด้าน
๕.๓.๑ นกั เรียนมีทกั ษะชวี ิต รู้เท่าทนั ภัยตา่ ง ๆ ทเี่ กิดข้นึ ในสังคมและสามารถจัดการกบั ปญั หาทีเ่ กิด

ขน้ึ กบั ตนเองได้

การแขง่ ขนั หุน่ ยนต์ 10 เทพ อบรมการปฐมพยาบาล อบรม ความปลอดภัยด้านอคั คีภยั อบรมการฝกึ อาชีพ รางวัลชนะเลศิ ผลงานนักเรียนกิจกรรม

รณรงค์ ส่งเสริมสร้างสรรค์วนั วาเลนไทน์

5.3.2 นักเรียนมีสมรรถนะสำคัญ และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู ร

สมดุ บนั ทกึ การประเมนิ กิจกรรมพฒั นานกั เรยี นส่มุ เสยี่ งไมผ่ ่านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพฒั นาคุณลักษณะองั พงึ ประสงค์
คุณลักษณะองั พงึ ประสงค์

5.3.3 นกั เรยี นอยู่รอดปลอดภยั และเรียนจนจบหลกั สตู ร

ข้อมลู การศกึ ษาต่อปกี ารศกึ ษา 2561-2563 นกั เรยี นระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ จบ
83 27 15 73 26 24 89 38 15 หลกั สตู รครบ ๑๐๐ เปอร์เซน็ ต์ และมี
105000 ปีการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา การศกึ ษาตอ่ ทั้งมหาวิทยาลัยของรฐั และ
เอกชน รวมทั้งมนี กั เรียนที่ไปประกอบอาชพี
2561 2562 2563 เลย เพราะลดคา่ ใชจ้ า่ ยของครอบครัว

ศกึ ษาตอ่ มหาวิทยาลยั ของรัฐ 83 73 89

ศกึ ษาตอ่ มหาวทิ ยาลยั เอกชน 27 26 38

ไมศ่ กึ ษาตอ่ /ทางาน 15 24 15

ศกึ ษาต่อมหาวิทยาลยั ของรัฐ ศกึ ษาตอ่ มหาวทิ ยาลัยเอกชน ไมศ่ กึ ษาต่อ/ทางาน

33

5.4 ระบบการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน การเสริมสร้าง ทักษะชีวิตและการคุ้มครอง นักเรียนส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพของโรงเรยี น/ สถานศึกษาและชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ

๕.๔.๑ นักเรียนมีความปลอดภัยในชวี ติ ประจำวนั มกี ารตดิ ตาม เฝ้าระวงั และคุ้มครองนกั เรียน

ดูแลนักเรยี นเขา้ ออกโรงเรียน นักเรียนได้รับการคุ้มจากครเู วรหน้าโรงเรยี น ผปู้ กครองมคี วามพงึ พอใจในการติดตาม เฝา้ ระวงั คุ้มครองนกั เรียน

5.4.2 นักเรียนมีความปลอดภัยในการเดนิ ทาง โดยมีโครงการสถานศึกษาปลอดภัยที่ช่วยป้องกนั
อุบตั ิเหตแุ ละอุบตั ิภยั ต่างๆ

ไดร้ ับความรว่ มมอื จากเจา้ หนา้ ที่ตำรวจอำนวยความสะดวกดา้ นการเดินทาง นกั เรยี นมีทักษะในการขบั ข่ปี ลอดภัย ผู้ปกครองและนกั เรยี นมคี วามพึงพอใจในการเดินทาง

5.4.3 นักเรียนมีความปลอดภัยจากบุคคล นักเรียนทุกคนได้รับการคุ้มครองด้วยรูปแบบและ
วิธีการทเ่ี หมาะสม

จดั ทำทะเบยี นผมู้ าติดต่อ มีบัตรขออนญุ าตออกนอกโรงเรยี น รบั เร่ืองร้องทกุ ข์ทางช่องทางต่างๆ

5.4.4 นักเรียนได้รบั การปกปอ้ งคุ้มครองความปลอดภยั ทั้งรา่ งกายและจิตใจ

ดูแล อำนวยความสะดวกในการมาเรยี น ได้รับทักษะและความคุ้มครองในการดำรงชวี ติ ใหม้ ีความปลอดภัย ผปู้ กครองได้รับบความพงึ พอใจ ใน

การปกป้องค้มุ ครองความปลอดภัย
จากโรงเรยี น

34

แบบประเมินตนเองของสถานศึกษาเพอื่ รบั รางวัลระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

ประเด็น รายการพจิ ารณา นำ้ หนกั คะแนน

คะแนน

1. การบรหิ ารจัดการระบบ 1.1 นโยบายของโรงเรียนที่เก่ียวข้องกับระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน การเสริมสร้าง 5

การดูแลช่วยเหลือนักเรียนและ ทักษะชีวิต และการค้มุ ครอง นักเรียนอยา่ งปลอดภัย

ความปลอดภยั ของโรงเรียน 1.2 แนวทาง/รูปแบบการบริหารจัดการของโรงเรียนสะท้อนแนวคิดที่สอดคล้องกับ 4

ที่สะท้อนการดำเนินงานอย่าง สภาพปญั หาและบริบทขอโรงเรยี น 15

ต่อเนื่อง 3 ปี (ปี พ.ศ.2561 - 1.3 ข้อมลู สารสนเทศของโรงเรยี นท่ีเกย่ี วข้องกบั ระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน 3
2563) ให้เห็นถึงแนวคิดและ 1.4 ข้อมูลสารสนเทศเก่ยี วกับความปลอดภัยในโรงเรยี น เชน่ ข้อมลู อบุ ตั เิ หตุ ข้อมูลความ 3
วิธีการที่สอดคล้องต่อสภาพ เสีย่ ง
ปัญหาและบริบทของโรงเรียน

2. การดำเนินงานระบบการ 2.1 วิธีการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรยี น ครบทั้ง 5 ขั้นตอน ๙
ดูแล ช่วยเหลือนักเรียนและ โดยดำเนนิ งานสอดคลอ้ งอย่างเปน็ ระบบ

ความปลอดภัยในโรงเรียน 2.2 การดำเนนิ การเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ อยา่ งเปน็ รูปธรรม 5 2๔
5
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2.3 การดำเนนิ งานความปลอดภัยในโรงเรยี นอย่างเปน็ ระบบ

2.4 การดำเนนิ การคุม้ ครองนักเรยี นอยา่ งเป็นรปู ธรรม 5

3. การมีส่วนรว่ มของภาคี 3.1 ข้อมลู ภาคเี ครอื ข่าย และวิธีการสรา้ งเครือขา่ ยอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5

เครอื ขา่ ยทกุ ภาคสว่ นที่ 3.2 การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนป้องกันช่วยเหลือ และ 5

เก่ยี วข้อง ในการดูแล คมุ้ ครองนักเรยี นรว่ มกับโรงเรียน อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 15

ชว่ ยเหลอื นักเรียนและความ 3.3 การมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครือข่ายในการสง่ เสริม สนับสนุน 5
ปลอดภัยของโรงเรียน
ความปลอดภัยในโรงเรยี น

4. การสง่ เสรมิ สนบั สนุน นิเทศ 4.1 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความตระหนัก มีความรู้ ความเข้าใจ ๘

ตดิ ตาม และประเมินผล ระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน การเสริมสร้างทกั ษะ ชีวิต การเสริมสร้างความปลอดภัย

การดำเนนิ งานสง่ ผลต่อ และ การคุ้มครองนักเรยี น

ประสิทธภิ าพระบบการดูแล 4.2 การนิเทศ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุนและให้ขวัญกำลังใจแก่ครู และบุคลากรทางการ 5

ช่วยเหลือนักเรียนและความ ศึกษาในการดำเนนิ งานการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน ๑๗
ปลอดภยั ของโรงเรยี น
การเสริมสร้างทักษะชีวิต การเสริมสร้างความ ปลอดภัยและการคุ้มครองนักเรียนอย่าง

ตอ่ เนอ่ื ง

4.3 การประเมนิ ผลการดำเนนิ งานระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียน ๔

การเสริมสร้างทักษะชีวิตการเสริมสร้างความปลอดภัยและการ คุ้มครองนักเรียน เพ่ือ

ปรบั ปรงุ พฒั นาอย่างต่อเน่อื งและยงั่ ยนื

5. ความสำเร็จของ การ 5.1 ระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน การเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต และการคมุ้ ครองนักเรียน ๙

ดำเนินงานระบบการดแู ล มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพของนกั เรียน

ชว่ ยเหลอื นักเรยี น และความ 5.2 ระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น การเสริมสร้างทักษะชีวติ และ 5 2๓
ปลอดภัยของโรงเรยี น
การคุม้ ครองนกั เรยี น สง่ ผลตอ่ สถานศกึ ษา และชมุ ชนทอ้ งถ่ิน

5.3 นักเรียนสามารถดูแล ชว่ ยเหลอื ตนเองได้ตามวยั 5

5.4 นักเรยี นมคี วามปลอดภัยครอบคลมุ ทกุ ดา้ น ๔

รวม 100 ๙๔

ลงชือ่ ...................................................
( นายพษิ ณุ เดชใด )

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นเทพศิรินทรค์ ลองสิบสาม ปทมุ ธานี