โครงการการแพทย์ฉุกเฉิน อบต

266.8 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 84 ของงบฯ การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินทั้งหมด คือการจ้างเหมาแรงงานเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งเพิ่มขึ้นทุกปี ได้แก่

  • จ้างเหมาแรงงานปฏิบัติหน้าที่ประจำ อบต.
  • จ้างเหมาแรงงานปฏิบัติหน้าที่ประจำศูนย์กู้ชีพ
  • จ้างเหมาแรงงานประจำรถกู้ชีพ
  • จ้างเหมาแรงงานประจำศูนย์วิทยุ

โครงการการแพทย์ฉุกเฉิน อบต

เปรียบเทียบภูมิภาค

แม้จะมีการปรับลดโครงการด้านการแพทย์ฉุกเฉินในปี 2562 แต่เมื่อเข้าสู่ช่วงสถานการณ์โควิด-19 โครงการก็ได้รับการอุดหนุนอีกครั้ง โดยเฉพาะปี 2564 ที่ทุกภูมิภาคมีโครงการมากที่สุดเท่าที่เคยมีในรอบ 5 ปี

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคงเป็นภาคที่จำนวนโครงการและงบประมาณสูงที่สุด  และทำให้มูลค่าเฉลี่ยต่อโครงการต่ำสุดด้วย โดยภาคใต้มีมูลค่าเฉลี่ยเป็นอันดับหนึ่ง

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้งบฯ ในการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินมากที่สุด 192.1 ล้านบาท ในจำนวนนี้เป็นค่าจ้างเหมาแรงงานแล้ว 168.2 ล้านบาท

สัดส่วนต่อทั้งประเทศและจังหวัดสูงสุด ด้านจำนวนโครงการ

  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 64 : บุรีรัมย์
  • ภาคกลาง ร้อยละ 12 : เพชรบูรณ์
  • ภาคใต้ ร้อยละ 10 : นครศรีธรรมราช
  • ภาคเหนือ ร้อยละ 9 : น่าน
  • ภาคตะวันตก ร้อยละ 3 : กาญจนบุรี
  • ภาคตะวันออก ร้อยละ 3 : ปราจีนบุรี

สัดส่วนต่อทั้งประเทศและจังหวัดสูงสุด ด้านงบประมาณ

  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 53 : ขอนแก่น
  • ภาคกลาง ร้อยละ 12 : สมุทรปราการ
  • ภาคใต้ ร้อยละ 19 : นครศรีธรรมราช
  • ภาคเหนือ ร้อยละ 9 : น่าน
  • ภาคตะวันตก ร้อยละ 4 : กาญจนบุรี
  • ภาคตะวันออก ร้อยละ 3 : ฉะเชิงเทรา

TOP 5 จังหวัด

จังหวัดจำนวนโครงการสูงสุด

  1. บุรีรัมย์
  2. ขอนแก่น
  3. นครพนม
  4. สกลนคร
  5. มหาสารคาม

จังหวัดงบประมาณสูงสุด

  1. นครศรีธรรมราช
  2. ขอนแก่น
  3. อุบลราชธานี
  4. มหาสารคาม
  5. บุรีรัมย์

จังหวัดมูลค่าเฉลี่ยต่อโครงการสูงสุด

  1. พัทลุง
  2. สมุทรปราการ
  3. ภูเก็ต
  4. สิงห์บุรี
  5. ปัตตานี

อบต.ไหน "ที่สุด" อะไรบ้าง

อบต.จำนวนโครงการมากสุด

  1. อบต.สวายจีก จ.บุรีรัมย์ 605 โครงการ
  2. อบต.ทุ่งกระเต็น จ.บุรีรัมย์ 302 โครงการ
  3. อบต.โนนธาตุ จ.ขอนแก่น 291 โครงการ
  4. อบต.พังขว้าง จ.สกลนคร 283 โครงการ
  5. อบต.บ้านผึ้ง จ.นครพนม 282 โครงการ

อบต.งบประมาณมากสุด

  1. อบต.บางปลา จ.สมุทรปราการ 9.5 ล้านบาท
  2. อบต.บ้านหัน จ.ขอนแก่น 6.9 ล้านบาท
  3. อบต.บางพลีใหญ่ จ.สมุทรปราการ 5 ล้านบาท
  4. อบต.หนองบัว จ.กาญจนบุรี 4.9 ล้านบาท
  5. อบต.หนองแวง จ.กาฬสินธุ์ 4.3 ล้านบาท

อบต.มูลค่าเฉลี่ยต่อโครงการมากสุด

  1. อบต.เขาวง จ.สระบุรี 3.2 ล้านบาท
  2. อบต.แม่คำมี จ.แพร่ 2.6 ล้านบาท
  3. อบต.บางปลา จ.สมุทรปราการ 2.4 ล้านบาท
  4. อบต.บานา จ.ปัตตานี 1.8 ล้านบาท
  5. อบต.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช 1.5 ล้านบาท

 

แน่นอนว่าระบบการแพทย์เป็นโครงสร้างที่จำเป็นอย่างยิ่ง แต่จากการจำแนกบทบาทหน้าที่ของ อบต.ตาม พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 เป็นกลุ่ม A, B, C ด้านล่างนี้ จะเห็นได้ว่า อบต.ถูกกำหนดให้ “ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย” ตามข้อ A(4) อยู่แล้ว จึงอาจต้องทบทวนอีกครั้งว่า C(2) การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน มีส่วนงานใดที่ซ้ำซ้อนหรือแตกต่างไปหรือไม่

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่น ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 271 โครงการ ส่งเสริมการดำาเนินงานและบริหารจัดการ ระบบการแพทย์ุ กเิ น โดย องค์การบริหารส่วนตำาบลกระแชง อำาเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ คว�มโดดเด่นของโครงก�ร อบต.กระแชง เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ( &me r gency Med i ca l Se r W i ce s : &MS ) ของ จังหวัดศรีสะเกษ เพื�อำให้ความืช่วยเหลือำผู้ได้ริับบาดเจ็บ จากอำุบัติเหตุ หริือำเจ็บป็่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ และส้่งต่อำ ริักษาที่่�โริงพยาบาลที่่�ใกล้ที่่�สุ้ด ให้บริิการิในพื�นที่่�เขตตำาบล กริะแชง และพื�นที่่�ใกล้เค่ยง โดยจัดตั�งเป็็นหน่วยบริิการิการิแพที่ย์ ฉุกเฉินในนามืขอำง “หน่วยกู้ช่พ อำบต.กริะแชง 1” หน่วยกู้ชีพ อบต.กระแชง 1 เป็็นหน่วยป็ฏิิบัติการิเพื�อำให้ ความืช่วยเหลือำป็ริะชาชน ที่ำาหน้าที่่�ริับ-ส้่งผู้ป็่วยในเขตตำาบล กริะแชงและตำาบลใกล้เค่ยงที่่�ป็ริะส้บอำุบัติเหตุหริือำเจ็บป็่วยฉุกเฉิน ก่อำนถึงโริงพยาบาล ตามืริะบบการิบริิการิที่างการิแพที่ย์ฉุกเฉิน โดยชุดป็ฏิิบัติการิขอำงหน่วย กู้ช่พ อำบต.กริะแชง 1 ถือำเป็็น ชุดป็ฏิิบัติการิฉุกเฉินเบื�อำงต้น (First 3esQonse Unit : F3) ให้ความืช่วยเหลือำตลอำด 24 ชั�วโมืง ผัู้ปฏิบัติหน้าที่ให้บริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ได้ริับการิฝึกอำบริมื จากหน่วยงานที่่�ส้ถาบันการิแพที่ย์ฉุกเฉินแห่งชาติให้การิริับริอำง และมื่การิฝึกอำบริมืที่บที่วนริ่วมืกับภาค่เคริือำข่ายอำยู่เป็็นป็ริะจำา ต้นแบบหน่วยกู้ชีพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยกู้ช่พ อำบต.กริะแชง 1 ได้ริับริางวัลการิแพที่ย์ฉุกเฉินขอำงอำงค์กริป็กคริอำง ส้่วนที่้อำงถิ�นด่เด่น จากส้ถาบันการิแพที่ย์ฉุกเฉินแห่งชาติ เพื�อำเป็็น พื�นที่่�เริ่ยนริู้และศึกษาดูงานการิแพที่ย์ฉุกเฉิน เมืื�อำ พ.ศ. 2558 และได้ริางวัลชุดป็ฏิิบัติการิฉุกเฉินด่เด่นริะดับจังหวัด มือำบโดย ส้ถาบันการิแพที่ย์ฉุกเฉินแห่งชาติ เมืื�อำ พ.ศ. 2560 ประโยชน์ที่ประช�ชนได้รับ ผัู้ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินในพื้นที่ เขตตำาบลกระแชงและพื้นที่ใกล้เคียง ได้ริับการิช่วยเหลือำ ณ จุดเกิดเหตุและส้่ งต่อำไป็ริักษาที่่�โริงพยาบาลที่่�ใกล้ที่่�สุ้ด โดยมื่ความืริวดเริ็ว ป็ลอำดภัย ถูกต้อำงตามืมืาตริฐานที่่�ส้ถาบัน การิแพที่ย์ฉุกเฉินแห่งชาติกำาหนด การช่วยเหลือผัู้ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ หรือเจ็บป่วย ฉุกเฉิน ได้รับการช่วยเหลืออย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ป็ริะชาชนตำาบลกริะแชงส้่วนใหญ่ป็ริะกอำบอำาช่พด้านเกษตริกริริมื การิเข้าถึงริะบบส้าธิ์าริณสุ้ขขั�นพื�นฐานขอำงริัฐจำาเป็็นต้อำงอำาศัย ความืริ่วมืมืือำจาก อำป็ที่. เป็็นหลัก ลดความสูญเสียต่อเศรษฐกิจและสังคมไทย ตั�งแต่ป็ีงบป็ริะมืาณ พ.ศ. 2557 - 2562 หน่วยกู้ช่พ อำบต.กริะแชง 1 ได้ให้การิช่วยเหลือำ ป็ริะชาชนตำาบลกริะแชงและตำาบลใกล้เค่ยง จำานวน 3,735 ริาย ปัจจัยแห่งคว�มสำ�เร็จ หน่วยกู้ชีพ อบต.กระแชง 1 ได้รับค่าชดเชยจากสถาบัน การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ เพื�อำส้นับส้นุนการิป็ฏิิบัติงาน ด้านการิแพที่ย์ฉุกเฉิน ริวมืเป็็นเงิน 300,000 บาที่/ป็ี การบูรณาการความร่วมมือ หน่วยกู้ช่พ อำบต.กริะแชง 1 ได้บูริณาการิความืริ่วมืมืือำที่ั�งในด้านอำงค์ความืริู้ และงบป็ริะมืาณ จากส้ถาบันการิแพที่ย์ฉุกเฉินแห่งชาติ และหน่วยงานภาค่ เคริือำข่าย เช่น โริงพยาบาลกันที่ริลักษ์ ส้ถาน่ตำาริวจภูธิ์ริกันที่ริลักษ์ และหน่วยกู้ช่พข้างเค่ยง เป็็นต้น ข้อมูลพื้นฐ�น นายธนาวรรณ สุระชาติ นายกองค์การบริหารส่วนตำาบลกระแชง วิสัยทัศน์ “กระแชงแหล่งวัฒนธรรม เกษตรกรรมอินทรีย์ มากผัลผัลิต ชีวิตดีมีการศึกษา ประชามีส่วนร่วม รวมภูมิปัญญาท้องถิ่น” ข้อมูลทั่วไป พื้นที่ ประชากร รายได้ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562) 86.20 ตร.กม. 17,212 คน 89,704,043 บาท โทรศัพท์ 0 4581 0698 www.kra-chang.go.th

Made with FlippingBook

RkJQdWJsaXNoZXIy MTQ0NjMy

การแพทย์ฉุกเฉิน เรียนกี่ปี

วิชาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ (B.Sc. Emergency Medical Operation) วท.บ. (วิทยาศาสตรบัณฑิต) เนื้อหาของหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตย์ สาขาวิชาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ ใช้ระยะเวลาในการศึกษาทั้งหมด 4 ปี รวมทั้งสิ้น 140 หน่วยกิจ จัดให้มีการศึกษาเรียนรู้ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตามระดับชั้นปีดังนี้

1669 คือหมายเลขอะไร

1554 หน่วยแพทย์กู้ชีวิต วชิรพยาบาล 1669 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (ทั่วไทย) เมื่อเจอเหตุด่วนเหตุร้ายหรือผู้ได้รับบาดเจ็บ

ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน มีอะไรบ้าง

ต่างๆ เป็นไปตามที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติกำาหนด ได้แก่ 1. ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น (First Response Unit : FR) 2. ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินระดับต้น (Basic Life support Unit : BLS) 3. ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินระดับกลาง (Intermediate Life Support Unit : ILS) 4. ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินระดับสูง (Advanced Life Support Unit : ...

หน้าที่หลักของหน่วยแพทย์ฉุกเฉินคืออะไร

การบริการการแพทย์ฉุกเฉิน มีความสำคัญต่อการดูแล ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินตั้งแต่ก่อนมาถึงโรงพยาบาล เป็นปฏิบัติการที่ ช่วยให้การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นที่จำเป็นที่ถูกต้อง ตอบสนองได้รวดเร็ว ทันการณ์ ต้องประสานและร่วมงานกับ หน่วยงานอื่น ผู้ปฏิบัติการของหน่วยบริการสามารถเข้าถึง ผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุเป็นทีมแรก ๆ ได้เห็น ...