เรียนรัฐศาสตร์ ม. ส ธ กี่ปี จบ

1 อ่านที่แนวคิดในหน้าแผนการสอนประจำหน่วยของแต่ละหน่วยค่ะ ซึ่งเป็นการอธิบายกรอบแนวทางของการศึกษาในหน่วยนั้นๆค่ะ

เรียนรัฐศาสตร์ ม. ส ธ กี่ปี จบ

2 อ่านแนวคิดในหน้าตอนที่… ซึ่งก็เป็นการอธิบายกรอบแนวทางของการศึกษาในแต่ละเรื่องของตอนนั้นๆเช่นกันค่ะ

เรียนรัฐศาสตร์ ม. ส ธ กี่ปี จบ

3 อ่านกิจกรรมท้ายบทของแต่ละเรื่องค่ะ เป็นการสรุปเนื้อหาทั้งหมดของเรื่องนั้นๆค่ะ

เรียนรัฐศาสตร์ ม. ส ธ กี่ปี จบ

4 จดโน้ตเป็นข้อๆจากแบบฝึกหัดก่อนและหลังเรียนค่ะ เช่น
ข้อ 1กระบวนทัศน์ของเอลตัน เมโย คือ?
ก. มนุษย์สัมพันธ์
ข. มนุษย์นิยม
ค. ลัทธิสตรีนิยม
ง. การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน
จ. การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
จากนั้นดูเฉลยขอข้อนั้นๆ ซึ่งคือ ก.

จะจดโน้ตได้ดังนี้
1) กระบวนทัศน์ของเอลตัน เมโย คือ มนุษย์สัมพันธ์ เป็นต้น
ทำแบบนี้ไปเรื่อยๆในแต่ละข้อของทุกๆหน่วย เป็นการจดจำเนื้อหาด้านในหนังสือที่ได้อ่านข้ามมาค่ะ
ข้อสอบมีทั้งหมด 120 ข้อ ในชุดวิชามี 15 หน่วย ดังนั้น จะมีข้อสอบในแต่ละหน่วยเพียงประมาณ8ข้อ ค่ะ ซึ่งในแบบฝึกหัดก่อนและหลังเรียนมีแบบทดสอบอยู่หน่วยละ20ข้อ แบ่งเป็นก่อนเรียน 10 ข้อและหลังเรียนอีก 10ข้อ ค่ะ ซึ่งข้อสอบจริงจะแตกต่างจากแบบฝึกหัดไม่มากนัก

5 ทางมหาวิทยาลัยมีการสอนเสริมให้นักศึกษาเพื่อทำความเข้าใจในเนื้อหาของชุดวิชานั้นๆ ในวันเสาร์-อาทิตย์ ซึ่งมีทั้งแบบเก็บคะแนนและไม่เก็บคะแนน
สามารถตรวจสอบรายละเอียดดังกล่าวตามลิงค์นี้ได้เลยค่ะ https://www.stou.ac.th/Offices/Oes/OesPage/l_center/Education%20services.html

6 ถ้าชุดวิชานั้นมี ซีดี หรือวีซีดี ก็อย่าลืมเปิดดู/ฟัง เพื่อเพิ่มความเข้าใจในชุดวิชานั้นๆด้วยค่ะ

7 หากท่านใดมีบัญชีผู้ใช้เฟซบุ๊ก(Facebook) ก็อย่าลืมเข้าไปกดไลค์หน้าเพจ มสธ และเพจอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับทางมหาวิทยาลัย หรือ สาขาวิชาที่ลงทะเบียนเรียน เพื่ออัพเดทข้อมูลต่างๆ และแลกเปลี่ยนข้อมูลการเรียนกับเพื่อนๆได้ในกลุ่มรัฐศาสตร์ มสธ.
อีกทั้งในปัจจุบันได้มีการเรียนการสอนผ่านสื่อออนไลน์เช่นการไลฟ์สดของคณาจารย์ ในบางชุดวิชาอีกด้วยค่ะ

สุดท้ายนี้ผู้เขียนบล็อกขออวยพรให้ทุกท่าน ประสบความสำเร็จในการเรียนด้วยระบบทางไกลของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และสอบผ่านในทุกชุดวิชานะคะ

__________________________________________________________________________________________________________________

ถาม : รัฐศาสตร์เรียนอะไรทำไมถึงอยากเรียน ?

ตอบ : เป็นการนำรายละเอียดของสังคมศาสตร์มาเรียนรวม ๆ กัน หรือการเรียนศาสตร์แห่งรัฐให้มีการบริหารจัดการรัฐให้สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น รัฐศาสตร์เป็นการเรียนที่ทำให้คนทำงานหลายสาขามาก เพราะเป็นศาสตร์แห่งการวิเคราะห์ ใช้งานได้จริง และสอนให้คนเปิดใจ ยอมรับที่จะปรับตัวกับสิ่งต่าง ๆ มากขึ้น

__________________________________________________________________________________________________________________

ถาม : ระยะเวลาเรียนทั้งหมดกี่ปี?
           

ตอบ : ใช้เวลาเรียน 4 ปี

__________________________________________________________________________________________________________________

ถาม : ต้องเตรียมตัวก่อนเรียนยังไงและเน้นเรื่องอะไร?


ตอบ : สำหรับการเตรียมตัวในสาขานี้ไม่ยากเลยคือต้องมีความรู้ทางด้านสังคม และ ภาษาไทย รวมทั้งมีความรู้รอบตัวเกี่ยวกับสถานการณ์บ้างเมือง และ เศรษฐกิจภายในประเทศ และอีกเรื่องที่ต้องฝึกฝนคือการเขียนการเขียนเป็นลำดับขั้นตอน

__________________________________________________________________________________________________________________


ถาม : จบรัฐศาสตร์ทำงานราชการได้ไหม?


ตอบ : สามารถรับราชการได้ เช่น ปลัดอำเภอ และข้าราชการตามกรม กอง และกระทรวงต่าง ๆ

__________________________________________________________________________________________________________________

ถาม : จบรัฐศาสตร์ทำงานอะไรได้บ้าง?


ตอบ : เจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคล,นักการทูตและนักการเมืองรวมไปถึงพนักงานในหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ พนักงานธนาคาร และบริษัทเอกชน

__________________________________________________________________________________________________________________

ถาม : รัฐศาสตร์เรียนยากไหม?

ตอบ : ถ้าตั้งใจและขยันสม่ำเสมอก็ไม่ยากทบทวนอ่านทบทวนบ่อยๆ คิดอะไรอย่างเป็นระบบ และ มีเหตุผล

__________________________________________________________________________________________________________________

ถาม : คณะ รัฐประศาสนศาสตร์ กับ รัฐศาสตร์ ต่างกันอย่างไร?

ตอบ : รัฐศาสตร์จะเรียนเรื่องการเมือง การปกครอง การเข้าสู่อำนาจ การลงจากอำนาจ ส่วนรัฐประศาสนศาสตร์เรียนเรื่องการบริหาร การบริหารภาครัฐทั้งหมด

__________________________________________________________________________________________________________________

สาขาของคณะรัฐศาสตร์มีสาขาไหนบ้างที่น่าสนใจ ?

  สำหรับคณะรัฐศาสตร์ มีสาขาต่าง ๆ ดังนี้

  1. สาขาวิชาการเมืองการปกครอง

            การศึกษาในสาขานี้ จะเรียนเกี่ยวกับปรัชญาและความคิดทางการเมืองเช่น รัฐธรรมนูญ รัฐสภา พรรคการเมือง การเลือกตั้งและปัญหาทางการเมือง และสังคมที่สำคัญๆ เช่น ธุรกิจกับการเมือง ทหารกับการเมือง การเมืองของผู้ใช้แรงงาน ชาวนา ฯลฯ เป็นการทำความเข้าใจกับปรากฎการณ์ทางการเมืองและสังคมที่แวดล้อมตัวเรา

2. สาขาการระหว่างประเทศ

            เป็นสาขาที่มุ่งทำความเข้าใจกับระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่างๆ มีความสำคัญทั้งต่อภาครัฐบาลและภาคเอกชน 

3. สาขาบริหารรัฐกิจ สาขารัฐประศาสนศาสตร์

            การศึกษาในสาขานี้จะเกี่ยวกับระบบราชการ และหน่วยงานของรัฐ ประเภทต่าง ๆ การบริหารบุคคล การคลัง งบประมาณ และการวางแผนจัดทำโครงการ เทคโนโลยีการบริหาร

4. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา

            ในส่วนของสาขานี้จะศึกษาเน้นหนักเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคม และวัฒนธรรม ในฐานะที่เป็นสิ่งนำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบต่าง ๆ ภายใต้โครงสร้างและการจัดระเบียบ แต่ละสังคมที่แตกต่างกันตามลักษณะวัฒนธรรม และศึกษาการประยุกต์หลักการประยุกต์หลักวิชาเพื่อการปฏิบัติตามลักษณะวัฒนธรรม และศึกษาการประยุกต์หลักวิชาเพื่อการปฏิบัติงาน

5. สาขางานยุติธรรมและความปลอดภัย

            สำหรับสาขานี้ศึกษาเกี่ยวกับการบริหารงานในระบบงานยุติธรรม ได้แก่ ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ และคุมประพฤติ  จะเรียนหนักไปในเรื่องหลักและทฤษฎีการบริหาร กระบวนการและการบริหารคดี หลักการสืบสวนสอบสวน ทฤษฎีทางอาญาวิทยา  การบังคับใช้กฎหมาย การป้องกันอาชญากรรมและปัญหาสังคม หลักยุติธรรมชุมชน และการแก้ไขปัญหาการกระทำความผิดในสังคม 

คณะนี้เรียนอะไรในแต่ละปี ?

ปี 1

เรียนพื้นฐานทุกวิชา

ชั้นปีที่ 1 ในส่วนของการเรียนนั้นชั้นปี 1 ทุกคนจะเรียนรวมกันเป็นส่วนใหญ่ เพราะวิชาที่เรียนจะเป็นหมวดที่เรียกว่า วิชาแกน เช่น วิชารัฐศาสตร์เบื้องต้น , ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น ,ระบบรัฐและประชาชน และกฎหมายเบื้องต้นในชั้นปีที่ 1 นี้ เป็นวิชาที่เราจะเรียนเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของทั้ง 3 เอก เพื่อไปเป็นพื้นฐานต่อยอดในวิชาเอกตอนปีสูง ๆ ขึ้นไปเป็นการเปิดโอกาสให้น้อง ๆ ได้รู้ว่าตัวเองชอบหรือเหมาะกับการเรียนเอกไหนมากกว่ากันจะได้ใช้ในการตัดสินใจอีกรอบ ก่อนที่จะแยกกันไปเรียนตามเอกของตนเองในปี 2

ปี 2

เข้าสู่วิชาเอก

ชั้นปีที่ 2 การเรียนนั้นจะมีความเข้มข้นและชัดเจนขึ้น เนื่องจากเราจะได้เริ่มเรียนในรายวิชา เอกบังคับ เป็นวิชาเฉพาะเอกที่เราเลือกซึ่งวิชาเอกที่ว่านี้ก็เป็นเหมือนตัวต่อเนื่องมาจากปี1จะเริ่มเรียนจากขั้นพื้นฐานและจะเป็นหมวดของ วิชาโท ซึ่งวิชาโทตัวนี้เหมือนเป็นวิชาที่เราสามารถเลือกได้มาอยากเรียนวิชาของคณะนอกจากวิชาเอก

 ปี 3

เข้าสู่วิชาเอก

ชั้นปีที่ 3 เป็นชั้นปีที่มีความเข้มข้นทางเนื้อหามากเพราะจากการที่เราปูพื้นมาจากรายวิชาในปี 2 แล้วนั้น การเรียนในชั้นปีที่ 3 จะเป็นเหมือนการนำเอาเหล่าเนื้อหาทฤษฎีที่เรียนมาในตอนปี 2 มาประยุกต์ใช้ในเชิงคิดวิเคราะห์ อาจจะเรียกได้ว่าไม่ค่อยเน้นการเรียนการสอนในรูปแบบของเลคเชอร์มากมายนั้น แต่จะเน้นไปที่รูปแบบของทำงานกลุ่มหรือการอ่านเปเปอร์ในจำนวนมาก จะมีการทำรายงานที่เป็นบทความวิชาการและก็จะมีการพรีเซ็นต์นำเสนอต่าง ๆ

 ปี 4

เข้าสู่วิชาเอก + ฝึกงาน

ชั้นปีที่ 4 ในชั้นปีนี้ เทอม 1 เราจะเรียนวิชาในเอกของเราเพียงไม่กี่ตัว ประมาณ 3-5 ตัว ซึ่งที่ตารางเรียนไม่ได้แน่นมาก ซึ่งถ้าและเทอม 2 จะเป็นการฝึกงานทั้งเทอมเลย โดยก่อนจะสิ้นเทอม 1 ทางอาจารย์จะให้เราเลือกที่ฝึกงานกันเองโดยเราสามารถเลือกติดต่อไปได้ทั้งบริษัทเอกชนหรือหน่วยงานราชการก็ได้

รปศ มสธ เรียนกี่ปี

ระดับปริญญาตรี (4 ปี) แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์ 1. สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง หรือ

นิติศาสตร์ มสธ เรียนกี่ปี

สาขาวิชานิติศาสตร์ เปิดหลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) และหลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง (3 ปี) เน้นการศึกษาวิชากฎหมายในลักษณะต่างๆ เพื่อนำไปประกอบอาชีพทางกฎหมาย เช่น ผู้พิพากษา อัยการ ทนายความ นิติกร ที่ปรึกษากฎหมาย เป็นต้น เปิดสอนวิชาเอกต่างๆ ดังนี้

เรียนมสธกี่วิชาจบ

ผู้ที่สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า จะเข้าศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) โดยศึกษาไม่น้อยกว่า 24 ชุดวิชา หรือ 144 หน่วยกิต

เรียนรัฐศาสตร์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง

มีเส้นทางอาชีพมากมายสำหรับผู้ที่จบในสาขาการเมืองการปกครอง คุณสามารถทำงานให้กับรัฐบาลหรือภาคเอกชนก็ได้ หรือจะเลือกทำงานเป็นที่ปรึกษา, อาจารย์, นักข่าวการเมือง, นักเขียน, นักลงทุน และอื่นๆอีกมาก หรือถ้าคุณต้องการที่จะศึกษาต่อเพิ่มในระดับสูง คุณก็สามารถเลือกเรียนต่อในระดับปริญญาเอกได้ต่อไป