วิจัยความเชื่อมั่นในตนเอง ปฐมวัย

เร่ือง การเสริมสรา้ งความมัน่ ใจในการแสดงออกของเดก็ ปฐมวัย
ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านกุดน้ำใส โดยใชก้ ิจกรรมพฒั นาทกั ษะ ๔ ประการ

นางศิรวิ รรณ นครชัย

ตำแหน่งคร/ู ผู้วจิ ัย

ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านกดุ นำ้ ใส
สังกัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลนางัว
ตำบลนางัว อำเภอนาหวา้ จงั หวัดนครพนม

รายงานการวิจยั ในชัน้ เรยี น

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ชื่อเรอ่ื ง การเสริมสรา้ งความมน่ั ใจในการแสดงออกของเดก็ ปฐมวัย

ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านกุดนำ้ ใส โดยใชก้ ิจกรรมพฒั นาทกั ษะ ๔ ประการ

ผู้วจิ ยั นางศิริวรรณ นครชัย ตำแหน่งครู ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านกดุ น้ำใส
สังกัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลนางวั อำเภอนาหวา้ จงั หวดั นครพนม

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นสถานศึกษาแห่งแรก และเป็นสถานแหล่งรวมเด็กในระดับปฐมวัย ซึ่งมาจาก

พน้ื ฐานทางครอบครวั ทมี่ ีการอบรมเลี้ยงดูท่แี ตกตา่ งกัน ปญั หาทีเ่ กดิ ขึ้นในศูนย์พฒั นาเด็กเล็กจึงมมี าก ปัญหาหน่ึง
ที่โดดเด่น ที่ครูผู้สอน/ครูผู้ดูแลเด็ก สามารถสังเกตเห็นได้ และทุกศูนย์พัฒนาเด็กจะต้องพบเจอ ก็คือ ปัญหาการ
ปรับตัวของเด็ก เด็กบางคน หรือหลายคนไม่สามารถที่จะเรียนหรือเล่นร่วมกับเพื่อนๆ ได้ ปัญหานี้หากไม่ได้รับ
การแกไ้ ขจากผู้ที่เก่ยี วข้อง โดยเฉพาะครูประจำช้ันแลว้ จะทำให้เกิดปญั หาอื่นอีกมากมายตามมา เช่น พัฒนาการ
ของเด็ก การเรยี นรู้ของเด็ก เปน็ ตน้

ความมั่นใจของเด็ก เป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างหนึ่งของบุคคล ซึ่งพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได้บัญญัติแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นปรัชญา หรือความมุ่งหมายใน
การจัดการศึกษา จะต้องเปลี่ยนไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย และจิตใจ ความรู้และ
คุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สำหรับใน
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดไว้ในแนวทางการจัดประสบการณ์ ข้อที่ ๕ คือ “จัด
ประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเดก็ อื่น กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ในบรรยากาศที่
อบอุ่น มีความสุข และเรียนรู้การทำกิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะต่าง ๆกัน” ซึ่งจะเห็นได้ว่าแนวทางการจัด
การศึกษาของรัฐ มุ่งเน้นให้เห็นความสำคัญของการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ตั้งแต่เด็กใน ระดับปฐมวัย จัด
กิจกรรมหรือประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง รู้จักปรับตัวเข้าหากัน ทั้งนี้ ครูผู้สอนจะต้อง
คำนึงถึงวฒุ ิภาวะ หรอื ความพร้อมทางพัฒนาการต่าง ๆ ของเด็กไปดว้ ย

จากการสังเกตพฤติกรรมของเด็กปฐมวัย อายุ 3-5 ปี ในภาคเรียนที่ 1/2563 ที่ตนเองรับผิดชอบ
พบว่า มีเด็กชาย จำนวน 1 คน และเด็กหญิง จำนวน 2 คน ท่ีมีพฤติกรรมขาดความมั่นใจ กล่าวคือเด็กไม่กล้า
แสดงออก ไม่กล้าพูด ไม่เป็นตัวของตัวเอง ร่วมกิจกรรมหน้าชั้นมอี าการเขินอาย บางครั้งไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบใด
ๆ เลย ขาดความเชือ่ มนั่ ในตัวเองอาจเน่อื งมาจากสาเหตุ ดังนี้

๑. สาเหตจุ ากครผู สู้ อน
- ครูอาจจะจดั กิจกรรมเก่ยี วกับการส่งเสริมความมน่ั ใจน้อยเกินไป
- ครูอาจจะใหค้ วามสำคญั กบั เดก็ ที่กลา้ แสดงออกมากเกนิ ไป

๒. สาเหตจุ ากเด็ก
- เด็กมาจากครอบครวั ที่อาศัยอยู่ผู้ปกครองทไ่ี ม่ใช่บดิ า มารดา ซง่ึ เด็กกลมุ่ น้ีสว่ นใหญจ่ ะขาด
ความม่นั ในใจตวั เอง
- พัฒนาการดา้ นต่าง ๆ ของเด็กอาจจะยงั ไมพ่ รอ้ มทจี่ ะแสดงออกทางความม่นั ใจ

จากสาเหตุที่กล่าวอ้าง ไม่ว่าปัญหาที่เด็กขาดความมั่นใจนี้จะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม หากไม่ได้รับการ
แก้ไข จะสง่ ผลใหเ้ ด็กขาดพนื้ ฐานท่ีสำคัญของการพัฒนาด้านสตปิ ัญญาและความคดิ สร้างสรรค์ ไม่กล้าแสดงออก
ขาดประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา ทั้งด้านการเรียนและการดำเนินชีวิต ไม่กล้าตัดสินใจ พร้อมที่จะเป็นผู้ตาม
มากกว่าผู้นำ การที่ครูผู้สอนจะนำเอากิจกรรม “เด็กสนทนากับครู” “หนู ๆ พูดไมค์”“ มั่นใจเพื่อนร่วมห้อง”
“รับประทานอาหารร่วมกัน” อาจจะเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยเสริมสร้างและพัฒนาความมั่นใจในกลุ่มเด็กที่มี
ปัญหา ให้เป็นไปในทางที่ดีขึ้น เพราะการที่เด็กได้สนทนาร่วมกับครูผู้สอนบ่อย ๆ เด็กจะเกิดความอบอุ่น สนิท
สนม กล้าคิด กล้าพูดมากขึ้น เด็กปฏิบัติกิจกรรมและรับประทานอาหารร่วมกัน โดยให้ความสำคัญกับเด็กทีด่ ้อย
โอกาสมากขึ้น จะทำให้เด็กเหล่านั้นเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง กล้าพูด กล้าแสดงออกมากขึ้น สุดท้ายก็
พัฒนาการแสดงออกทางภาษาด้วยการให้พูดปากเปล่าหรือพูดผ่านไมโครโฟนหน้าชั้นเรียนบ่อย ๆ เดก็ ก็จะซึมซับ
ความเชื่อมั่นไปทีละเล็กละน้อย จนในที่สุดเด็กจะเกิดความเชื่อมั่นในตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสุขกับ
การเรยี นรูต้ ลอดไป

คำถามการวจิ ยั
กิจกรรม “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “มั่นใจเพื่อนร่วมงาน”, “รับประทานอาหารร่วมกัน”

สามารถพฒั นาความมนั่ ใจในตนเองของเด็กปฐมวัยไดห้ รอื ไม่

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
เพ่อื พฒั นาความมน่ั ใจในตนเองของเด็กปฐมวยั โดยใช้กจิ กรรมพฒั นาทักษะ ๔ ประการ คือ “เด็ก

สนทนากบั คร”ู , “หนู ๆ พูดไมค์”, “ม่ันใจเพ่ือนร่วมงาน”, “รับประทานอาหารร่วมกัน”

สมมุตฐิ านของการวิจัย
กิจกรรม “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “มั่นใจเพื่อนร่วมงาน”, “รับประทานอาหารร่วมกัน”

สามารถพฒั นาความมัน่ ใจในตนเองของเด็กปฐมวยั ไดด้ ียิง่ ขึ้น

ขอบเขตของการวิจยั
๑. กลุ่มเปา้ หมายท่ใี ชใ้ นการวิจัย คอื เดก็ ชายและเด็กหญิง ชั้นเตรียมอนุบาล ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปี

การศึกษา ๒๕6๓ ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นถ่อนพัฒนา สังกัดองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานิคม
จงั หวดั สกลนคร จำนวน 5 คน

๒. ตัวแปรทศ่ี กึ ษา
๒.๑ ตัวแปรต้น ได้แก่ กจิ กรรม “เดก็ สนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “มั่นใจเพอื่ นร่วมงาน”,

“รบั ประทานอาหารรว่ มกัน”
๒.๒ ตวั แปรตาม ได้แก่ ความมัน่ ใจในตนเองของเด็กปฐมวยั

๓. ระยะเวลาในการศกึ ษาวิจัย ใช้เวลา ๒ เดอื น (เดือนกรกฎาคม – เดอื นสิงหาคม ๒๕6๓)

นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
๑. ความมัน่ ใจในตนเอง หมายถงึ การกล้าตดั สนิ ใจทำส่งิ ใดสิง่ หนง่ึ ด้วยความม่ันใจ โดยผ้วู ิจยั

ได้แบง่ ความมั่นใจในตนเองออกเป็น ๓ ด้าน ได้แก่
๑.๑ การกล้าแสดงออก ไดแ้ ก่ ความสามารถในการแสดงออกของเดก็ ซึ่งสงั เกตจากการ

กล้าพูด กล้าแสดงทา่ ทาง กลา้ ลงมอื กระทำ
๑.๒ การเป็นตวั ของตัวเอง ได้แก่ ความสามารถในการปฏิบตั ิตนท่แี สดงให้เห็นถึงการกล้า

ตดั สินใจ รจู้ ักแกป้ ญั หาท่เี กดิ ขน้ึ ในขณะนน้ั ดว้ ยตนเอง พึงพอใจ ยอมรบั การกระทำของตนเอง และ
ตั้งใจทำสง่ิ ตา่ ง ๆ ให้สำเรจ็

๑.๓ การปรบั ตัวเขา้ กับสภาพแวดลอ้ ม ได้แก่ ความสามารถในการรว่ มกจิ กรรมกับครูผู้สอน
และเพือ่ น ๆ ดว้ ยความเปน็ มติ ร รจู้ ักช่วยเหลอื ยอมรบั สิ่งใหม่ ๆ และปฏิบัตติ ามกตกิ าของสว่ นรวม
๒. กิจกรรมพฒั นาทักษะ หมายถึง กิจกรรมท่คี รผู ูส้ อนได้คดั สรร ทจ่ี ะนำมาใหเ้ ดก็ ได้ฝึกปฏิบตั ิ
เพ่ือพัฒนาทกั ษะความม่ันใจในตนเองของเด็ก ประกอบดว้ ย ๔ กิจกรรม ดงั น้ี

๒.๑ เดก็ สนทนากบั ครู หมายถงึ กจิ กรรมทคี่ รูพยายามท่จี ะจัดเวลาและโอกาสสนทนากบั
เด็ก ส่วนใหญ่จะใช้เวลาเช้า ก่อนการจดั กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ หรอื กอ่ นกลับบา้ น เพื่อเพ่ิม
ความสนิทสนม ไว้วางใจระหวา่ งเดก็ และครู

๒.๒ หนู ๆ พดู ไมค์ หมายถึง การที่ครูได้ให้เดก็ ไดใ้ ช้ไมคโ์ ครโฟนในการพดู หน้าชนั้ เรยี น
ตง้ั แตก่ ารแนะนำตนเอง, การเล่าเรอ่ื ง,การบรรยายภาพ ฯลฯ เพ่อื ฝกึ ทกั ษะความมั่นใจในตนเองให้เด็ก
ในการแสดงออกในทีส่ าธารณะ หรอื บนเวที

๒.๓ มัน่ ใจเพื่อนร่วมห้อง หมายถึง การจัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กไดท้ ำงานเปน็ กล่มุ ทคี่ รูต้องคอย
กำกบั ดูแล ใหท้ ุกคนในกลุ่มมีบทบาทร่วมกนั เปิดโอกาสใหท้ ุกคนไดแ้ สดงออกตามศักยภาพ เพ่อื ฝึก
ทักษะความมั่นใจในตนเองให้เด็กในการแสดงออก และไวว้ างใจซึ่งกนั และกนั

๒.๔ รบั ประทานอาหารร่วมกนั หมายถึง การจัดใหเ้ ดก็ ได้รับประทานอาหารรว่ มกนั ทกุ ครั้ง
มีการสลบั จดั กล่มุ ใหม่ ๆ ทุกวนั ตลอดจนแบง่ หนา้ ทร่ี ับผิดชอบกันภายในกลมุ่ เช่น การไปรับอาหาร
การล้างจาน การเกบ็ กวาดเศษอาหารท่ีโตะ๊ และพืน้ เป็นการฝกึ ให้เดก็ ได้แสดงออกในด้านการบรกิ าร
และความรับผิดชอบด้วย เดก็ จะเกดิ ความมั่นใจ ภูมิใจในบทบาทของตนเอง ตอ่ ไป
3. เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กในระดับชนั้ เตรยี มอนบุ าล ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕6๓
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ่อนพัฒนา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร
จำนวน 5 คน

ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ
๑. เด็กปฐมวยั มคี วามมั่นใจในตนเองมากขึ้น
๒. ไดแ้ นวทางในการจดั กจิ กรรมเพ่อื พัฒนาความม่นั ใจในตนเองสำหรับเด็กปฐมวยั
๓. เด็กปฐมวัยมพี ัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน เพิม่ ข้ึน

วธิ ีการวิจยั
๑. บูรณาการกจิ กรรมเพม่ิ ในแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ในแตล่ ะกิจกรรมปกติ ดงั นี้
๑.๑ จุดประสงค์การเรยี นรู้
- เดก็ มคี วามมั่นใจในการพูดหรือแสดงออก
- เด็กสามารถทำงานร่วมกันไดอ้ ย่างมคี วามสุข
๑.๒ กระบวนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้
- เด็กออกไปพูดโดยใช้ไมโครโฟน
- เด็กแบง่ กลมุ่ การเลน่ หรอื ทำงาน
๑.๓ วธิ ีวัดและประเมินผลการเรียนรู้
- สงั เกตพฤติกรรมการแสดงออก
- สงั เกตพฤตกิ รรมการเล่นหรอื ทำงานเปน็ กลุม่
๑.๔ เครอ่ื งมอื การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม

๒. จัดกจิ กรรมการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ตามที่บูรณาการไว้ ดงั น้ี

ระยะเวลา กิจกรรมปกติ กิจกรรมพัฒนาทักษะ

6 กรกฎาคม ๒๕6๓ รบั เดก็ เดก็ สนทนากับครู

(สปั ดาห์ทส่ี องของการเปดิ ภาคเรยี น) กิจกรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ หนูๆ พดู ไมค์

ถึง กจิ กรรมสร้างสรรค์ หนู ๆ พดู ไมค์
กจิ กรรมเสรี มน่ั ใจเพื่อนรว่ มห้อง

๒8 สงิ หาคม ๒๕6๓ กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ มั่นใจเพอ่ื นร่วมหอ้ ง/ หนู ๆ พูดไมค์
(สปั ดาหส์ ุดท้ายของเดอื น) กิจกรรมกลางแจง้
มน่ั ใจเพ่ือนร่วมห้อง

ทุกวันเปิดเรยี น รบั ประทานอาหารกลางวัน รบั ประทานอาหารร่วมกัน
กจิ กรรมเกมการศึกษา มั่นใจเพอ่ื นร่วมห้อง

รวม ๒๔ วัน เตรยี มตวั กลับบา้ น เด็กสนทนากบั ครู

หมายเหตุ แตล่ ะกจิ กรรมอาจมกี ารเปลี่ยนแปลงไดต้ ามความเหมาะสมของสถานการณแ์ ละเหตุการปัจจบุ ัน

เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย
การวจิ ัยคร้ังนี้ ใชเ้ คร่ืองมอื ในการวจิ ยั ดังน้ี
๑. กิจกรรมพฒั นาทักษะ ๔ ประการ (กจิ กรรม)
๒. แบบสงั เกตพฤติกรรมความมั่นใจในตนเอง ท่ีครอบคลุมท้ัง ๔ กจิ กรรม

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ผวู้ จิ ัยเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕6๓ ระหวา่ งเดือนกรกฎาคม ถงึ

เดือนสงิ หาคม ๒๕6๓ รวม 24 วัน โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรม

สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู
วเิ คราะห์คะแนนความมัน่ ใจในตนเองก่อนและหลังการใช้กิจกรรม จากแบบสงั เกตพฤติกรรม

ความม่ันใจในตนเอง โดยการหาค่าเฉลยี่ ร้อยละ

ผลการวิจัย

ผวู้ ิจยั ขอเสนอผลการวิจยั จากตารางการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดังน้ี

ตารางท่ี ๑ คะแนนความมั่นใจในตนเองก่อนการใช้กิจกรรมพัฒนาทกั ษะฯ

คะแนนความมน่ั ใจในตนเอง (คะแนนเตม็ ๒๔ คะแนน) รอ้ ยละ

ชอ่ื - สกลุ รายการท่ี ๑ รายการที่ ๒ รายการท่ี ๓ รายการท่ี ๔ รวม

๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๑๒

1. ด.ช. พรี ศักด์ิ เนตรทิพย์ 2 2 1 1 6 50

2. ด.ญ. ปริยาภทั ร มหาวงศ์ 2 1 1 1 5 41.66

3. ด.ญ. พชั ราภา สุนาพรม 1 1 1 1 4 33.32

รวม 5 4 3 3 25

รอ้ ยละ 53.33 46.62 33.33 33.33 41.66

ตารางที่ ๒ คะแนนความมัน่ ใจในตนเองหลงั การใช้กิจกรรมพัฒนาทักษะฯ

คะแนนความมน่ั ใจในตนเอง (คะแนนเต็ม ๒๔ คะแนน) ร้อยละ

ช่ือ - สกุล รายการที่ ๑ รายการที่ ๒ รายการท่ี ๓ รายการท่ี ๔ รวม

๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๑๒

1. ด.ช. พีรศักดิ์ เนตรทิพย์ 3 3 2 3 11 91.66

2. ด.ญ. ปริยาภัทร มหาวงศ์ 3 2 3 2 10 83.33

3. ด.ญ. พัชราภา สุนาพรม 3 3 3 2 11 91.66

รวม 9 8 8 7 54

ร้อยละ 100 86.66 93.24 76.92 89.64

ผลการวิเคราะห์ตามตารางที่ ๑ และ ๒ ปรากฏวา่ ก่อนการใช้กจิ กรรมฝึกทักษะ คะแนนความมั่นใจใน

ตนเองของเด็กปฐมวยั ดังน้ี

รายการที่ ๑ การกลา้ แสดงออก คดิ เปน็ ร้อยละ 53.33

รายการท่ี ๒ การเปน็ ตวั ของตัวเอง คิดเป็นร้อยละ 46.62

รายการที่ ๓ การปรับตวั เขา้ กับคร/ู เพ่อื น คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.33

รายการที่ ๔ การอาสารับบทบาทหนา้ ท่ี คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33

ในภาพรวม คิดเปน็ รอ้ ยละ 41.66

และเม่ือพจิ ารณาหลังการใชก้ จิ กรรมฝกึ ทักษะ คะแนนความม่ันใจในตนเองของเด็กปฐมวัย ดงั นี้

รายการที่ ๑ การกล้าแสดงออก คิดเป็นร้อยละ 100

รายการที่ ๒ การเปน็ ตัวของตวั เอง คดิ เป็นร้อยละ 86.66

รายการที่ ๓ การปรับตวั เข้ากบั คร/ู เพอื่ น คิดเป็นรอ้ ยละ 93.24

รายการที่ ๔ การอาสารบั บทบาทหนา้ ท่ี คิดเปน็ ร้อยละ 76.92

ในภาพรวม คดิ เป็นรอ้ ยละ 89.64

อภปิ รายผลการวจิ ัย
การวิจัยคร้ังน้ี มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาความมั่นใจในตนเองของเดก็ ปฐมวัย โดยใช้กิจกรรมพัฒนาทักษะ

๔ ประการ ซึ่งผลการใช้แบบพัฒนาทักษะดังกล่าว เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ กล่าวคือ การใช้กิจกรรมพัฒนา
ทักษะ ได้แก่ “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “มั่นใจเพื่อนร่วมห้อง”, “รับประทานอาหารร่วมกัน”
สามารถพัฒนาความมั่นใจในตนเองของเด็กปฐมวัยได้ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากกิจกรรมพัฒนาทักษะความมั่นใจใน
ตนเอง ท้ัง ๔ ประการ เปน็ แนวทางหนึ่งทจี่ ะช่วยเสริมสร้างและพฒั นาความม่ันใจในกลุ่มเด็กท่ีมปี ัญหา ให้เป็นไป
ในทางที่ดีขึ้น เพราะการที่เด็กได้สนทนาร่วมกับครูผู้สอนบ่อย ๆ เด็กจะเกิดความอบอุ่น สนิทสนม กล้าคิด กล้า
พดู มากข้นึ เดก็ ปฏิบัติกจิ กรรมและรบั ประทานอาหารรว่ มกัน

โดยให้ความสำคัญกับเด็กที่ด้อยโอกาสมากขึ้น จะทำให้เด็กเหล่านั้นเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง
กล้าพูด กล้าแสดงออกมากขึ้น สุดท้ายก็พัฒนาการแสดงออกทางภาษาด้วยการให้พูดปากเปล่าหรือพูดผ่าน
ไมโครโฟนหน้าชั้นเรยี นบ่อย ๆ เด็กก็จะซึมซับความเชื่อมั่นไปทีละเล็กละน้อย จนในที่สุดเดก็ จะเกิดความเชื่อมั่น
ในตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสุขกับการเรียนรู้ตลอดไป ซึ่งตรงกับทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์
(Maslow, 1954 อ้างใน สมจินตนา คุปตสุนทร,๒๕๔๗ ; ๖๓) ได้กล่าวว่าคนทุกคนในสงั คม มีความปรารถนา
ที่จะได้รับความสำเร็จ มีความภาคภูมิใจในตนเอง และต้องการให้คนอื่นยอมรับนับถือในความสำเร็จของตนเอง
ด้วย ถ้าความตอ้ งการนไี้ ดร้ บั การตอบสนองอย่างเพียงพอจะทำใหบ้ ุคคลนนั้ มคี วามมน่ั ใจในตนเอง รู้สึกว่าตนเองมี
ค่า มีความสามารถ แต่ถ้าความต้องการนี้ถูกขัดขวางจะทำให้เกิดความรู้สึกว่ามีปมด้อย หรือสูญเสียความ
ภาคภูมิใจในตนเองได้ และสอดคล้องกับ ศุภศีศรีสุคนธ์ (๒๕๓๙ : ๓๕) ที่กล่าวไว้ว่า ความมั่นใจในตนเอง มี
ความสำคัญต่อความสำเร็จในชีวิต ทำให้มองโลกในแง่ดี การปูพื้นฐานความมั่นใจในตนเองสำหรับเด็ก จะช่วยให้
เด็กกลา้ คิด กล้าทำในส่ิงตา่ งๆ ได้อย่างมีความสขุ ปรบั ตัวเข้ากบั สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้ดี รจู้ กั การใหแ้ ละการรับ
รู้จกั รว่ มมอื รูจ้ กั สร้างมิตรภาพระหว่างเพอื่ นฝงู

ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดกิจกรรม “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “มั่นใจเพื่อน
ร่วมห้อง”, “รับประทานอาหารร่วมกัน” ช่วยพัฒนาความมั่นใจในตนเองของเด็กปฐมวัยทุกด้าน ดังนั้น ผู้ท่ี
เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย สามารถศึกษาและใช้เป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
ให้สอดคล้องกับพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน คุณลักษณะตามวัย วุฒิภาวะ ตลอดจนระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการจัด
ประสบการณ์ อันจะเป็นการปูพื้นฐานความมั่นใจในตนเองให้เกิดกับเด็ก จะช่วยให้เด็กกล้าคดิ กล้าทำสิ่งตา่ ง ๆ
ด้วยความมั่นใจ สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ และอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมี
ความสุขท้งั ในปจั จบุ นั และอนาคตตอ่ ไป

เอกสารอา้ งองิ

กรมวิชาการ. “คมู่ ือหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ”. กรุงเทพฯ. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ๒๕๔๖
กรมวิชาการ. “การวิจยั ในช้นั เรยี น”. กรุงเทพฯ. กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๓
กุลยา ตันตผิ ลาชวี ะ. “การเลี้ยงดเู ดก็ กอ่ นวยั เรยี น ๓ – ๕ ขวบ”. กรงุ เทพฯ. ๒๕๔๒
จงใจ ขจรศิลป์. “การศกึ ษาลกั ษณะการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์และเลน่ ตามมุมที่มตี ่อความคิด

สรา้ งสรรคแ์ ละความม่นั ใจในตนเองของเด็กปฐมวัย”. กรุงเทพฯ. ๒๕๓๒
นวลศริ ิ เปาโรหิตย์. “มาสร้างความมน่ั ใจในตัวลกู กนั เถอะ”.เอกสารแนะแนว. ๒๕๓๖

ภาคผนวก

- ตวั อยา่ ง -

แบบสังเกตพฤตกิ รรมความมนั่ ใจในตนเอง

ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านกุดน้ำใส ตำบลนางวั อำเภอนาหวา้ จังหวดั นครพนม

พฤตกิ รรมที่สงั เกต

ลำดับ ช่อื -สกุล กล้า เป็นตวั ของ การปรบั ตัว อาสารบั รวม รอ้ ยละ
แสดงออก ตัวเอง เข้ากบั ครู/ บทบาท

เพ่อื น หน้าที่

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ 12

เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน
รายการสังเกต
๓ ๒๑
กลา้ แสดงออก
ตัดสนิ ใจทันที ไมร่ รี อ ใช้เวลาในการตัดสินใจ ลงั เล/ไม่กล้า
เป็นตวั ของตัวเอง
ปรับตวั เข้ากบั ครู/เพือ่ น เลก็ นอ้ ย

อาสารับบทบาทหนา้ ท่ี ปฏบิ ัติกิจกรรมด้วยความมน่ั ใจ ต้องให้ผู้อนื่ ช้ีแนะ หลบเลยี่ ง

กลา้ สนทนากบั เพ่ือน/ครูเสมอ กล้าสนทนากับเพื่อน/ครู ยงั เข้ากบั ใครไมไ่ ด้

เป็นบางคร้ัง

อาสางานทุกครัง้ อาสางานเปน็ บางคร้งั ไม่เคยรบั บทบาทอะไร

ลงชือ่ ................................................
(นางศริ ิวรรณ นครชัย)
ครปู ระจำชั้น/ผู้บันทึก

รูปภาพประกอบ

การสังเกตพฤติกรรมความมนั่ ใจในตนเอง : พฤติกรรมความกลา้ แสดงออก
การสังเกตพฤติกรรมความม่นั ใจในตนเอง : พฤติกรรมการเป็นตัวของตัวเอง

รปู ภาพประกอบ

การสังเกตพฤตกิ รรมความมั่นใจในตนเอง : พฤตกิ รรมการปรบั ตัวเข้ากบั ครู/เพอ่ื น
การสังเกตพฤตกิ รรมความม่นั ใจในตนเอง : พฤตกิ รรมการอาสารบั บทบาทหน้าท่ี

ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นกดุ น้ำใส
สังกัดองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลนางวั
ตำบลนางัว อำเภอนาหว้า จงั หวัดนครพนม