เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

  • อาวุธไอเดีย ตอน เครื่องบีบขวดพลาสติกแบบมือกล

  • วันออกอากาศ : 05 Oct 2015
  • VIEW : 9781
  • อาวุธไอเดียวันนี้ขอเสนอ  เครื่องบีบขวดพลาสติกแบบมือกล ไอเดียสร้างสรรค์จาก โรงเรียนศรีบุญเรืองวิทยาคาร จ.หนองบัวลำภู อีกหนึ่งผลงานของเด็กไทยที่เป็นประโยชน์ช่วยย่อยสลายขยะ เนื่องในปัจจุบันปัญหาขวดพลาสติกมีจำนวนมาก ต้องมีการย่อยสลายที่เร็วขึ้น เพียงเปิดฝาที่บีบขวด วางขวดที่ฐาน แล้วใช้เท้าเหยียบกลไกการทำงานก็สามารถลดขนาดขวดได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยาก ประหยัด สะดวก 

  • พอกันที!! กับการบีบขวดแบบเดิมๆ

    กระทู้สนทนา

    วิทยาศาสตร์ การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม

    อย่าเพิ่งปิดหน้านี้นะคะ!!!
    สวัสดีชาวพันทิปทุคนที่เข้ามาดูกระทู้นี้นะคะ กระทู้นี้เป็นกระทู้แรกที่ตั้ง ถ้าผิดพลาดยังไงก็ขออภัยด้วยค่ะ

    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    -------------------------------------------------
    นี่เป็นรายวิชาโครงงานของนักเรียนชั้น ม.3 เกี่ยวกับพัฒนาโครงงานวิทยาศาสตร์สู่สากลเพื่อสังคม 1ค่ะ
    ซึ่งกลุ่มของเราได้ทำการประดิษฐ์ ซึ่งเป็นการพัฒนาโครงงานของรุ่นพี่เขาอีกทีนึงค่ะ

    แล้วทำไมถึงต้องพัฒนา?

    >>> เพราะว่าตัวเครื่องบีบขวดแบบเก่านั้น ต้องใช้แรงเยอะมากกกก ในการบีบขวดแต่ละครั้ง แถมตัวฐานเองก็ไม่แข็งแรง ทำให้เวลาบีบมันจึงค่อนข้างโยกด้วย

    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    >>> จุดประสงค์ของเครื่องบีบขวดก็คือ บีบขวดให้เล็กลง เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการจัดเก็บค่ะ
    >>> ประสิทธิภาพของเครื่อง วัดจากการผ่อนแรง และคุณภาพวัดจากใบประเมิน
    >>> ใช้หลักการทำงานของคานค่ะ
    สำหรับขั้นตอนการทำนะคะ
    เราจะทำตัวเครื่องแยกกันค่ะ
    มีตัวที่วางขวดพลาสติก
    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    ตัวคันโยกกดขวด

    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    จริงๆมันก็มีแค่นี้แหละค่ะ แต่ทางอ.ให้ทำให้มันเคลื่อนย้ายได้สะดวกขึ้น
    จัดไปค่ะ!!
    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    ขึ้นโครงรถเข็น + ติดล้อ
    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    ก็จะได้รูปเครื่องออกมาเป็นแบบนี้ค่ะ!!
    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    มันก็เคลื่อนย้ายได้สะดวกขึ้นนะคะ(ยกเว้นแต่ตอนลงบันได
    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล
    )

    วิธีการใช้งาน

    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    ตามรูปภาพข้างบนเลยค่าาา
    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    และเมื่อได้ทำการทดสอบประสิทธิภาพ พบว่าได้ผลดังต่อไปนี้

    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    สรุปนะคะ เครื่องบีบขวดแบบใหม่สามารถผ่อนแรงได้มากกว่าเครื่องบีบขวดแบบเก่า และการบีบด้วยมือตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ค่ะ
    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    แต่ถึงแม้ว่าโครงงานเครื่องบีบขวดจะเป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าตัวโครงงานจะไม่มีข้อผิดพลาดเลย ดังนั้นพวกเรายินดีรับทุกคำติชม เพื่อนำไปพัฒนาโครงงานให้ดียิ่งขึ้นต่อไปในอนาคตค่ะ
    ขอบคุณทุกคนที่เข้ามาอ่านและคอมเม้นนะคะ
    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล
    รออยู่นะคะ
    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    163

    126

    เครื่องบีบขวดพลาสติก พลังงานกล

    สมาชิกหมายเลข 2940268

    สมาชิกหมายเลข 3264241 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 3568486 ถูกใจ, yamr ถูกใจ, หาหัวใจให้เจอก็เป็นสุข ถูกใจ, LamoonMan ถูกใจ, ได้เวลากระชากสร้อย ถูกใจ, ps000000 ซึ้ง, ผมชอบกินข้าวผัด ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 2942956 ถูกใจ, kori-chan ถูกใจรวมถึงอีก 116 คน ร่วมแสดงความรู้สึก

    ข พฤษภาคม 2565 กิตตกิ รรมประกาศ โ ค ร ง ง า น เ ล่ ม นี้ ส า เ ร็ จ ล ง ไ ด้ ด้ ว ย ค ว า ม ก รุ ณ า จ า ก ค รู ม น สิ ก า น ต์ ส ง ว น ธี ร พ ง ศ์ แ ล ะ ครอู ิงครัต ท่ีพ่ึง ครทู ี่ปรกึ ษาโครงงานท่ีได้ช่วยเหลือให้คาปรึกษาและคาแนะนาเป็นอย่างดี ตลอดจนตรวจสอบ และแนะแนวทางแก้ไขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ จนโครงงานเล่มน้ีสาเรจ็ สมบรู ณ์ ขอขอบคณุ ลุงไสว อินน้อย ชา่ งไม้ ท่คี อยใหค้ วามช่วยเหลือในการจัดทาเครื่องบีบอัดขวดนา้ พลาสติก ด้วยแรงผลัก ในคร้ังน้ี ขอขอบคุณเพ่อื นผู้รว่ มทาโครงงานที่คอยช่วยเหลือและคอยใหก้ าลงั ใจกันเสมอมา คณะผ้จู ัดทา

    ค ชือ่ โครงงาน เคร่อื งบีบอัดขวดพลาสติกจากแรงผลกั ผู้จัดทาโครงงาน 1. เดก็ หญิงกรกมล สงิ หโ์ ต 2. เดก็ ชายกนกภทั ร ตันติวัฒนา ครทู ปี่ รกึ ษา 3. เดก็ ชายนภทั ร จิรโรจนานนท์ โรงเรียน 1. นางสาวมนสกิ านต์ สงวนธรี พงศ์ 2. นายอิงครตั ที่พึง่ โรงเรยี นเทศบาลเมอื งสโุ ขทยั บทคัดยอ่ การพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development) เป็นแนวทางการพัฒนาที่ตอบสนอง ความต้องการของคนรุ่นใหม่ การบรรลุการพัฒนาที่ย่ังยืน มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ ได้แก่ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ความครอบคลุมทางสังคม และการคุ้มครองส่ิงแวดล้อม ปัจจุบันปัญหา ด้านส่ิงแวดล้อมและการใชท้ รัพยากรธรรมชาติอย่างฟุม่ เฟอื ยกาลังเป็นท่ีให้ความสนใจของหลายฝา่ ย เนื่องจากปัญหาส่ิงแวดล้อมที่เกิดข้ึนในปัจจุบัน ปัญหาเรื่องขยะ นับเป็นปัญหาหน่ึงของโรงเรียน สาเหตุเน่ืองมาจาก นักเรียนมีจานวนมากขึ้น ขยะจึงเพ่ิมขึ้น และขยะที่พบประจา นั่นคือ ขวดน้าพลาสติก ซึ่งเป็นขยะท่ีจดั ได้ว่ามีเกิดข้ึนทุกวัน เน่ืองจากนักเรียนต้องดื่มนา้ สะอาด จาเป็นต้อง ซ้ือน้าดื่ม บางครั้งด่ืมไม่หมดเม่ือทิ้งลงถังขยะทาให้น้าบางสว่ นจากขวดไหลรวมกับขยะอื่น เป็นแหล่ง เพาะพันธุ์เชื้อโรคและแบคทีเรีย อีกทั้งยังส่งกลิ่นไม่พึงประสงค์ ทางโรงเรียนเทศบาลเมืองสุโขทัยได้ ตระหนักและเห็นถึงความสาคัญของการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง จึงมีการจัดต้ังธนาคารขยะ โดยให้ นักเรียนนาขยะรีไซเคิลของห้องมาขายให้กับธนาคาร คณะผู้จัดทาโครงงาน ได้เล็งเห็นความสาคัญ ของการบริหารจัดการพ้ืนที่ในการจัดเก็บขยะรีไซเคิล โดยเฉพาะขวดน้าพลาสติก โดยเริ่มต้นจาก การบริหารจัดการพ้ืนที่จัดเก็บขยะในห้องเรียนแต่ละห้องก่อน จึงได้จัดทาเคร่ืองบีบอั ดขวดน้า พลาสติก ก่อนการจัดเก็บ เพื่อเพิ่มจานวนขยะใหจ้ ัดเก็บในพ้ืนที่ท่ีค่อนข้างจากัดของห้องเรยี น อีกท้ัง เป็นการคัดแยกขยะให้สะอาด ไม่มีน้าเหลือภายในขวดหรือของเหลวปนเป้ือนกับขยะอื่น เพ่ือลด การเกดิ การสะสมของแบคทีเรยี ท่ีทาใหเ้ กิดกล่ินท่ไี ม่พงึ ประสงค์ ผลการทดลอง พบว่า เคร่ืองบีบอัดขวดน้าพลาสติก สามารถบีบอัดขวดน้าพลาสติกได้ และ ขวดน้าพลาสติกทถี่ กู บบี อัดแลว้ สามารถจดั เก็บในพื้นทจี่ ัดเกบ็ ได้จานวนมากขนึ้

    ง หนา้ ข สารบาญ ค ง กิตตกิ รรมประกาศ 1 บทคดั ย่อ 1 สารบาญ 3 บทท่ี 1 บทนา 3 3 ทม่ี าและความสาคญั ของปญั หา 3 จุดประสงคก์ ารศึกษา 3 สมมตฐิ านการศึกษา 3 ตวั แปรทศี่ กึ ษาคน้ ควา้ 4 นิยามเชิงปฏบิ ัติการ 5 ขอบเขตการศึกษาคน้ ควา้ 5 ระยะเวลาในการศกึ ษาคน้ ควา้ 8 ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั 10 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง 12 เอกสารเกย่ี วกบั เปา้ หมายการพัฒนาแห่งสหสั วรรษ (SDGs) 14 เอกสารเก่ยี วกบั ขยะ เอกสารเก่ยี วกบั การรไี ซเคิล เอกสารทเี่ กย่ี วข้องกับแนวคดิ 3Rs รกั ษ์โลก เอกสสารที่เกยี่ วขอ้ งกับโมเมนต์ของแรง

    จ 19 19 บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินงาน 19 วสั ดอุ ปุ กรณ์ 20 ขน้ั ตอนการสรา้ งและใชเ้ ครอื่ งบบี อดั ขวดนา้ พลาสติก 26 26 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 26 บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ 27 27 สรปุ ผลการทดลอง 28 อภปิ รายผล 29 ขอ้ เสนอแนะ ประโยชน์ 36 บรรณานกุ รม 37 ภาคผนวก ภาคผนวก ก การนาเครอื่ งบบี อดั ขวดนา้ พลาสติกดว้ ยแรงผลักไปใชจ้ รงิ ภาคผนวก ข การนาขวดพลาสติกบรรจุลงในพ้นื ทีจ่ ดั เก็บ ประวตั ิคณะผู้จดั ทา ประวัติครทู ป่ี รกึ ษาโครงงาน

    บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคญั ของปญั หำ การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) เป็นแนวทางการพัฒนาท่ีตอบสนอง ความต้องการของคนรุ่นปัจจุบัน โดยไม่ลิดรอนความสามารถในการตอบสนองความต้องการ ของคนรุ่นหลัง (Brundtland Report, 1987) การบรรลุการพัฒนาที่ยั่งยืน มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ ได้แก่ การเติบโตทางเศรษฐกิจ (economic growth) ความครอบคลุมทางสังคม (social inclusion) และการคุ้มครองส่ิงแวดล้อม (environmental protection) ในการประชุม สมัชชาสหประชาชาติ สมัยสามัญ คร้ังที่ 70 เม่ือวันท่ี 25 กันยายน 2558 ณ สานักงานใหญ่ สหประชาชาติ ประเทศไทยและประเทศสมาชิกสหประชาชาติรวม 193 ประเทศ ร่วมลงนามรบั รอง วาระการพัฒนาทยี่ งั่ ยืน ค.ศ. 2030 (2030 Agenda for Sustainable Development) ซึง่ เปน็ กรอบ การพัฒนาของโลกเพื่อร่วมกันบรรลุการพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน โดยไม่ท้ิงใครไว้ข้างหลัง ภายในปี ค.ศ. 2030 โดยกาหนดให้มีเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เป็นแนวทางให้แต่ละประเทศดาเนินการร่วมกัน เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (SDGs) 17 เป้าหมาย ประกอบไปด้วย 169 เป้าหมายย่อย (SDG Targets) ที่มีความเป็นสากล เช่ือมโยงและเก้ือหนุนกัน และกาหนดให้มี 247 ตัวชี้วัด เพ่ือใช้ ตดิ ตามและประเมินความกา้ วหน้าของการพัฒนา โดยสามารถจดั กลุ่ม SDGs ตามปจั จัยท่ีเชอ่ื มโยงกนั ใน 5 มิติ (5P) ได้แก่ (1) การพัฒนาคน (People) ให้ความสาคญั กับ การขจัดปญั หาความยากจนและ ความหวิ โหย และลดความเหลือ่ มลา้ ในสังคม (2) สิง่ แวดลอ้ ม (Planet) ใหค้ วามสาคัญกบั การปกป้อง และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสภาพภูมิอากาศเพ่ือพลเมืองโลกรุ่นต่อไป (3) เศรษฐกิจและความ ม่ังคั่ง (Prosperity) ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีและสอดคล้องกับธรรมชาติ (4) สันติภาพ และความยุติธรรม (Peace) ยึดหลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีสังคมที่สงบสุข และไม่แบ่งแยก และ (5) ความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา (Partnership) ความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการขับเคล่ือน วาระการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื ปัจจุบันปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างฟุ่มเฟือยกาลังเป็นท่ี ให้ความสนใจของหลายฝ่าย เน่ืองจากปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบัน เกิดจากการกระทา กจิ กรรมของมนษุ ยท์ ี่ไดก้ ระทามาตั้งแต่เริ่มปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม การพฒั นาเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างไม่มีประสิทธิภาพจึงทาให้ทรัพยากรลดลงอย่างรวดเร็ว การเพ่ิมข้ึนของประชากรมนุษย์ อย่างรวดเร็ว ซึ่งมผี ลกระทบตอ่ ชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษยเ์ ป็นส่วนใหญ่ ผลกระทบทมี่ ีต่อมนุษย์และ สังคม ได้แก่ ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาน้าท่วม และปัญหาภาวะโลกร้อน จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่ ทุกหน่วยงาน องค์กร รวมถึงสถาบันการศึกษาต่างๆ ต้องมีความตระหนกั ถึงปัญหานี้ การจัดกิจกรรม

    2 เพ่ือปลูกฝังจิตสานึกแห่งการอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อมเป็นหน้าท่ีของทุกคน ไม่ใช่ใครคนใดคน หน่ึง ที่จะต้องร่วมกันรณรงค์รู้จักใช้อย่างคุ้มค่าและต้องพยายามรักษาให้ยาวนาน โดยเฉพาะ สง่ิ แวดล้อมท่ีอยูใ่ กลต้ ัว ตอ้ งมีความหลากหลาย จูงใจให้ทกุ คนเกิดความสนใจและตระหนักในทีส่ ดุ ปัญหาเรือ่ งขยะนบั ว่าเปน็ ปัญหาของโรงเรยี น สาเหตเุ น่อื งมานกั เรียนมจี านวนมากข้นึ ขยะจงึ เพ่ิมข้ึน สถานประกอบการต่าง ๆ มีมากข้ึน และส่ิงท่ีตามมาอย่างเล่ียงไม่ได้คือ ขยะ ย่อมมีจานวน มากขึ้นตามไปด้วย จนกระท่ังการกาจัดขยะไม่สมดุลกับการเพ่ิมข้ึนของจานวนขยะ และขยะท่ีพบ ประจา น่ันคือ ขวดน้าพลาสติก ซ่ึงเป็นขยะที่จัดได้ว่ามีทุกวัน เน่ืองจากนักเรียนต้องด่ืมน้าสะอาด จาเปน็ ต้องซ้ือน้าดืม่ บางคร้ังดื่มไมห่ มด เมอ่ื ท้ิงลงถงั ขยะทาให้น้าบางสว่ นจากขวดไหลรวมกบั ขยะอ่ืน เปน็ แหล่งเพาะพนั ธเุ์ ชอื้ โรคและแบคทเี รยี อีกทั้งยงั ส่งกลิ่นไม่พงึ ประสงค์ และจากขอ้ มูลการกาจัดขยะ ของประเทศไทยในแต่ละวัน มีขยะเพ่ิมขึ้นเป็นจานวนนับร้อยล้านตัน แต่เราสามารถกาจัดขยะได้ เพยี งวันละไม่กีส่ บิ ล้านตนั เท่าน้ัน จงึ มขี ยะทเ่ี หลอื ตกค้างรอการกาจดั อยูเ่ ป็นจานวนมาก แม้รัฐบาลจะ มีพื้นท่ีที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะท่ีเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็น อย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาด ฯลฯ เกิดเป็นปัญหาขยะ ประเทศจะต้องเสีย งบประมาณเป็นจานวนมากไปกบั การจัดการและแก้ไขปัญหาดา้ นขยะ ทางโรงเรียนเทศบาลเมืองสุโขทัยได้ตระหนักและเหน็ ถึงความสาคัญของการคัดแยกขยะก่อน ทงิ้ จึงมกี ารจัดตั้งธนาคารขยะ โดยใหน้ ักเรียนนาขยะของหอ้ งเรยี น ซ่ึงเป็นขยะท่ีสามารถนาไปรไี ซเคลิ ได้ (recycle) ได้แก่ ขวดน้าพลาสติก กระดาษ นามาขายใหก้ ับธนาคารขยะทุกวันพฤหัสบดี และทาง ธนาคารขยะจะจัดเก็บขยะไว้ที่ส่วนกลาง แต่ยังพบว่า พื้นที่ในการจัดเก็บขยะของห้องเรียนยัง ไม่เพียงพอและบริหารจดั การได้ไม่ดีนกั เน่ืองจากรูปทรงของขวดและปริมาตรท่ีมาก ทาใหก้ ารจดั สรร พ้ืนที่ในการจัดเก็บขยะยังไม่ดีเท่าท่ีควร และเป็นปัญหาต่อเน่ืองทาให้การจัดสรรพ้ืนท่ีในการจัดเก็บ ขยะรีไซเคิลของธนาคารขยะยังไม่มีประสิทธิภาพเช่นกัน เพราะขยะรีไซเคิล โดยเฉพาะขวดน้า พลาสติกของทกุ ห้องเรียนจะนามารวมกันทธ่ี นาคารขยะ คณะผู้จัดทาโครงงาน ได้เล็งเห็นความสาคัญของการบริหารจัดการพื้นที่ในการจัดเก็บขยะ รีไซเคิล โดยเฉพาะขวดน้าพลาสติก โดยเริ่มต้นจากการบริหารจัดการพื้นท่ีจัดเก็บขยะในห้องเรียน แต่ละห้องก่อน จึงได้จัดทาเคร่ืองบีบอัดขวดน้าพลาสติก ก่อนการจัดเก็บ เพื่อเพิ่มจานวนขยะ ให้จัดเก็บในพ้ืนที่ที่ค่อนข้างจากัดของห้องเรียน อีกท้ังเป็นการคัดแยกขยะให้สะอาด ไม่มีน้าเหลือ ภายในขวดหรอื ของเหลวปนเปื้อนกับขยะอ่นื เพ่ือลดการเกิดการสะสมของแบคทีเรียที่ทาให้เกิดกลน่ิ ทไ่ี ม่พึงประสงค์

    3 จดุ ประสงค์กำรศึกษำ 1. เพอื่ ประดษิ ฐเ์ ครอื่ งบบี อัดขวดนา้ พลาสติก กอ่ นการจัดเกบ็ ขยะประเภทขวดนา้ พลาสตกิ 2. เพือ่ เพ่ิมพนื้ ที่ในการเก็บขยะประเภทขวดน้าพลาสติกในหอ้ งเรียน สมมตฐิ ำนกำรศึกษำ 1. เครอื่ งบบี อัดขวดนา้ พลาสติกสามารถบบี อัดขวดนา้ พลาสตกิ ได้ 2. ขวดพลาสติกทถ่ี กู บีบอดั มีขนาดเล็กลง ทาให้สามารถจัดเกบ็ ขวดนา้ พลาสตกิ ในพน้ื ทที่ ี่ ค่อนขา้ งจากัดได้มากขึ้น ตัวแปรทีศ่ กึ ษำค้นควำ้ ประกอบดว้ ย ตวั แปรตน้ เคร่ืองบีบอดั ขวดนา้ พลาสติก ตัวแปรตำม 1. สามารถบบี อัดขวดพลาสตกิ โดยใชแ้ รงผลักนอ้ ยท่ีสดุ 2. สามารถบบี อดั ขวดพลาสตกิ ใหห้ ดสั้นตามแนวยาวและจดั เก็บ ขวดพลาสติกทบ่ี ีบอัดแล้วลงในพืน้ ท่ีที่มอี ยอู่ ยา่ งจากัดได้จานวน มากขน้ึ ตวั แปรควบคมุ พน้ื ท่ีในการจดั เกบ็ ขวดนา้ พลาสติก (ตะกร้าขนาด 38 × 24 × 24 ตารางเซนตเิ มตร) นิยำมเชิงปฏบิ ตั ิกำร 1. เคร่ืองบีบอดั ขวดพลำสตกิ หมายถงึ อปุ กรณ์สาหรับบบี อดั ขวดนา้ พลาสตกิ ซึ่งทามาจาก เศษไม้เหลอื ใช้ โดยใชห้ ลกั การเรอ่ื งคานและแรงผลัก ขณะใช้ตงั้ เครอ่ื งบีบอัดนไ้ี วช้ ดิ กบั ผนังด้านใดด้าน หนง่ึ โดยนาขวดใสต่ รงช่องสาหรับอัดขวด แลว้ ดันไมอ้ ัดขวดไปด้านหนา้ 2. พน้ื ทใี่ นกำรจัดเกบ็ ขยะประเภทขวดนำ้ พลำสตกิ หมายถงึ ตะกร้าสาหรับใส่ขวดนา้ พลาสตกิ ขนาด 38 × 24 × 24 ตารางเซนติเมตร ซงึ่ มอี ยา่ งละ 1 ใบ ตอ่ หอ้ งเรียน ขอบเขตกำรศกึ ษำ 1. เครอื่ งอดั ขวดนา้ พลาสติก ปริมาตรไมเ่ กิน 600 มิลลิลติ ร ใช้ภายในห้องเรยี น และบรรจุ ลงในตะกรา้ ขนาด 38 × 24 × 24 ตารางเซนตเิ มตร

    4 ระยะเวลำในกำรศกึ ษำค้นควำ้ 1 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2565 ผลทีค่ ำดวำ่ จะไดร้ บั 1. นักเรียนสามารถบริหารจัดการโดยการคัดแยกขยะประเภทขวดพลาสติกภายในโรงเรียน ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 2. นักเรียนสามารถนาวัสดุในท้องถ่ินนามาสร้างเป็นนวัตกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ภายในโรงเรยี น 3. นักเรยี นตระหนกั และเหน็ ถงึ ความสาคัญในการคดั แยกขยะ

    บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ผจู้ ดั ทำโครงงำนเครื่องบบี อัดขวดพลำสตกิ จำกแรงผลกั ได้ศกึ ษำเอกสำร นำเสนอดงั น้ี 1. เป้ำหมำยกำรพัฒนำแห่งสหสั วรรษ Sustainable Development Goals (SDGs) 2. ควำมหมำยของขยะ 3. กำรนำกลับมำใชใ้ หม่ (recycle) 4. แนวคิด 3Rs รักษ์โลก 5. โมเมนต์ของแรง รำยละเอียด ดงั น้ี 1. เป้าหมายการพัฒนาแหง่ สหสั วรรษ Sustainable Development Goals (SDGs) กำรพัฒนำที่ยัง่ ยืน (Sustainable Development) คอื แนวทำงกำรพฒั นำที่ตอบสนองควำม ต้องกำรของคนรุ่นปัจจุบนั โดยไม่ลิดรอนควำมสำมำรถในกำรตอบสนองควำมต้องกำรของคนรุ่นหลงั (Brundtland Report, 1987) โดยกำรบรรลุกำรพัฒนำท่ียั่งยืน มีองค์ประกอบสำคัญ 3 ประกำร ได้แก่ กำรเติบโตทำงเศรษฐกิจ (economic growth) ควำมครอบคลุมทำงสังคม (social inclusion) และกำรคุ้มครองส่ิงแวดล้อม (environmental protection) เป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืน (SDGs) 17 เป้ำหมำย ประกอบไปด้วย 169 เป้ำหมำยย่อย (SDG Targets) ที่มีควำมเป็นสำกล เช่ือมโยงและเกื้อหนุนกัน และกำหนดให้มี 247 ตัวชี้วัด เพ่ือใช้ ตดิ ตำมและประเมนิ ควำมก้ำวหนำ้ ของกำรพฒั นำ โดยสำมำรถจดั กลุม่ SDGs ตำมปัจจัยที่เชอื่ มโยงกนั ใน 5 มติ ิ (5P) ไดแ้ ก่ (1) การพัฒนาคน (People) ให้ควำมสำคัญกับกำรขจัดปัญหำควำมยำกจนและควำมหิว โหย และลดควำมเหลือ่ มล้ำ ในสงั คม (2) ส่ิงแวดล้อม (Planet) ให้ควำมสำคัญกับกำรปกป้องและรกั ษำทรัพยำกรธรรมชำติและ สภำพภูมอิ ำกำศเพ่ือพลเมอื งโลกรนุ่ ต่อไป (3) เศรษฐกิจและความมั่งคั่ง (Prosperity) ส่งเสริมให้ประชำชนมีควำมเป็นอยู่ที่ดีและ สอดคล้องกับธรรมชำติ (4) สันติภาพและความยุติธรรม (Peace) ยึดหลักกำรอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติ มีสังคมที่สงบ สุข และไมแ่ บ่งแยก (5) ความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา (Partnership) ควำมร่วมมือของทุกภำคส่วนในกำร ขับเคลอ่ื นวำระกำรพฒั นำท่ียงั่ ยืน

    6 เพื่อให้เกิดควำมต่อเนื่องของกำรพัฒนำองค์กำรสหประชำชำติ จึงได้กำหนดเป้ำหมำย กำรพัฒนำขึ้นใหม่โดยอำศัยกรอบควำมคิดที่มองกำรพัฒนำเป็นมิติ (Dimensions) ของเศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดล้อม ให้มีควำมเชอ่ื มโยงกัน เรียกว่ำ เปำ้ หมำยกำรพัฒนำท่ียง่ั ยืน หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) ซึ่งจะใช้เป็นทิศทำงกำรพฒั นำตงั้ แต่เดือนกันยำยน ปี 2558 ถึงเดือน สงิ หำคม 2573 ครอบคลมุ ระยะเวลำ 15 ปี โดยประกอบไปด้วย 17 เป้ำหมำยคอื เป้าหมายที่ 1 ยตุ คิ วำมยำกจนทกุ รูปแบบในทุกที่ เปา้ หมายท่ี 2 ยตุ คิ วำมหิวโหย บรรลุควำมม่ันคงทำงอำหำรและ ยกระดับโภชนำกำร และ ส่งเสรมิ เกษตรกรรมท่ยี ั่งยนื เป้าหมายที่ 3 สรำ้ งหลกั ประกันวำ่ คนมีชีวติ ท่มี ีสุขภำพดแี ละ สง่ เสริมสวัสดภิ์ ำพสำหรบั ทุก คนในทุกวยั เป้าหมายท่ี 4 สรำ้ งหลกั ประกนั วำ่ ทกุ คนมกี ำรศกึ ษำทมี่ ีคุณภำพ อยำ่ งครอบคลุมและเท่ำ เทยี ม และสนับสนุนโอกำสในกำรเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ เปา้ หมายท่ี 5 บรรลุควำมเสมอภำคระหวำ่ งเพศและใหอ้ ำนำจของ ผูห้ ญงิ และเด็กหญิง เปา้ หมายที่ 6 สร้ำงหลักประกันวำ่ จะมกี ำรจดั ให้มนี ำ้ และสุขอนำมยั สำหรับทกุ คน และมี กำรบริหำรจัดกำรท่ยี ั่งยนื เปา้ หมายที่ 7 สร้ำงหลักประกนั วำ่ ทุกคนเข้ำถงึ พลงั งำนสมยั ใหม่ ในรำคำท่ีสำมำรถซือ้ หำได้ เชอ่ื ถือได้ และยงั่ ยนื เป้าหมายที่ 8 สง่ เสรมิ กำรเตบิ โตทำงเศรษฐกจิ ท่ีต่อเนอื่ ง ครอบคลุม และยั่งยนื กำรจำ้ งงำน เต็มทแี่ ละมผี ลิตภำพ และกำรมีงำนทีส่ มควร สำหรบั ทกุ คน เป้าหมายท่ี 9 สร้ำงโครงสรำ้ งพนื้ ฐำนทที่ ีควำมทนทำน ส่งเสรมิ กำรพฒั นำอตุ สำหกรรมที่ ครอบคลมุ และยงั่ ยนื และสง่ เสรมิ นวัตกรรม เป้าหมายที่ 10 ลดควำมไมเ่ สมอภำคภำยในและระหวำ่ งประเทศ เปา้ หมายที่ 11 ทำใหเ้ มอื งและกำรต้ังถิน่ ฐำนของมนษุ ย์มคี วำม ครอบคลมุ ปลอดภยั มีภมู ิ ตำ้ นทำน และยัง่ ยนื เป้าหมายท่ี 12 สร้ำงหลกั ประกนั ให้มีรูปแบบกำรบรโิ ภคและผลิต ท่ียั่งยืน เป้าหมายท่ี 13 ปฏิบตั กิ ำรอยำ่ งเร่งดว่ นเพอื่ ตอ่ สู้กบั กำรเปลี่ยนแปลง สภำพภมู อิ ำกำศและ ผลกระทบทเี่ กดิ ข้ึน เปา้ หมายที่ 14 อนุรักษแ์ ละใชป้ ระโยชนจ์ ำกมหำสมุทร ทะเลและ ทรัพยำกรทำงทะเลอย่ำง ย่งั ยืนเพอ่ื กำรพัฒนำทีย่ ง่ั ยืน เป้าหมายที่ 15 ปกป้อง ฟ้ืนฟู และสนับสนนุ กำรใช้ระบบนเิ วศบนบก อย่ำงยง่ั ยืน จัดกำรป่ำ

    7 ไม้อย่ำงยงั่ ยนื ตอ่ สกู้ ำรกลำยสภำพเปน็ ทะเลทรำย หยดุ กำรเสอื่ มโทรมของทดี่ นิ และฟน้ื สภำพกลับมำ ใหม่ และ หยุดกำรสญู เสียควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ เปา้ หมายที่ 16 ส่งเสริมสังคมทส่ี งบสุขและครอบคลมุ เพอ่ื กำร พฒั นำทยี่ ่ังยนื ใหท้ ุกคน เข้ำถึงควำมยตุ ธิ รรม และสร้ำงสถำบนั ท่มี ปี ระสิทธผิ ล รับผิดรบั ชอบ และครอบคลุม ในทุกระดบั เป้าหมายท่ี 17 เสริมควำมเขม้ แข็งใหแ้ ก่กลไกกำรดำเนินงำนและฟื้นฟู สภำพหนุ้ สว่ นควำม ร่วมมอื ระดับโลกสำหรับกำรพฒั นำทยี่ งั่ ยนื กำรเงนิ กำรจัดกำรขยะสำมำรถชว่ ยให้บรรลุเป้ำหมำย SDGs ได้โดยกำรจดั กำรขยะถือเป็นเป้ำหมำย ด้ำนหนึ่งที่มีควำมสำคัญในแผนดำเนินงำน SDGs 2030 โดยเฉพำะเป้ำหมำยกำรพัฒนำเพ่ือควำม ยั่งยืนในเรื่องของเมืองและถิ่นฐำนมนุษย์ที่ยั่งยืน (SDG 11) กำรบริโภคและกำรพัฒนำที่ย่ังยืน (SDG 12) และกำรใช้ประโยชน์จำกมหำสมุทรและทรัพยำกรทำงทะเล (SDG 14) ดังรำยละเอียด ตอ่ ไปน้ี  SDG 11.6 ในปี 2573 จะต้องลดผลกระทบดำ้ นลบท่ีเกดิ จำกผลกระทบของชมุ ชนเมืองที่มตี อ่ ส่ิงแวดล้อม ซึ่งจะรวมถึงกำรให้ควำมใส่ใจเป็นกรณีพิเศษต่อคุณภำพของอำกำศรวมท้ังกำร จดั กำรขยะชมุ ชนและขยะประเภทอ่ืน  SDG 12.4 ในปี 2563 จะต้องประสบควำมสำเร็จในเร่ืองของกำรบริหำรจัดกำรในเชิง สิ่งแวดล้อมทั้งในเร่ืองของขยะเคมีและขยะทุกประเภทตลอดวัฏจักรชีวิต โดยเป็นไปตำม กรอบกำรดำเนินงำนระหว่ำงประเทศที่ได้รับควำมเห็นชอบ อีกทั้งยังต้องลดกำรปะปนของ ขยะดังกล่ำวในอำกำศ น้ำ และดิน เพ่ือที่จะลดผลกระทบในเชิงลบที่มีต่อสุขภำพของผู้คน และสิ่งแวดล้อมให้เหลอื นอ้ ยท่ีสุด  SDG 12.5 ในปี 2573 จะต้องลดกำรสร้ำงขยะได้อยำ่ งเป็นที่ประจกั ษ์ดว้ ยกำรป้องกัน กำรลด จำนวน กำรนำขยะกลับมำแปรรูปเพ่อื ใช้ใหม่ และกำรนำขยะกลับมำใช้ซำ้  SDG 14.1 ในปี 2568 จะต้องสำมำรถป้องกันและลดมลภำวะทุกประเภทในแม่น้ำได้อย่ำง เป็นที่ประจกั ษ์ โดยเฉพำะมลภำวะท่ีเกดิ ขึ้นจำกกำรดำเนนิ กำรบนพื้นดนิ ซ่งึ จะรวมถงึ ขยะใน แมน่ ำ้ และมลภำวะที่เกดิ จำกธำตุอำหำรพชื กำรพัฒนำระบบกำรจัดกำรขยะท่ีครบวงจรรวมท้ังเศรษฐกิจหมุนเวียนถือเป็นส่ิงสำคัญที่จะ ทำให้เรำบรรลุเป้ำหมำยอ่ืนๆ ด้วยเช่นกัน ตัวอย่ำงเช่น กำรมีสุขภำพและควำมเป็นอยู่ที่ดี (SDG 3) กำรจ้ำงงำนท่ีมีคุณค่ำและกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจ (SDG 8) และกำรรับมือกำรเปล่ียนแปลงสภำพ ภมู อิ ำกำศ (SDG 13)

    8 สรุปได้ว่าเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ Sustainable Development Goals (SDGs) ที่เก่ียวข้องกับการจัดการขยะคือ SDG 11, SDG 12, และ SDG 14 ท้ังหมดนี้เป็นการลดการใช้ขยะ อย่างยัง่ ยืน 2. ความหมายของขยะ ขยะ คือ ของเหลือท้ิงจำกกำรใช้สอยของมนุษย์หรือจำกขบวนกำรผลิตจำกกิจกรรม ภำคอตุ สำหกรรมและเกษตรกรรมปัจจบุ ันขยะมลู ฝอย เปน็ ปัญหำวิกฤตที่กำลังทวคี วำมรุนแรงมำกข้ึน จะมีผลกระทบต่อสภำพแวดล้อมโดยรวมและยังส่งผล กระทบต่อสุขภำพอนำมัยของประชำชน ในปี พ.ศ.2564 มีปริมำณขยะมูลฝอยจำกชมุ ชนทั่วประเทศประมำณ 15.2 ล้ำนตัน และมีกำรนำขยะ และวัสดุเหลอื ใช้มำใชป้ ระโยชนใ์ หม่ 2.7 ลำ้ นตันคดิ เป็นรอ้ ยละ 19 ของขยะมูลฝอยชมุ ชน ประเภทของขยะ ทที่ ง้ิ กันอยู่ทว่ั ไปมี 4 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ขยะย่อยสลำยได้ เช่น เศษอำหำรและพืชผัก ท่ีเหลือจำกกำรรับประทำน และ กำรประกอบอำหำร สำมำรถนำไปหมักทำปุย๋ ได้ จำกปริมำณขยะมูลฝอยทัง้ หมดมปี ระมำณ 46 % 2. ขยะรีไซเคิลหรือขยะที่สำมำรถนำไปขำยได้ เช่น แก้ว กระดำษ พลำสติก ขวดพลำสติก โลหะ/อโลหะ ซ่ึงจำกปริมำณขยะมูลฝอยทั้งหมดมีอยู่ประมำณ 42% 3. ขยะทั่วไป เป็นขยะท่ีย่อยสลำยยำกและไม่คุ้มค่ำในกำรนำไปรีไซเคิล เช่น ซองบะหม่ี สำเรจ็ รปู เปลอื กลกู อม ถงุ ขนม ถงุ พลำสตกิ จำกปริมำณขยะมูลฝอยทง้ั หมด ประมำณ 9 % 4. ขยะพิษ หรือขยะมีพิษที่ต้องเก็บรวบรวมแล้วนำไปกำจัดอย่ำงถูกวิธี เช่น กระป๋องยำฆ่ำ แมลง หลอดไฟ ถ่ำนไฟฉำย ซึง่ จำกปรมิ ำณขยะมลู ฝอยทงั้ หมด มีอยู่ประมำณ 3 % ประเภทและสขี องถงั ขยะ ถังขยะทั้งหมดมีอยู่ 4 ประเภท แต่ละประเภทนั้นก็รับขยะต่ำงกัน แต่ในปัจจุบันนั้น คนส่วน ใหญ่มกั จะทิง้ ขยะลงถงั ไมถ่ กู ประเภทกัน เชน่ กลอ่ งโฟม ท้งิ ถงั ขยะสีเขยี วบำ้ ง ถังขยะสแี ดงบ้ำง ซง่ึ คน แบบนีม้ ักจะเปน็ คนทม่ี กั ง่ำย ไม่เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวม เปน็ คนเหน็ แกต่ ัว คดิ วำ่ ใกลถ้ ังขยะประเภท ไหนก็ท้ิงลงถังนั้น ดังนั้นเรำควรทิ้งขยะให้ถูกต้อง ตำมสีและประเภทของถังขยะ เพ่ือง่ำยต่อกำรแยก ขยะ ดังนี้ 1. ถังขยะ สเี ขยี ว คือ ถงั ขยะท่ยี ่อยสลำยได้ เชน่ เศษอำหำร กิ่งไม้ ใบไม้ ผกั และขยะอีกมำกมำย ท่ีสำมำรถยอ่ ยสลำยได้ 2. ถงั ขยะ สีเหลือง คือ ถงั ขยะทส่ี ำมำรถนำกลบั มำใชไ้ ด้ เชน่ กระดำษ ขวดน้ำ แก้วนำ้ เศษเหล็ก 3. ถังขยะ สนี ำ้ เงนิ คือ ถังขยะท่ีไมส่ ำมำรถนำกลบั มำใช้ได้ เช่น โฟม ถุงขนม พลำสตกิ 4. ถังขยะ สีแดง คือ ถงั ขยะท่เี ปน็ พษิ เชน่ กระป๋องสี สสี เปรย์ แบตเตอรี่ ยำฆ่ำแมลง และอนื่ ๆ ท่ี เป็นพษิ

    9 ภำพ สขี องถังขยะ วิธกี ารกาจดั ขยะ กำรกำจัดขยะไม่ให้มีคงกำจัดไม่ได้เพรำะในชีวิตประจำวันเรำต้องใช้สิ่งของท่ีเป็นเคร่ือง อุปโภคบริโภคจงึ จำเป็นต้องมีของเหลือทิ้ง วิธีที่จะทำใหข้ ยะไม่เป็นปัญหำกับมนุษยแ์ ละสิง่ แวดล้อมก็ คือกำรลดปริมำณขยะกำรทำให้ปริมำณขยะที่จะท้ิงลดลงอำจโดยกำรนำสิ่งท่ีเป็นขยะนั้นกลับมำใช้ ประโยชน์อีกหรือกำรลดปริมำณกำรใช้และให้เหลือส่ิงที่จะทิ้งเป็นขยะจริงเพียงเท่ำท่ีไม่สำมำรถใช้ ประโยชน์อืน่ ใดไดอ้ ีกดงั น้ี 1. กำรลดกำรใช้ หรือกำรลดขยะจำกแหลง่ ท่ีเกิด โดยพยำยำมหลกี เล่ยี งหรอื ลดกำรเกิดขยะ หรือมลพษิ ทีเ่ กิดขึ้น เช่น กำรใชถ้ ุงผำ้ แทนกำรใชถ้ ุงพลำสตกิ 2. กำรนำผลิตภัณฑ์มำใช้ซ้ำ เป็นกำรนำวัสดุของใช้กลับมำใช้ในรูปแบบเดิมหรือนำมำ ซอ่ มแซมใช้ หรือ นำมำใชท้ ำประโยชนอ์ น่ื ๆ โดยแบง่ ได้เปน็ 2 ข้นั ตอนคอื 2.1 ขน้ั ตอนกำรผลิตสนิ ค้ำ พยำยำมทำให้เกดิ เศษวัสดหุ รอื ของเสียน้อยทีส่ ุด 2.2 ข้นั ตอนกำรนำของใช้มำใชซ้ ้ำ เป็นกำรยดื อำยุกำรใช้งำนกอ่ นจะนำไปท้งิ เช่น กำรนำ ขวด พลำสตกิ มำบรรจุกำรใช้กระดำษ 2 หนำ้ 3. กำรนำกลับมำผลิตใหม่ เป็นกำรแยกวัสดุทไ่ี ม่สำมำรถนำกลับมำใชซ้ ้ำได้ออกจำกขยะและ รวบรวมใช้ เป็นวัตถุดบิ ในกำรผลิตสนิ คำ้ ข้ึนใหม่หรือเรียกวำ่ รีไซเคลิ 4. กำรหลีกเลี่ยงกำรใช้วัสดุกำจัดยำก เช่น กล่องโฟม กำรใช้จำนหรือแก้วกระดำษ ยำฆ่ำ แมลง ควรใช้ สมนุ ไพรเป็นสำรกำจดั 5. กำรซ่อมแซมนำกลับมำใช้ใหม่เป็นกำรซ่อมแซมวัสดุท่ีใช้แล้ว ที่สำมำรถซ่อมแซมนำ กลับมำใชใ้ หมไ่ ด้ เช่น กำรซ่อมแซมเสื้อผำ้ อุปกรณไ์ ฟฟำ้ ชำรดุ เปน็ ต้น สรุปได้วา่ เราทุกคนตอ้ งความสาคญั กับการแยกทิ้งขยะรีไซเคิล เพียงแค่สงั เกตสญั ลักษณข์ ยะ รไี ซเคิลท่มี ีลักษณะลกู ศรวน เช่น หากต้องการท้ิงขวดนา้ พลาสติก ใหท้ ิง้ ในถังสเี หลอื ง และกอ่ นทิ้ง ให้ เทน้าหรือของเหลวออกให้หมดขวด ใช้มือบิดหรือบีบเล็กมีขนาดเล็กเพ่ือประหยัดพ้ืนท่ีในถังขยะ แต่ หากมีส่ิงสกปรกควรลา้ งทาความสะอาดและตากให้แหง้

    10 3. การนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) กำรแปรรูปของใช้แล้วกลับมำใช้ใหม่ หรือกระบวนกำรที่เรียกว่ำ \"รีไซเคิล\" คือ กำรนำเอำ ของเสียที่ ผ่ำนกำรใช้แล้วกลับมำใช้ใหม่ท่ีอำจเหมือนเดิม หรือไม่เหมือนเดิมก็ได้ ของใช้แล้วจำก ภำคอุตสำหกรรม นำกลับมำใช้ใหม่ ได้แก่ กระดำษ แก้ว กระจก อะลูมิเนียม และพลำสติก \"กำรรีไซเคิล\" เป็นหนึ่งในวธิ ีกำรลดขยะ ลดมลพิษให้กับสภำพแวดล้อม ลดกำรใช้พลงั งำนและลดกำร ใช้ทรัพยำกรธรรมชำติของโลกไมใ่ หถ้ ูกนำมำใช้ สิ้นเปลืองมำกเกนิ ไป ของใช้แล้วจำกภำคอุตสำหกรรม นำกลับมำใช้ใหม่ ได้แก่ กระดำษ แก้ว กระจก อะลูมิเนียม และพลำสติก \"กำรรีไซเคิล\" เป็นหนึ่งใน วิธีกำรลดขยะ ลดมลพิษให้กับสภำพแวดล้อม ลดกำรใช้ พลังงำนและลดกำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติ ของโลกไม่ใหถ้ กู นำมำใช้สิน้ เปลอื งมำกเกินไป กำรแปรรูปของใชแ้ ลว้ กลบั มำใชใ้ หมม่ ีกระบวนกำรอยู่ 4 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ 1. กำรเกบ็ รวบรวม 2. กำรแยกประเภทวัสดุแตล่ ะชนิดออกจำกกนั 3. กำรผลิตหรือปรบั ปรงุ 4. กำรนำมำใช้ประโยชน์ในข้ันตอนกำรผลิตหรือปรับปรุงนั้น วัสดุท่ีแตกต่ำงชนิดกัน จะมี กรรมวิธีใน กำรผลิต แตกต่ำงกัน เช่น ขวด แก้วที่ต่ำงสี พลำสติกที่ต่ำงชนิด หรือกระดำษที่เน้ือ กระดำษ และสีทแ่ี ตกตำ่ ง กัน ตอ้ งแยกประเภทออกจำก เมื่อผ่ำนข้ันตอนกำรผลิตแล้วของเสียที่ใช้แล้วเหล่ำนี้จะกลำยมำอยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ใหม่ จำกนั้นจึง เข้ำสู่ข้ันตอนในกำรนำมำใช้ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์รีไซเคิลจึงสำมำรถสังเกตได้จำก เครอ่ื งหมำยทีประทบั ไว้ บน ผลติ ภัณฑท์ ่ีผลติ ทุกครงั้ กำรรไี ซเคิล ทำให้โลกมีจำนวนขยะลดน้อยลง และชว่ ยลดปรมิ ำณกำรนำทรัพยำกรธรรมชำติ มำใช้ เป็นวัตถุดิบในโรงงำนอุตสำหกรรมให้น้อยลง ลดกำรถลุงแร่บริสุทธิ์ และลดปริมำณกำรโค่น ทำลำยป่ำไม้ลงดว้ ย กำรหมุนเวียนนำมำผลติ ใหม่ยงั เป็นกำรลดกำรใชพ้ ลังงำนจำกใต้ภิภพ ลดปรมิ ำณ กำรปลอ่ ยกำ๊ ซคำร์บอนไดออกไซดข์ ึ้นส่อู ำกำศและลดภำวะ กำรเกดิ ฝนกรด ตัวอย่าง ขยะรีไซเคิลประเภทขวดพลาสตกิ ขวดพลาสติก พลำสติก ผลิตขึ้นจำกผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และอำจผลิตเพ่ือให้มีสีต่ำง ๆ ใสแข็งหรืออ่อน และยังสำมำรถหลอมละลำยเป็นรูปร่ำงต่ำง ๆ ได้โดยใช้แรงดันและควำมร้อนและคุณสมบัติของ พลำสติกคอื ไม่ สลำยตวั ประโยชน์ของพลำสติก คือ นำ้ หนักเบำ ทำใหส้ ะดวกต่อกำรถือหิ้ว และกำร ขนส่ง ตลอด จนมีควำม ทนทำนอยู่ได้เป็นเวลำนำน และเน่ืองจำกสำมำรถใช้ประโยชน์ได้มำก พลำสติกจงึ เขำ้ มำแทนที่ อยำ่ งไรกต็ ำมถึงแม้พลำสติกจะมปี ระโยชน์ แตก่ ม็ ีข้อเสยี คือพลำสติกผลิตมำ จำกทรัพยำกรธรรมชำติที่ ไม่สำมำรถเกิดข้ึนใหม่ได้ เช่น น้ำมัน ถ่ำนหิน นอกจำกน้ี ก็ยำกต่อกำร นำมำรีไซเคิล และต้องเสียค่ำใช้จ่ำยสูง และที่สำคัญเนื่องจำกพลำสติกมีหลำยชนิด กำรนำมำผลิตใช้ ใหม่จะต้องแยกพลำสติกแต่ละชนิดออกจำกกัน ปัจจุบันจึงมีเพียงถุงพลำสติกเท่ำน้ันท่ีสำมำรถนำมำ ผลิตใช้ใหม่ได้ แต่มีกำรนำถุงพลำสติกที่ใช้แล้วเพียงร้อยละ 3 ของจำนวนถุงพลำสติกที่ผลิตออกมำ

    11 เท่ำน้ันที่นำกลับเข้ำสู่โรงงำนเพื่อกำรรีไซเคิล ดังน้ัน พลำสติกที่ถูกทิ้ง ขยะในปัจจุบันจึงคงอยู่ใน สภำพแวดล้อมไปอกี นำนนับหลำยรอ้ ยปี พลำสติก แบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท ดังน้ี พลำสตกิ แบง่ เปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท ดงั น้ี 1. พลำสติกท่ีคงรูปถำวรหรอื พลำสติกเทอรโ์ มเซท (Thermosetting Plastic) เป็น พลำสตกิ ท่ี แข็งตัวด้วยควำมร้อนแบบไม่ย้อนกลับ สำมำรถข้ึนรูปผลิตภัณฑ์รูปทรงต่ำง ๆ ได้โดยท ำให้แข็งตัว ด้วยควำม รอ้ นในแมแ่ บบ และเม่อื แข็งตัวแลว้ จะมคี วำมคงรปู สูงมำก เนอ่ื งจำกไมส่ ำมำรถหลอมเหลว ได้อีก พลำสติกใน กลุม่ นจี้ ึงจดั เปน็ ผลติ ภัณฑพ์ ลำสตกิ ประเภท “รไี ซเคลิ ไม่ได”้ 2. พลำสติกท่ีสำมำรถนำกลับมำใช้ใหม่ได้หรือเทอร์โมพลำสติก (Thermosetting) เป็นพลำสติกท่ีหลอมตัวด้วยควำมร้อน และกลับแข็งตัวเมื่ออุณหภูมิลดต่ำลง พลำสติกชนิดนี้จัดเป็น วัสดุประเภทรไี ซเคิลได้ เพ่ือให้งำ่ ยต่อกำรแยกชนิดบรรจุภัณฑพ์ ลำสติกเพอื่ นำกลบั มำแปรรูปใชใ้ หม่ได้ อยำ่ งมีประสิทธภิ ำพ ไดม้ ี กำรนำสญั ลักษณม์ ำใช้บนบรรจุภณั ฑ์อย่ำงแพร่หลำย ดงั นี้ ตารางที่ 1 สญั ลักษณบ์ นบรรจุภัณฑ์ขวดตำ่ งๆ สัญลักษณ์ ฃนิดพลำสตกิ กำรใชง้ ำน ตวั อยำ่ ง PETE ขวดเครือ่ งดมื่ ทไ่ี มใ่ ช่ (Polyethylene แอลกอฮอลข์ วด นำ้ terephthalate ด่ืม ขวดนำ้ มนั พชื ethylene) HDPE ขวดบรรจุนม น้ำดื่ม (High-Density เคร่อื งสำอำง แชมพู Polyethylene) สบู่เหลว ถงุ Shopping หรือ retail bags PVC พลำสติกหอ่ (polyvinyl เนื้อสัตว์ อุปกรณ์ chloride) กำรแพทย์ (medical tubing) LDPE ถุงบรรจอุ ำหำรแช่ (Low Density แขง็ ขวดน้ำยำซกั Poly Ethylene) แหง้

    12 สญั ลกั ษณ์ ฃนิดพลำสติก กำรใชง้ ำน ตัวอย่ำง PP ขวดซอสมะเขือเทศ (Polypropylene) ภำชนะบรรจุเนย เทียม ขวดยำ อุปกรณก์ ำรแพทย์ (medical tubing) PS กล่องใส่ CD กล่อง (Polystyrene) อำหำรสะดวกซ้ือ รวมทัง้ กลอ่ งโฟม ถว้ ย จำนอำหำร ภำรชนะบรรจไุ ข่ พลำสติกอ่ืนๆ เปน็ พลำสติกอ่นื ๆ นอกเหนือจำก พลำสติกทงั้ 6 ประเภท พบ มำกมำย หลำย รูปแบบ เช่น สนั รองเทำ้ ปำกกำ สรุปได้ว่าการรีไซเคิล ทาให้โลกมีจานวนขยะลดน้อยลง และช่วยลดปริมาณการนา ทรัพยากรธรรมชาติ มาใชอ้ ย่างส้นิ เปลือง โดยผา่ นกระบวนการรีไซเคิล ทเ่ี รม่ิ ตน้ จากการขัดแยกขยะ 4. แนวคิด 3Rs รกั ษโ์ ลก กำรลดขยะ ดว้ ยแนวคดิ 3R เป็นแนวคดิ และแนวทำงในกำรปฏบิ ัตเิ พือ่ กำรใช้ทรพั ยำกรทีม่ อี ยู่ อย่ำงคุ้มคำ่ สำมำรถชว่ ยลดปริมำณขยะให้น้อยลง ดว้ ยกำรลดกำรใช้ กำรนำกลับมำใชซ้ ำ้ และกำรนำ ขยะกลับมำใช้ใหม่ (Reduce Reuse and Recycle: 3Rs) โดยเริ่มต้นที่กำรใช้ให้น้อยลง ลดกำรใช้ วัสดุ ผลิตภัณฑ์ ท่ีก่อให้เกิดขยะเพ่ือลดปริมำณขยะที่เกิดข้ึน (Reduce) กำรนำวัสดุ ผลิตภัณฑ์ท่ียัง สำมำรถใช้งำนได้ กลับมำใช้ซ้ำ (Reuse) และกำรนำวัสดุ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้งำนแล้วมำแปรรูป เพื่อนำ กลบั มำใชป้ ระโยชนใ์ หม่ หรือ รไี ซเคลิ (Recycle) ลดการสร้างขยะในทที่ างาน - แก้ไขบนหน้ำจอไม่ใช่บนกระดำษ เพ่ือลดกำรใช้กระดำษ - ใชอ้ ีเมลเพื่อลดกำรใชก้ ระดำษ - คิดกอ่ นพิมพ์หรือถ่ำยสำเนำ พิมพ์และทำสำเนำใหน้ ้อยท่ีสุด - ส่งและจัดเก็บเอกสำร เช่น เอกสำรท่ีจำเป็นและข้อเสนอทำงธุรกิจทำง อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ทนที่จะเป็นกระดำษ

    13 - เมือ่ ตอ้ งพมิ พห์ รอื ทำสำเนำใหท้ ำสองด้ำน - หมุนเวยี นเอกสำรแทนกำรทำสำเนำเฉพำะสำหรับทุกคน - เปลี่ยนระยะขอบบนเอกสำร Word ระยะขอบเริ่มต้นของเอกสำรท่ีพิมพ์คือ 1.25 นิ้วทุกด้ำน เพียงเปลี่ยนระยะขอบเป็น 0.75 นิ้วจะช่วยลดปริมำณกระดำษที่ใช้ลง เกอื บ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์ ลดการสร้างขยะในชีวิตประจาวัน - ใชถ้ ุงผ้ำ ตระกร้ำ เพือ่ ลดกำรใชถ้ งุ พลำสติก - ใช้ผำ้ เช็ดหนำ้ แทนกำรใชก้ ระดำษชำระ - ใชป้ น่ิ โต หรือกล่องข้ำวใสอ่ ำหำร แทนกำรใส่กล่องโฟม - ใช้กระติกน้ำ หรือขวดน้ำแบบพกพำ ที่สำมำรถ Refill ได้ แทนกำรซ้ือน้ำดม่ื ที่บรรจุ ในขวดพลำสติกแบบใช้ครัง้ เดยี วทิ้ง - ปฏิเสธกำรรับถงุ พลำสติก เมือ่ ซ้อื ของชิ้นเล็กหรอื นอ้ ยชน้ิ - เลือกซ้ือบรรจุภัณฑ์ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เลือกทำนอำหำรท่ีร้ำนแทนกำรใส่ กล่องกลบั - หลกี เล่ยี งใชว้ สั ดุส้ินเปลอื งแบบใชค้ รัง้ เดียวทงิ้ Reuse – นากลับมาใช้ซ้า (ใช้แล้วใชอ้ กี ) กำรใชซ้ ำ้ เปน็ กำรใชท้ รพั ยำกรใหค้ ุ้มคำ่ ท่ีสุด โดยกำรนำส่งิ ของเครอ่ื งใช้มำใช้ซำ้ ซึ่งบำงอยำ่ ง อำจใช้ซ้ำได้หลำย ๆ ครั้ง เช่น ใช้บรรจุภัณฑ์ซ้ำหลำยคร้ังก่อนท้ิง ใช้ภำชนะท่ีสำมำรถใช้ซ้ำได้ เลือก ซอ้ื สินค้ำท่สี ำมำรถใช้ซ้ำได้ ซ่งึ นอกจำกชว่ ยลดกำรเกดิ ขยะแล้ว ยังชว่ ยลดปริมำณกำรตดั ต้นไม้ได้เป็น จำนวนมำก - เลือกใชถ้ ่ำนไฟฉำยแบบชำรต์ ได้ - ดดั แปลงของเหลอื ใช้เพอ่ื ใช้ประโยชน์ - เสือ้ ผ้ำเก่ำนำไปบริจำค หรอื ถูพ้นื - ซอ่ มแซมอุปกรณ์ตำ่ งๆ ไมท่ ิง้ เป็นขยะ - กำรใชก้ ระดำษ 2 หนำ้ - กำรนำกระดำษรำยงำนท่ีเขียนแล้ว 1 หน้ำ มำใช้ในหน้ำที่เหลือหรืออำจนำมำทำ เปน็ กระดำษโน้ต Recycle – นากลบั มาใชใ้ หม่ คัดแยกขยะมูลฝอยแตล่ ะประเภท ที่สำมำรถนำกลับมำใชใ้ หมห่ มุนเวียนกลับเขำ้ สู่ กระบวนกำรผลติ ของแตล่ ะประเภทได้ - ขวดแกว้ กระดำษ พลำสติก โลหะ - เลอื กซอ้ื สินค้ำทน่ี ำกลับมำรีไซเคลิ ไดห้ รือทีผ่ ลติ จำกวสั ดุรีไซเคิล

    14 สรุปได้ว่าหากเราทุกคน สามารถทาไดค้ รบท้ัง 3Rs ก็จะสามารถลดปริมาณขยะทีเ่ กิดขน้ึ ได้ใน ทุกๆ วัน ลดการสรา้ งมลพษิ แก่โลก และยังนากลับมาใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า แทนที่จะถูกท้ิงแลว้ นาไปกาจัด และนอกจากช่วยลดปริมาณขยะลงได้แล้ว ยังช่วยลดปริมาณการใช้ทรัพยากร ใช้ ทรพั ยากรอยา่ งคมุ คา่ ชว่ ยอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมไดด้ ้วย 5. โมเมนต์ของแรง 5.1 คาน (Lever) คำน คือ เครือ่ งกลชนดิ หนงึ่ มีลกั ษณะเป็นแท่งยำว หนนุ หนุนหรือจุดฟัลครมั ใชเ้ พอื่ เพ่มิ พูนควำมสำมำรถในกำรทำงำน เช่น ชว่ ยผอ่ นแรงหรอื อำนวยควำมสะดวกในกำรทำงำน ภาพประกอบท่ี 1 แสดงสว่ นประกอบของคาน AB เมือ่ W คอื นำ้ หนักหรือแรงตำ้ นทำนทีก่ ระทำกับคำน หน่วย นวิ ตัน E คือ แรงทใ่ี ชห้ รอื แรงพยำยำมท่ีใช้ในกำรทำงำน หนว่ ย นิวตนั F คอื จุดหนุนหรอื จุดฟลั ครัม เม่อื แรงกระทำกบั คำนโดยแนวแรงจะหมนุ รอบจดุ น้ี I1 คือ ระยะทำงตัง้ ฉำกจำกแนวแรง W ถึงจุด F เรยี กแขนของแรงต้ำนทำน หน่วย m หรอื cm I2 คือ ระยะทำงดงั ฉำกจำกแนวแรง E ถงึ จุด F เรียกแขนของแรงพยำยำม หน่วย m หรอื cm จำกรูป คำน AB ขนำดสม่ำเสมอวำงบนจุดรองรับ F ซึ่งอยู่ตรงจุดกึ่งกลำงคำน น้ำหนักของ คำนตก ผ่ำนจุด F ทำให้คำนวำงตัวน่ิงในแนวรำบ อยู่ในสภำพที่เรียกว่ำ สภำวะสมดุล คือ คำนจะไม่ เคลอื่ นที่และ ไม่หมุน คำนจำแนกออกเป็น 3 ประเภท หรอื 3 อนั ดับ คือ 1. คานอันดบั หน่งึ (First-class Lever) เปน็ คำนท่ีมีจดุ หมนุ อยู่ระหว่ำงแรงพยำยำมกับแรง ต้ำนทำน ได้แก่ ชะแลง กรรไกรตัดผ้ำ ตำชั่งจีน คีมตัดลวด กรรเชียงเรือ ค้อนถอนตะปู เคร่ืองกลที่ จัดเป็นคำนอันดับหนง่ึ ส่วนใหญ่จะช่วยผอ่ นแรง (ไดเ้ ปรยี บเชงิ กล) ถา้ แขนของแรงพยายามมากกว่า แขน ของแรงตา้ นทาน WFE

    15 2. คานอันดบั สอง (Second-class Lever) เป็นคำนทมี่ แี รงต้ำนทำนอยรู่ ะหวำ่ งจุดหมนุ กับ แรง พยำยำม ได้แก่ รถเข็นทรำย ที่เปิดขวดน้ำอัดลม เครื่องตัดกระดำษ กรรไกรหนีบหมำก ท่ีหนีบ กล้วย ทเ่ี ปดิ กระป๋องนม เคร่ืองกลท่ีจัดเปน็ คำนอันดับสอง โดยท่ัวไปจะช่วยผ่อนแรง(ได้เปรียบเชิงกล) เพราะ แขนของแรงพยายามยาวกวา่ แขนของแรงตา้ นทาน F WE 3. คานอันดับสาม (Third-class Lever) เป็นคำนท่ีมีแรงพยำยำมอยู่ระหว่ำงจุดหมุนกับ แรง ตำ้ นทำน ได้แก่ คมี คบี น้ำแข็ง คมี คีบถ่ำน แหนบ ไมก้ วำด พลัว่ ตกั ดิน ตะเกียบ เครื่องกลท่จี ัดเปน็ คำน อันดับสำมจะไม่ช่วยผอ่ นแรง แต่จะใหค้ วามสะดวกในการทางาน F EW

    16 5.2 โมเมนตข์ องแรง (Moment of a Force : M) โมเมนต์ของแรง หรืออำจเรยี กส้นั ๆ ว่ำ โมเมนต์ (Moment) หรอื ทอร์ค (Torque) หมำยถึง ผลของแรงซ่ึงกระทำต่อวัตถุ เพ่ือให้วัตถุน้ันหมุนรอบจุดหมุนหรือจุดฟัลครัม มีค่ำเท่ำกับ ผลคูณของ แรงกบั ระยะทำงจำกจุดหมนุ ไปต้งั ฉำกกับแนวแรง โมเมนต์ = แรง x ระยะทำงจำกจดหมุนไปตัง้ ฉำกกับแนวตรง หรอื ขนำดของโมเมนต์ เมื่อ = โมเมนตข์ องแรง = แรงทีก่ ระทำตอ่ กำรหมุน = ระยะตัง้ ฉำกจำกจดุ หมนุ ไปยังแนวแรง โมเมนต์ เป็นปรมิ ำณเวกเตอร์ (มที ัง้ ขนำดและทิศทำง) หนว่ ยของแรงเป็นนวิ ตัน (N) และ หนว่ ย ของระยะทำงเป็นเมตร (m) ดังนน้ั หน่วยของโมเมนตจ์ ึงเปน็ นวิ ตนั -เมตร (Nm) โมเมนตม์ ีค่ำเป็นศูนย์ เมื่อ 1. แรงมีค่ำเป็นศูนย์ 2. แนวแรงผำ่ นจดุ หมุน โมเมนต์ของแรง สำมำรถแบง่ ตำมทศิ ของกำรหมนุ ได้ 2 ชนดิ ดังน้ี 1.โมเมนตต์ ามเข็มนาฬิกา เกิดแรงพยำยำมทำให้คำนหมนุ รอบจุดหมนุ ในทศิ ตำมเข็มนำฬิกำ\\ E 2.โมเมนตท์ วนเขม็ นาฬกิ า เกดิ แรงพยำยำมที่ทำใหค้ ำนหมนุ รอบจดุ หมุนในทิศทวนเขม็ นำฬิกำ E

    17 ในกำรพจิ ำรณำวำ่ จะเปน็ โมเมนต์ทวนเขม็ นำฬกิ ำหรอื โมเมนตต์ ำมเขม็ นำฬกิ ำให้พจิ ำรณำจุด หมุน เปน็ หลักดงั น้ี เมื่อคิดแนวแรง X นิวตัน จะเห็นได้ว่ำ เมื่อคิดแนวแรง Y นิวตัน จะเห็นได้ว่ำ ก้อนน้ำหนกั X จะดึงคำนลงมำให้หมนุ รอบ ก้อนน้ำหนัก Y จะดึงคำนลงมำให้ จุด ดังนั้น จึงจัดเป็นโมเมนต์ทวนเข็ม หมุนรอบจุด หมุน ดังนั้น จึงจัดเป็น นำฬกิ ำ ดังรปู โมเมนตต์ ำมเข็มนำฬกิ ำ ดงั รูป กฎของโมเมนต์ กล่ำวว่ำ “เมื่อมีแรงมำกระทำให้เกิดโมเมนต์ข้ึนรอบจดุ ใดจุดหน่ึงต้ังแต่สองแรงข้ึนไปแลว้ ทำ ให้ วัตถุนั้นในสมดุล (อยู่นิ่ง) เม่ือผลรวมของโมเมนต์ตำมเข็มนำฬิกำเท่ำกับรวมโมเมนต์ทวน เขม็ นำฬกิ ำ” เมือ่ วัตถอุ ยู่ในสภำพสมดุลตอ่ กำรหมนุ ผลรวมของโมเมนตต์ ำมเขม็ นำฬิกำ = ผลรวมของโมเมนตท์ วนเขม็ นำฬกิ ำ ∑ ������ตำม = ∑ ������ทวน F1 x l1 = F2 x l2

    18 การคานวณเร่ืองคาน มหี ลักดงั น้ี 1) ถ้ำโจทย์ไม่บอกน้ำหนกั ของคำนมำให้ ในกำรคำนวณเรำไมต่ อ้ งคดิ น้ำหนักของคำน โดยถือ วำ่ คำนน้ันเบำมำก เวน้ เสยี แตว่ ่ำโจทยส์ ั่งใหห้ ำน้ำหนักของคำนเท่ำน้ัน 2) กำรคำนวณให้ถอื ว่ำคำนมลี กั ษณะเปน็ เอกรปู คือมขี นำดสม่ำเสมอกันตลอดต้ังแต่หวั จรด ท้ำย 3) ถ้ำโจทย์บอกนำ้ หนกั ของคำนมำให้ ตอ้ งคดิ นำ้ หนักของคำนด้วย โดยถอื วำ่ นำ้ หนกั ของ คำนจะ ตกตรงจุดกึ่งกลำงคำนเสมอ (หรือจดุ ศูนย์ถว่ ง เพรำะเปน็ คำนเอกรูป) 4) เมือ่ คำนอยใู่ นสมดุล โมเมนตท์ วนเข็มนำฬิกำยอ่ มเทำ่ กับโมเมนตต์ ำมเข็มนำฬิกำและแรง ข้นึ เท่ำกบั แรงลง(กระทำตอ่ คำน) 5) โมเมนต์ทวนเข็มนำฬกิ ำหรือโมเมนต์ตำมเข็มนำฬกิ ำมีคำ่ เทำ่ กบั ผลบวกของโมเมนตย์ อ่ ย ของแต่ ละชนดิ 6) เมื่อมแี รงมำกระทำ จุดหมนุ ค่ำของโมเมนตท์ ีเ่ กิดจำกแรงนั้นกอ่ นมคี ำ่ เทำ่ กับศนู ย์ สรปุ ไดว้ า่ โดยทวั่ ไปเราใช้คานเพือ่ ชว่ ยผอ่ นแรง ถ้าตอ้ งการออกแรงน้อยๆ หรอื ตอ้ งการให้ คานช่วยผอ่ นแรงมากๆ ทาไดโ้ ดยเพมิ่ ระยะตง้ั ฉานจากจดุ หมุนไปยังแนวแรง

    บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินการ 1. วสั ดุอปุ กรณ์ 1. ไม้ 2. นอ็ ต 3. สกรู 4. สายยาง 5. ตะปู 6. แทง่ เหล็ก 2. ขั้นตอนการสรา้ งและใชเ้ ครื่องบบี อัดขวดนา้ พลาสตกิ ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบเครอื่ งอัดขวดนา้ พลาสติกดว้ ยแรงผลัก ออกแบบและร่างเคา้ โครงเครอื่ งอดั ขวดนา้ พลาสตกิ ปรมิ าตร ไม่เกนิ 1500 มิลลลิ ติ ร

    20 ระดับ 1 ระดบั 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดบั 5 ขนั้ ตอนที่ 2 สร้างเครอื่ งบบี อดั ขวดนา้ พลาสตกิ ดว้ ยแรงผลกั 1. สร้างเครอ่ื งบีบอดั ขวดนา้ พลาสติก ตามโครงรา่ งท่อี อกแบบไว้

    21 ข้ันตอนท่ี 3 นาเครื่องบีบอัดขวดน้าพลาสติกด้วยแรงผลักด้วยแรงผลักไปทดลองใช้ และ เปรยี บเทยี บการออกแรง 1. นกั เรียนน้าเครือ่ งอดั ขวดนา้ พลาสติก ปรมิ าตร ไม่เกิน 1500 มลิ ลิลิตร ไปใช้บีบอัด โดยใช้ ในห้องเรียน ร้านค้าสวัสดิการภายในโรงเรียน ร้านค้าข้างโรงเรียน วัดใกล้โรงเรียน (วัดศรีเสวตวนา ราม) และโรงงานลูกชนิ ข้างโรงเรียน 2. ทดสอบการออกแรงว่า ท่ีระดับจุดหมุนใด ใช้แรงในการผลักน้อย โดยระดับของจุดหมุน จะมี 5 ระดับ โดยระดับท่ี 1 คือ จุดหมุนอยู่ใกล้แรงผลักมากที่สุด และระดับที่ 5 คือจุดหมุนอยู่ไกล จากแรงผลกั มากทสี่ ดุ 3. เขียนแผนภาพของแรง จุดหมุน และความยาวของคานจนจากแนวแรงจนถึงจุดหมุน เพื่อเปรียบเทียบจุดหมุนแต่ละจุดลงในตารางบันทึกผล และอภิปรายผล โดยใช้สูตรโมเมนต์ของแรง ดังนี โมเมนต์ (นวิ ตนั -เมตร) = แรง (นิวตัน) X ระยะตง้ั ฉากจากแนวแรงถึงจดุ หมุน (เมตร) M =FXL ขั้นตอนท่ี 4 นาขวดนา้ พลาสติกทบ่ี บี อดั แลว้ มาดาเนนิ การ ดังน้ี 1. น้าขวดน้าพลาสติกปริมาตร 350 มิลลิลิตร และ 600 มิลลิลิตร มาวัดความยาวด้วย ไม้บรรทัดตามแนวยาว (หนว่ ยเซนติเมตร) แลว้ หาคา่ เฉลยี่ ความยาวของขวดพลาสตกิ ท่ีถูกบบี อดั 2. น้าขวดพลาสติกที่ถูกบีบอัดด้วยเครื่องบีบอัดขวดพลาสติกด้วยแรงผลัก บรรจุลงตะกร้า ขนาด 38 × 24 × 24 ตารางเซนติเมตร นบั จ้านวนขวด และจดบันทกึ 3. ท้าเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่เปลี่ยนเปล่ียนขวดน้าพลาสติกที่ถูกบีบอัดตามแนวขวางด้วยแรง มือ และขวดน้าพลาสตกิ ทีไ่ ม่ถูกบีบอัด

    บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ผลการดาเนนิ งาน 1. การประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งบบี อัดขวดน้าพลาสตกิ กอ่ นการจัดเกบ็ ขยะประเภทขวดนา้ พลาสตกิ ระดบั ภาพประกอบ ระยะจากจุดหมุน ค้านวณจากสตู ร ของจุดหมนุ จนถึงแนวแรง M = F x L 5 นวิ M = F x 0.127 1 หรอื M 0.127 เมตร F = 0.127 6.5 นวิ M = F x 0.165 2 หรือ M 0.165 เมตร F = 0.165 8 นวิ M = F x 0.203 3 หรอื M 0.203 เมตร F = 0.203 9.5 นวิ M = F x 0.241 4 หรอื M 0.241 เมตร F = 0.241 11 นิว M = F x 0.279 5 หรอื M 0.279 เมตร F = 0.279

    23 2. การเพิ่มพนื ท่ีในการเกบ็ ขยะประเภทขวดนา้ พลาสตกิ ในหอ้ งเรยี น เครื่องบีบอัดขวดน้าพลาสติก ปริมาตรไม่เกิน 1500 มิลลิลิตร ที่สร้างขึนโดยใชห้ ลกั การเรอ่ื ง คานและแรงผลัก สามารถบีบอัดขวดน้าพลาสติกได้ โดยใช้ขวดน้าพลาสติกที่มีปริมาตรที่แตกต่างกัน 2 แบบ คอื ปรมิ าตร 350 และ 600 มลิ ลิลิตร โดย การบีบอดั ขวดนา้ พลาสตกิ ปรมิ าตร 350 มลิ ลิลติ ร ตามแนวยาวได้หดสัน โดยมีค่าเฉล่ีย 8.38 เซนติเมตร และสามารถบีบอัดขวดน้าพลาสติกปริมาตร 600 มลิ ลิลติ ร ตามแนวยาวไดห้ ดสัน โดยมีค่าเฉลยี่ 12.5 เซนตเิ มตร ดังตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉล่ยี ของความยาวของขวดน้าพลาสติกขนาดไมเ่ กิน 600 มลิ ลิลิตร ทีถ่ กู บีบอดั ด้วยเคร่อื งบีบอดั ขวดนา้ พลาสติกตามแนวยาว ปริมาตรของ จ้านวนขวดที่วัดความยาว (เซนติเมตร) คา่ เฉลย่ี ขวดนา้ (x̅) ขวดที่ 1 ขวดที่ 2 ขวดที่ 3 ขวดที่ 4 (มลิ ลิลิตร) 8.38 350 8.5 8 9 8 12.5 600 14 12 11 13 ภาพที่ 1 แสดงการวัดความยาวของขวด ปรมิ าตร 350 มิลลิลติ ร หลังการบบี อดั จานวน 4 ขวด ภาพ ก วดั ความยาวขวดได้ 8.5 เซนติเมตร, ภาพ ข วัดความยาวขวดได้ 8 เซนติเมตร ภาพ ค วดั ความยาวขวดได้ 9 เซนตเิ มตร, ภาพ ง วัดความยาวขวดได้ 8 เซนตเิ มตร

    24 ภาพที่ 2 แสดงการวัดความยาวของขวด ปรมิ าตร 600 มิลลิลติ ร หลังการบีบอัด จานวน 4 ขวด ภาพ จ วดั ความยาวขวดได้ 14 เซนติเมตร, ภาพ ฉ วัดความยาวขวดได้ 12 เซนติเมตร ภาพ ช วัดความยาวขวดได้ 11 เซนติเมตร, ภาพ ซ วดั ความยาวขวดได้ 13 เซนติเมตร การบีบอัดขวดน้าพลาสติกก่อนการคัดแยกขยะ เป็นการบริหารจัดการขยะและการจัดการ พนื ทใี่ นการเก็บขยะทีม่ อี ยอู่ ยา่ งจา้ กัดภายในหอ้ งเรียนของโรงเรยี นเทศบาลเมืองสุโขทัย ตามโครงการ ธนาคารขยะของโรงเรียน อีกทังยังสอดคล้องกับเป้าหมายและเป้าประสงค์การพัฒนาอย่างย่ังยืน ของ SDGs เป้าหมายท่ี 12 สร้างหลักประกันให้มีแบบแผนการผลิตและการบริโภคที่ย่ังยืน (Ensure sustainable consumption and production patterns) ข้อที่ 5 ลดการเกิดของเสียโดยให้มี การป้องกัน การลดปริมาณ การใช้ซ้า และการน้ากลับมาใช้ใหม่ ภายในปี 2573 โดยพบว่า ภายใน ห้องเรียนแต่ละห้องของโรงเรียนเทศบาลเมืองสุโขทัย จะมีตะกร้า ขนาด 38 × 24 × 24 ตาราง เซนตเิ มตร สา้ หรบั ใสข่ วดน้าพลาสตกิ โดยผู้จัดท้าได้ท้าการทดลองเปรียบเทียบจ้านวนขวดพลาสติก 3 แบบ ท่ีบรรจุลงในตะกร้า ได้แก่ 1) ขวดน้าพลาสติกท่ีถูกบีบอัดในแนวบางด้วยเครื่องบีบอัดขวดน้าพลาสติกด้วยแรงผลัก 2) ขวดน้าพลาสตกิ ที่ถูกบีบอดั ด้วยการบีบอดั ในแนวขวางด้วยการใชม้ ือบีบ และ 3) ขวดน้าพลาสตกิ ทีไ่ ม่ได้ถูกบบี อดั ผลการทดลอง พบว่า ขวดน้าพลาสติกทถี่ กู บีบอดั ในแนวยาวด้วยเคร่ืองบีบอัดขวดนา้ พลาสติกด้วยแรงผลัก สามารถจัดเก็บขวดพลาสติกในตะกร้าได้ จ้านวน 55 ขวด ขณะที่ ขวดน้าพลาสติกท่ีถูกบีบอัดด้วยการบีบอัดในแนวขวางด้วยการใช้มือบีบ สามารถจัดเก็บลงในตะกร้า ได้ จ้านวน 40 ขวด และขวดน้าพลาสติกท่ีไม่ได้ถูกบีบอัด สามารถจัดเก็บลงในตะกร้าได้ จ้านวน 25 ขวด ดงั ตารางท่ี 2

    25 ตารางท่ี 2 แสดงจานวนขวดนาพลาสติกที่ถูกบีบอัดด้วยเคร่ืองบีบอัดขวดนาพลาสติกด้วยแรง ผลัก ขวดนาพลาสติกที่ถูกบีบอัดด้วยการบีบอัดในแนวขวางด้วยการใช้มือบีบ และขวดนา พลาสตกิ ท่ีไม่ได้ถกู บีบอดั วิธกี ารบีบอดั ขวดนาพลาสตกิ จานวนขวดพลาสตกิ ท่ีใส่ลงในตะกรา้ 1. ใช้เครื่องบบี อัดขวดนา้ พลาสตกิ ขนาด 38 × 24 × 24 ตารางเซนติเมตร 2. ถกู บบี อัดด้วยการใชม้ ือบีบ 55 3. ไม่ถูกบีบอัด 40 25 ภาพ 3 แสดงภาพการบรรจขุ วดพลาสตกิ ทงั 3 รูปแบบ ลงในตะกรา้ ขนาด 38 × 24 × 24 ตาราง เซนตเิ มตร ภาพ ฌ ภาพ ญ ภาพ ฎ ภาพ ฌ ขวดพลาสตกิ ท่ีถูกบีบอดั ด้วยเครือ่ งอีดอัดขวดพลาสติกดว้ ยแรงผลกั ภาพ ญ ขวดพลาสตกิ ท่ถี กู บีบอดั ด้วยการใช้มือบบี ภาพ ฎ ขวดพลาสติกที่ไม่ถูกบบี อดั

    บทท่ี 5 สรุปผล อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ สรุปผล 1. เครอื่ งบีบอัดขวดนำ้ พลำสตกิ สำมำรถบบี อัดขวดนำ้ พลำสตกิ ได้ 2. ขวดนำ้ พลำสตกิ ท่ถี กู บีบอดั แล้ว สำมำรถจดั เกบ็ ในพืนทจี่ ดั เก็บได้จำ้ นวนมำกขึน อภปิ รายผล จำกกำรประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งอดั ขวดนำ้ พลำสติก สำมำรถอภิปรำยผลได้ ดังนี 1. เคร่อื งบบี อดั ขวดนำ้ พลำสตกิ สำมำรถบบี อัดขวดนำ้ พลำสตกิ ได้ กำรประดิษฐ์เครื่องบีบอัดขวดน้ำพลำสติกขนำดไม่เกิน 1500 มิลลิลิตร จำกเศษไม้เหลือใช้ โดยใช้หลักกำรเรื่องโมเมนต์และคำน ซึ่งเครื่องบีบอัดขวดน้ำพลำสติกท่ีประดิษฐข์ ึน ใช้หลักกำรของ คำนอันดับที่ 1 คือ คำนท่ีมีจุดหมุน (F) อยู่ระหว่ำง แรงพยำยำม (W) และแรงต้ำน (E) และค้ำนวณ ตำมหลักกำรเรื่องโมเมนต์ของแรง โดย โมเมนต์ของแรง (moment of force) หรือโมเมนต์ (moment) หมำยถึง ผลของแรงที่กระท้ำต่อวัตถุเพ่ือให้วตั ถุหมุนไปรอบจุดหมุน ดังนัน โมเมนต์ของ แรงก็คือ ผลคูณของแรงกับระยะตังฉำกจำกแนวแรงถึงจุดหมุน ดังสูตร F = M x L พบว่ำ จุดหมุนท่ี ระดบั ที่ 1 อยู่หำ่ งจำกแรงพยำยำมน้อยทส่ี ดุ โดยมรี ะยะจำกจุดหมุนถึงแนวแรงคือ 0.127 เมตร จะใช้ แรงมำก ซึง่ เห็นได้จำกสตู รค้ำนวณ F = M/0.127 ระดบั ที่ 2 มรี ะยะจำกจุดหมุนถงึ แนวแรงคือ 0.165 เมตร ค้ำนวณได้จำกสูตรค้ำนวณ F = M/0.165 ระดับที่ 3 มีระยะจำกจุดหมุนถึงแนวแรงคือ 0.203 เมตร ค้ำนวณได้จำกสูตรค้ำนวณ F = M/0.203 ระดับท่ี 4 มีระยะจำกจุดหมุนถึงแนวแรงคือ 0.241 เมตร ค้ำนวณได้จำกสตู รค้ำนวณ F = M/0.241 และ ระดับท่ี 5 อยู่ห่ำงจำกแรงพยำยำมมำกท่ีสุด มี ระยะจำกจุดหมุนถึงแนวแรงคือ 0.279 เมตร ค้ำนวณได้จำกสูตรคำ้ นวณ F = M/0.279 จะเห็นได้ว่ำ ยิ่งระยะจำกจุดหมุนจนถึงแนวแรงอยู่ห่ำงจำกแรงพยำยำมมำกเท่ำใด จะท้ำให้ออกแรงน้อยลง หลักกำรออกแบบเครื่องบีบอัดขวดน้ำพลำสติก เพื่อควำมสะดวก ใช้แรงน้อย และประหยัด พืนที่ในกำรทำ้ งำน หำกต้องกำรให้ใช้แรงน้อยทส่ี ุด ให้ปรับระดับของจุดหมุนใหห้ ่ำงจำกบริเวณท่อี อก แรงพยำยำมให้มำกท่ีสุด ซึ่งหำกวัดองศำ จะเทำ่ กับระยะตงั ฉำก (90 องศำ)

    27 2. ขวดนำ้ พลำสตกิ ทถี่ ูกบีบอัดแล้ว สำมำรถจดั เกบ็ ในพืนทจี่ ัดเก็บได้จำ้ นวนมำกขนึ เครอื่ งอดั ขวดน้ำพลำสติกสำมำรถบบี อดั ขวดน้ำพลำสติกในแนวยำวได้ โดยเมอื่ บบี อัดขวดน้ำ พลำสติก ปริมำตร 350 มิลลิลิตร ท้ำให้ขวดหดสัน โดยมีค่ำเฉล่ีย 8.38 เซนติเมตร และขวดน้ำ พลำสตกิ ปรมิ ำตร 600 มลิ ลลิ ิตร ทำ้ ให้ขวดหดสัน โดยมีคำ่ เฉล่ยี 12.5 เซนตเิ มตร ขวดน้ำพลำสติกที่ถูกบีบอัดแลว้ สำมำรถจดั เก็บในพืนท่ีจัดเก็บได้จ้ำนวนมำกขึน โดยพืนทใ่ี น กำรจัดเก็บขวดน้ำพลำสติกของห้องเรียนแต่ละห้อง จะใช้ตะกร้ำ ขนำด 38 × 24 × 24 ตำรำงเซนติเมตร พบว่ำ สำมำรถเก็บขวดน้ำพลำสติกท่ีถูกบีบอัดด้วยเครื่องบีบอัดขวดน้ำพลำสติก ดว้ ยแรงผลัก ได้จ้ำนวน 55 ขวด ข้อเสนอแนะ 1. ท้ำเครื่องบบี อัดขวดพลำสติกจำกวสั ดุอ่ืนและออกแบบให้มีนำ้ หนกั เบำและพกพำง่ำย เชน่ จำก PVC หรือ อำจออกแบบใหบ้ บี อัดโดยใช้แรงกดในแนวตัง 2. มีระดบั ของจุดหมุนท่มี ำกขึน และทดสอบหำจดุ ทีช่ ว่ ยผอ่ นแรงให้สัมพนั ธ์กับควำมแข็งแรง ของขวดพลำสติกแต่ละประเภท 3. สร้ำงกลไกที่ช่วยในกำรทุ่นแรงเพื่อบีบอัดขวด เช่น ใช้กำรปั่นจักรยำนแทนกำรใช้แรงผลกั จำกมอื ประโยชน์ 1. กำรใช้วัสดุเหลือใช้จำกธรรมชำติมำประดิษฐ์เครื่องบีบอัดขวดพลำสติก สอดคล้องกับ เป้ำหมำยและเปำ้ ประสงค์กำรพัฒนำทยี่ ง่ั ยืนของ SDGs 2. กำรสังเกตปัญหำใกล้ตัว และพัฒนำนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหำ น้ำไปสู่กำรจุดประกำย ควำมคดิ ของกำรเป็นนกั วิทยำศำสตร์

    28 บรรณานุกรม ภมู ิพัฒน์ รัตนตรยั เจรญิ . ความร้เู ก่ียวกบั พลาสตกิ ทัง้ 7 ชนดิ . สบื คน้ เม่อื วันท่ี 20 พฤษภำคม พ.ศ. 2565, จำก https://sites.google.com/site/kaewphlastik/khwam-ru-keiyw-kab- phlastik-thang-7-chnid มหำวทิ ยำลยั พระจอมเกล้ำธนบรุ ี. การจดั การขยะ. สบื ค้นเมือ่ วนั ที่ 20 พฤษภำคม พ.ศ. 2565, จำก https://www.kmutt.ac.th/about_sustainability/ด้ำนส่งิ ปฏิกลู สำ้ นักงำนพฒั นำเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำต,ิ เป้ำหมำยกำรพฒั นำท่ยี ั่งยืน. สบื ค้นเมอื่ วนั ที่ 20 พฤษภำคม พ.ศ. 2565, จำก ttps://sdgs.nesdc.go.th/เก่ยี วกบั -sdgs/ สำ้ นักงำนส่งิ แวดลอ้ มกรงุ เทพ. แนวคิด 3RS รักษ์โลก. สืบค้นเม่อื วนั ท่ี 20 พฤษภำคม พ.ศ. 2565, จำก https://webportal.bangkok.go.th/healthcenter17/page/sub/17417/สำระน่ำ รู้ 1/info/180949/แนวคิด-3RS-รกั ษโ์ ลก

    ภาคผนวก

    30 ภาคผนวก ก การนา้ เคร่อื งบบี อดั ขวดนา้ พลาสตกิ ดว้ ยแรงผลกั ไปใชจ้ รงิ

    31 นักเรยี นโรงเรียนเทศบาลเมอื งสุโขทัย ได้ลองใช้เครอ่ื งบบี อดั ขวดพลาสติกจากแรงผลัก ศิรกิ ัญญา กลบั สุข รา้ นค้าสหกรณ์ โรงเรียนเทศบาลเมอื งสุโขทยั ได้ลองใช้เครอ่ื งบบี อดั ขวดพลาสติกจากแรงผลัก

    32 คุณธดิ ารัตน์ ศรชัย เจ้าของโรงงานลกู ชินข้างโรงเรียน ไดล้ องใช้เครอ่ื งบบี อัดขวดพลาสติกจากแรงผลัก คณุ ศริ ริ ตั น์ เขียวข้า เจ้าของรา้ นค้าขา้ งโรงเรียน ได้ลองใช้เครอื่ งบบี อัดขวดพลาสตกิ จากแรงผลัก

    33 นางทศพร วรวัฒนานนท์ และ นายสมกิจ วรวฒั นานนท์ เจา้ ของร้านค้าขา้ งโรงเรยี น ได้ลองใชเ้ ครอื่ งบบี อดั ขวดพลาสตกิ จากแรงผลกั พระภณปกรณ์ เขมจิตโต พระวัดศรีเสวตวนาราม ได้ลองใชเ้ ครอ่ื งบบี อดั ขวดพลาสติกจากแรงผลัก

    34 ภาคผนวก ข การเกบ็ ขวดพลาสตกิ ลงในตะกรา้ และเปรยี บเทียบจา้ นวนขวดตอ่ พนื ท่ี

    35 วดั ปริมาตรของตะกร้าที่ใชบ้ รรจขุ วดพลาสตกิ ของหอ้ งเรยี น บรรจุขวดพลาสติกลงในตะกร้า

    36 ประวัติคณะผจู้ ัดทำ เด็กหญงิ กรกมล สงิ หโ์ ต เดก็ ชำยกนกภทั ร ตนั ติวฒั นำ ช้นั ป.4/1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ช้นั ป.4/2 ปีการศกึ ษา 2565 โรงเรียนเทศบาลเมอื งสโุ ขทัย โรงเรียนเทศบาลเมอื งสโุ ขทัย เดก็ ชำยนภัทร จริ โรจนำนนท์ ช้ัน ป.5/1 ปกี ารศกึ ษา 2565 โรงเรยี นเทศบาลเมอื งสุโขทัย

    37 ประวัตคิ รูท่ีปรกึ ษำโครงงำน ชื่อ – สกลุ นางสาวมนสกิ านต์ สงวนธีรพงศ์ วนั เดอื นปเี กิด 31 ธันวาคม 2536 ประวัติกำรศึกษำ ปัจจุบัน พนกั งานครูเทศบาล ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นเทศบาลเมอื งสโุ ขทยั สังกดั กองการศกึ ษา เทศบาลเมอื งสโุ ขทัยธานี จังหวดั สุทยั ปี 2560 สาเรจ็ การศึกษาจาก สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เกียรตนิ ยิ มอนั ดบั 2 คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่

    38 ชือ่ – สกลุ นายอิงครตั ทพี่ ึง่ วันเดอื นปีเกิด 13 พฤศจกิ ายน 2539 ประวตั ิกำรศกึ ษำ ปัจจุบนั ครูจ้างสอน โรงเรยี นเทศบาลเมอื งสโุ ขทัย สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมอื งสโุ ขทัยธานี อาเภอเมืองสโุ ขทัย จงั หวดั สโุ ขทยั ปี 2564 สาเรจ็ การศึกษา หลกั สตู รประกาศนียบตั รบณั ฑติ สาขาวชิ าชพี ครู มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาแพงเพชร ปี 2562 สาเรจ็ การศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าเคมี คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร