หากมีการลบลายน้ำที่ใส่ไว้ในภาพ

แทรก แก้ไข หรือลบลายน้ํา

คุณสามารถเพิ่มลายน้ําที่เป็นข้อความหรือรูปภาพได้ ซึ่งจะปรากฏด้านหลังข้อความและแสดงบนเอกสารทุกหน้า นอกจากนี้คุณยังแก้ไขหรือลบลายน้ําในเอกสารได้ด้วย

สําคัญ: ฟีเจอร์นี้ใช้งานไม่ได้กับเอกสารในรูปแบบที่ไม่แบ่งหน้า หากเอกสารมีลายน้ำอยู่แล้วและเปลี่ยนไปใช้รูปแบบที่ไม่แบ่งหน้า คุณจะไม่เห็นลายน้ำในเอกสารอีกต่อไป หากต้องการดูและใช้ลายน้ํา โปรดตรวจสอบว่าเอกสารอยู่ในรูปแบบแบ่งหน้า

เพิ่มหรือแก้ไขลายน้ำที่เป็นรูปภาพ

  1. เปิดเอกสารใน Google เอกสารในคอมพิวเตอร์
  2. ไปที่แทรก
    หากมีการลบลายน้ำที่ใส่ไว้ในภาพ
     ลายน้ํา
  3. คลิกรูปภาพในแผงด้านขวา
  4. คลิกเลือกรูปภาพ
    หากมีการลบลายน้ำที่ใส่ไว้ในภาพ
  5. เลือกรูปภาพจากไดรฟ์, Photos, URL หรือกล้องถ่ายรูป หรือจะอัปโหลดรูปภาพจากคอมพิวเตอร์ก็ได้เช่นกัน
  6. ไม่บังคับ: คุณสามารถจัดรูปแบบลายน้ําในแผงด้านขวาได้
  7. คลิกเสร็จสิ้น

วิธีอื่นๆ ในการแก้ไขรูปภาพมีดังนี้

  1. คลิกขวาที่ลายน้ํา
  2. คลิกเลือกลายน้ํา
  3. เลือกตัวเลือกรูปภาพในแถบเครื่องมือ

เคล็ดลับ: หากเห็นช่องว่างในลายน้ํา อาจเป็นเพราะข้อความในเอกสารมีสีพื้นหลัง คุณสามารถนําสีพื้นหลังของข้อความออก เพื่อดูลายน้ําทั้งหมดได้

เพิ่มหรือแก้ไขลายน้ำที่เป็นข้อความ

  1. เปิดเอกสารใน Google เอกสารในคอมพิวเตอร์
  2. ไปที่แทรก
    หากมีการลบลายน้ำที่ใส่ไว้ในภาพ
    ลายน้ํา
  3. คลิกข้อความในแผงด้านขวา
  4. พิมพ์ข้อความที่ต้องการให้ปรากฏเป็นลายน้ํา
  5. ไม่บังคับ: คุณสามารถจัดรูปแบบลายน้ําในแผงด้านขวาได้
  6. คลิกเสร็จสิ้น

หากต้องการเปลี่ยนแปลงลายน้ํา ให้ทําดังนี้

  1. คลิกขวาที่ลายน้ํา
  2. คลิกเลือกลายน้ํา
  3. คลิกแก้ไขลายน้ําใต้ลายน้ําดังกล่าว

เคล็ดลับ: หากเห็นช่องว่างในลายน้ํา อาจเป็นเพราะข้อความในเอกสารมีสีพื้นหลัง คุณสามารถนําสีพื้นหลังของข้อความออก เพื่อดูลายน้ําทั้งหมดได้

ลบลายน้ํา

  1. ไปที่แทรก
    หากมีการลบลายน้ำที่ใส่ไว้ในภาพ
     ลายน้ําเพื่อเปิดแผงทางด้านขวา
    • หรืออาจดำเนินการดังต่อไปนี้
      1. คลิกขวาที่ลายน้ํา
      2. คลิกเลือกลายน้ํา
      3. คลิกแก้ไขลายน้ํา เพื่อเปิดแผงใต้ลายน้ำดังกล่าว
  2. คลิกนําลายน้ําออก
    หากมีการลบลายน้ำที่ใส่ไว้ในภาพ
    ที่ด้านล่างของแผง

ข้อมูลนี้มีประโยชน์ไหม

เราจะปรับปรุงได้อย่างไร

ความคิดเห็นที่ 3

ประเด็นนี้ รศ.ดร.มานิตย์ จุมปา แห่งคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เขียนอธิบายไว้ในหนังสือ "เขียนผลงานวิชาการอย่างไรไม่ละเมิดลิขสิทธิ์" ว่า
😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀😀
"... กรณีนี้ต้องพิจารณาและระมัดระวังว่า ภาพที่ผู้เขียนจะนำมานั้นเป็นภาพที่มีลิขสิทธิ์หรือไม่ หลักการในพิจารณา คือ หากภาพนั้น เป็นภาพที่มีการถ่ายโดยไม่ได้สร้างสรรค์ใด ๆ ภาพนั้นก็ไม่มีลิขสิทธิ์ เช่น ภาพโต๊ะ, ภาพเก้าอี้ อาคาร เป็นต้น แต่หากภาพนั้นมีการใช้ความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์ เช่น ผู้ถ่ายได้ใช้ความพยายามอดทนเฝ้ารอเพื่อถ่ายภาพพระอาทิตย์ตก หรือมีการจัดแสง ปรับแต่งภาพเป็นพิเศษ ภาพที่สร้างสรรค์เช่นนี้จะเป็นภาพที่มีลิขสิทธิ์

ดังนั้น หากภาพใดมีลิขสิทธิ์ การเอาภาพเขามาประกอบการเขียนผลงาน จำต้องดำเนินการขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์เสียก่อน ส่วนภาพนั้นไม่มีลิขสิทธิ์ ย่อมสามารถนำมาใช้ประกอบการเขียนได้ โดยไม่จำต้องขออนุญาต

นอกจากนั้น หากภาพใดมีลิขสิทธิ์ แม้ผู้เขียนจะนำภาพนั้นจากระบบเครือข่ายสากลอินเทอร์เน็ต หรือนำมาจากที่ใดก็ตาม แล้วนำมาตกแต่งดัดแปลงจนไม่เหมือนของเดิม ในกรณีนี้ ยังคงเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ เพราะเข้าข่ายดัดแปลงงานอันมีลิขสิทธิ์ ..."

ข้อสังเกตเกี่ยวกับภาพที่มีลิขสิทธิ์

-------------------------------------------

ภาพที่ถือว่ามีลิขสิทธิ์ (สัญลักษณ์ทางลิขสิทธิ์)

1.ในภาพนั้นระบุเป็นเครื่องหมาย (C)

2.ในภาพนั้นระบุชื่อเจ้าของผลงาน หรือเว็บไซต์ที่มาของภาพนั้น

3.ในภาพนั้นถูกประทับด้วยลายน้ำ (ในบางครั้งอาจเป็นโลโก้เจ้าของผลงานขึ้นไว้จาง ๆ)

!! แต่ในบางกรณี ภาพที่มีลิขสิทธิ์อาจไม่ระบุสัญลักษณ์ทางลิขสิทธิ์ข้างต้นใด ๆ ไว้เลย ทำให้ผู้เขียนบางรายนำภาพเอาไปเผยแพร่ต่อสาธารณะก็ถูกฟ้องร้องจากเจ้าของ ลิขสิทธิ์ได้เหมือนกัน

พฤติกรรมใดบ้างที่ถือว่าละเมิดลิขสิทธิ์

-------------------------------------------------

การนำส่วนหนึ่งส่วนใดของผลงานที่มีลิขสิทธิ์เหล่านั้นไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาติจากเจ้าของผลงาน ไม่ว่าจะ

- นำไปเผยแพร่โดยเป็นผลงานต้นฉบับ

- นำไปเผยแพร่โดยได้ดัดแปลงผลงานนั้น

ตัวอย่างพฤติกรรมที่ละเมิดลิขสิทธิ์

--------------------------------------------------

(พฤติกรรมที่กระทำโดยไม่ได้รับอนุญาติจากเจ้าของลิขสิทธิ์)

1. นำภาพที่มีลิขสิทธิ์เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต

2. ตัดต่อวิดีโอโดยปรากฎผลงานที่มีลิขสิทธิ์นั้นอยู่ด้วย

3. นำภาพจากแผ่นซีดี ฯลฯ ที่คุ้มครองโดยลิขสิทธิ์ อัปโหลดเป็นวีดีโอ หรือตัดต่อออกมาเป็นรูปภาพ (เช่น นำภาพยนตร์ในซีดี ฯลฯ มาโพสต์ในอินเทอร์เน็ต)

4. นำภาพที่ถ่ายจากกล้องวิดีโอส่วนตัวที่ถ่ายทำการแสดงคอนเสิร์ตมาโพสต์เผยแพร่ ในโลกอินเทอร์เน็ต (บางคอร์นเสิร์ตที่ไม่อนุญาติให้ทำการบันทึกภาพใด ๆ หากผู้ใช้นั้นได้บันทึกภาพและนำไปเผยแพร่จะถือว่าละเมิดลิขสิทธิ์)

5. การนำผลงานหรือสัญลักษณ์ที่มีลิขสิทธิ์ไปใช้ซ้ำในเชิงการค้า

ผลงานในบ้างที่ไม่ถูกคุ้มครองโดยลิขสิทธิ์

-----------------------------------------------------

1.ผลงานที่เป็นรูปทรงเรขาคณิตอย่างง่าย เช่น สี่เหลี่ยม ฯลฯ

2.ผลงานที่มีแต่ตัวอักษรเรียบ ๆ เช่น ตัว M สีแดงในพื้นหลังสีดำ

ฯลฯ

แนะนำให้ก่อนเอารูปลงเว็บใส่ลายน้ำสักนิดนะครับ เพื่อยืนยันว่ารูปนี้ของเรานะ
ที่มา:http://www.gotoknow.org/posts/230870

0

หากมีการลบลายน้ำที่ใส่ไว้ในภาพ