แผน ความร้อน กับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของ ส สาร

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 เร่ือง พลังงานความรอ้ น รหสั วิชา ว21102 รายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2/2562 เวลา 2 ชั่วโมง ครผู ู้สอน นางสุมาลี สายธนู 1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณท์ ี่เกี่ยวข้องกบั เสียง แสง และคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตวั ชี้วัด ว 2.3 ม.1/1 วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และคานวณปริมาณความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยน อณุ หภูมิและเปลี่ยนสถานะ โดยใช้สมการ Q = mcΔt และ Q = mL ผลการเรียนรู้ รู้จักปริมาณความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิขึ้นอยู่กับมวล ความร้อนจาเพาะ และอุณหภูมิที่ เปลี่ยนไป และปริมาณความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยนสถานะขึ้นอยู่กับมวล และความร้อนแฝงจาเพาะ โดย ขณะทีส่ สารเปลีย่ นสถานะ อณุ หภูมิจะไม่เปลีย่ นแปลง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (จากตัวชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้) 1. อธิบายผลของความรอ้ นต่อการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิของสารได้ (K) 2. คานวณปริมาณความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมแิ ละเปลี่ยนสถานะ (P) 3. รบั ผิดชอบต่อหนา้ ทีแ่ ละงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย (A) 3. สาระสาคญั สารเม่ือได้รับความร้อนจะทาให้อุณหภูมิของสารสารเปลี่ยนแปลง แต่สถานะของสารไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งปริมาณความร้อนที่ทาให้อุณหภูมิของสารเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับมวล ความร้อนจาเพาะ และอุณหภูมิที่ เปลี่ยนแปลงไป และสารเม่ือได้รับความร้อนจะทาให้สารเปลี่ยนสถานะ แต่อุณหภูมิของสารไม่เปลี่ยนแปลง เนื่องจากอนุภาคของสารอยู่หา่ งกันมาก ซึ่งปริมาณความร้อนที่ทาให้สารเปลีย่ นสถานะขนึ้ อยู่กับมวลและความ ร้อนจาเพาะ

4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ และเลือกรับหรือไม่ รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดย คานงึ ถึงผลกระทบทีม่ ตี ่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรอื สารสนเทศ เพือ่ การตดั สินใจได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดาเนินชีวิตประจาวัน การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง บคุ คล การจดั การปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 ความรู้ (Knowledge : K) ผลของพลงั งานความร้อนตอ่ สถานะของสาร สถานะของสาร สถานะของสารจาแนกได้ 3 สถานะ คือของแข็ง ของเหลว แก๊ส การเปลีย่ นสถานะของสารเป็นการ ทาให้ระยะระหว่างโมเลกุลของสารเปลี่ยน แปลงไป แต่องค์ประกอบของสารยังคงเป็นสารชนิดเดิม สูตร โมเลกุลยังเหมือนเดิม ของแขง็ จะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงมาก ทาให้โมเลกุลแต่ละโมเลกุลอยู่ใกล้ชิดกันมาก ดังนั้น จึงมีรูปร่างแน่นอนและมีปริมาตรคงที่ พลังงานในการเคลื่อนที่ของโมเลกุลมีค่าน้อยโมเลกุลจึงเพียงแค่ส่ัน เท่านั้น เช่น เหล็ก ทองคา เงิน เปน็ ต้น ของเหลว จะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยกว่าของแข็ง ทาให้โมเลกุลอยู่ห่างกันมากขึ้น ทาให้ โมเลกลุ มีการสัน่ สะเทือนเพิม่ ขึ้น หรอื สามารถเคลื่อนทีไ่ ด้ ดงั นั้นของเหลวจึงไหลได้ เชน่ นา้ ปรอท น้าเช่อื ม เป็น ต้น แก๊ส มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยมาก โมเลกุลเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ ทาให้เกิดการฟุ้ง กระจายได้ เชน่ อากาศ แก๊สหุงต้ม เปน็ ต้น พลงั งานกับการเปลีย่ นสถานะของสาร แบ่งได้เป็น - การเปลีย่ นสถานะระหว่างของแขง็ กับของเหลว เม่ือของแข็งได้รับความร้อน อนุภาคจะมีพลังงานจลน์สูงขึ้น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลถูกทาลาย และเม่ืออุณหภูมิเพิ่มจนถึงจุดหลอม เหลว จะเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลวระหว่างเปลี่ยนสถานะ

อุณหภูมิจะคงที่ เรียก การเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบดูดความร้อน เช่น การหลอมเหลวของน้าแข็ง ในทาง กลับกันเม่ือทาให้ของเหลวอุณหภูมิลดลงจะเปลี่ยนสถานะไปเป็นของแข็ง ระหว่างเปลี่ยนสถานะอุณหภูมิจะ คงที่ เรียก การเปลีย่ นแปลงแบบคายพลงั งาน เชน่ การแข็งตวั ของนา้ - การเปลีย่ นสถานะระหว่างของเหลวกับแก๊ส เมื่อของเหลวได้รับความร้อนอุณหภูมิสูงขึ้น พลังงานจลน์ของโมเลกุลเพิ่มขนึ้ แรงยึดเหน่ียวถูกทาลาย จนถึงจุดเดือดจงึ ซึ่งระหว่างเปลี่ยนสถานะอณุ หภมู ิจะคง ที่ หลุดออกเปน็ โมเลกุลของแก๊ส เป็นการเปลี่ยนแปลง แบบดูดพลังงาน ในทางกลับกันเม่ืออุณหภูมิลดลง แก๊สเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวระหว่างเปลี่ยนสถานะ อณุ หภูมิไมเ่ ปลีย่ นแปลง เปน็ การเปลี่ยนแปลงแบบคายความรอ้ น - การเปลีย่ นสถานะระหว่างของแข็งกบั แก๊ส เม่ือ ของแข็งได้รับความร้อนจะทาให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้น พลังงานจลน์ของโมเลกุลเพิ่มขึ้น แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างโมเลกุลถูกทาลาย สาร เปลีย่ นสถานะจากของแข็งเปน็ แก๊สหรือไอ เรียกการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความ ร้อน เช่น การกลายเป็นไอของลกู เหมน็ การบูร เกล็ดไอโอดีน น้าแข็งแหง้ เปน็ ต้น อณุ หภมู ิกบั การเปลีย่ นสถานะ - การหลอมเหลว (melting) คือ การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งไปเป็นของเหลวและจะเกิดขึ้นเม่ือมี อุณหภูมิอยู่ที่จุดหลอมเหลว - การแขง็ ตวั (freezing) คือ การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็นของแข็งและจะเกิดขึน้ เมือ่ มีอุณหภูมิ ทีจ่ ดุ เยือกแข็ง - จุดหลอมเหลว (melting point) คือ อุณหภูมิในขณะที่ของแข็งกาลังเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เช่น น้าแขง็ กลายไปเปน็ น้าทีอ่ ุณหภมู ิ 0 องศาเซลเซียส - จดุ เยือกแข็ง (freezing point) คือ อุณหภมู ิในขณะทีข่ องเหลวกาลงั เปลีย่ นสถานะเป็นของแข็ง เช่น น้า กลายเปน็ น้าแข็งที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส - การกลายเป็นไอ (vaporization) คือ การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็นแก๊ส อุณหภูมิอยู่ที่จุด เดือด - การควบแน่นหรือการกล่ันตัว (condensation) คือ การเปลี่ยนสถานะจากแก๊สไปเป็นของเหลว อณุ หภมู ิอยู่ที่จุดกล่นั ตัวหรอื จดุ ควบแนน่ - จุดเดือด (boiling point) คือ อุณหภูมิในขณะที่ของเหลวกาลังเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส เช่น น้ามีจุด เดือด 100 องศาเซลเซียส - จุดควบแน่น คือ อุณหภูมิในขณะที่แก๊สกาลังเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว ไอน้ากลายเป็นของเหลวที่ อุณหภมู ิ 100 องศาเซลเซียส 5.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process : P) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมีการรู้เร่ืองเคร่ืองมือวัดอุณหภูมิเทอร์มอมิเตอร์นั้น ผเู้ รียนต้องทกั ษะทีส่ าคญั ดงั ตอ่ ไปนี้

1. การกาหนดปัญหา ปัญหาเกิดจากการสังเกต โดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย ประกอบกับความช่างคิดช่างสงสัย สัมผัสโดยตรงกับเหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อค้นหาข้อมูล และ บันทึกข้อมูลที่ได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งการกาหนดปัญหาต้องมีความชัดเจนและสัมพันธ์กับความรู้ ซึ่งต้องอาศัย ความคิดสรา้ งสรรค์ 2. การต้ังสมมมิตฐาน การคิดหาคาตอบล่วงหน้า ก่อนจะกระทาการทดลองโดยอาศัยการสังเกต ความรู้ ปละประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน คาตอบที่คิดหาล่วงหน้านีย้ ังไม่เป็นหลักการ สมมติฐานหรือคาตอบ ที่คิดไว้ล่วงหนา้ มักกล่าวไว้เป็นข้อความทีบ่ อกความสมั พันธ์ระหว่างตวั แปรต้นกับตัวแปรตาม 3. การตรวจสอบสมมติฐาน การดาเนินการตรวจสอบสมมติฐาน โดยอาศัยการรวบรวมข้อมูลท้ัง จากการสารวจ การทดลอง หรอื วิธีการอ่นื ๆ ประกอบกนั 4. การวิเคราะห์ข้อมูล การนาข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ศึกษาค้นคว้า ทดลอง หรือการรวบรวม ข้อมูลและขอ้ เท็จจริงมาวิเคราะหผ์ ล 5. การสรุปผลการทดลอง การสรุปผลการทดลอง เป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเกิดจากการนาเอาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ได้จากการทดลองมาวิเคราะห์ผลและหาความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมลู หรอื ข้อเทจ็ จริงเพือ่ นามาอธิบาย และตรวจสอบดูว่าสมมตฐิ านที่ตงั้ ข้นึ ถกู ต้องหรือไม่ 5.3 ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์(Attitude : A) 1. ซื่อสัตย์สจุ ริต - ประพฤติตรงตามความเปน็ จรงิ ตอ่ คนเองท้ังกาย และวาจา ใจ 2. มีวนิ ัย - ประพฤติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบงั คับของขอ้ ตกลงในห้องเรียน 3. ใฝเ่ รียนรู้ - ตั้งใจเพียงพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ - แสวงหาความรรู้ ู้จากแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้ส่อื อย่างเหมาะสม สรปุ เป็นองค์ความรู้ และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ 4. มุ่งมัน่ ในการทางาน - ต้ังใจและรบั ผิดชอบในหน้าที่การงาน - ทางานด้วยเพียงพยายามและอดทนเพื่อให้สาเร็จตามเป้าหมาย 6. จุดเน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น(เลือกเฉพาะจุดเน้นขอ้ ทีม่ ใี นแผนการจัดการเรียนรู้ สามารถเพิม่ เติม จดุ เน้นตามนโยบายอืน่ ๆได้) 6.1 ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C  Reading (อ่านออก)  (W) Riting (เขียนได้)  (A) Rithemetics (คิดเลขเปน็ )  ทักษะด้านการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving)  ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)  ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)  ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีมและภาวะผนู้ า (Collaboration, Teamwork and Leadership)

 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทนั สือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)  ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT Literacy)  ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)  ทักษะการเปลีย่ นแปลง (Change) 6.2 ทักษะดา้ นชีวติ และอาชีพ ของคนในศตวรรษท่ี 21  ความยดื หยุ่นและการปรบั ตวั  การรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์และเปน็ ตัวของตัวเอง  ทกั ษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม  การเปน็ ผู้สรา้ งหรอื ผู้ผลิต (Productivity) และความรับผดิ ชอบเช่อื ถือได้ (Accountability)  ภาวะผู้นาและความรับผดิ ชอบ (Responsibility) 6.3 คุณลักษณะของคนในศตวรรษท่ี 21  คณุ ลักษณะด้านการทางาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นา  คุณลกั ษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชีน้ าตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง  คุณลักษณะด้านศลี ธรรม ได้แก่ ความเคารพผอู้ ื่น ความซื่อสตั ย์ ความสานึกพลเมอื ง 7. การบูรณาการ(เลือกเฉพาะข้อที่สามารถบูรณาการในแผนการจัดการเรียนรู้ สามารถเพิ่มเติมเรื่องอื่นๆ ได้)  โครงการสถานศกึ ษาพอเพียง  โครงการโรงเรียนคุณธรรม  อาเซียนศกึ ษา  คณุ ธรรม ค่านิยม 12 ประการ  อนรุ ักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม  อืน่ ๆ(ระบ)ุ ..................................................................................... 8. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน/ร่องรอยแสดงความรู้) 1. ใบงานที่ 4.3 เรื่อง นา้ เปลีย่ นสถานะ 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชัว่ โมงที่ 1 ข้ันนา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูนาไอศกรีมมาวางไว้บนจาน ประมาณ 3-5 นาที แล้วให้นกั เรียนสงั เกตถึงความเปลี่ยนแปลง ของไอศกรีมยงั คงเหมอื นเดิมหรอื ไม่ จากน้ันครนู าเทอร์มอมเิ ตอร์มาให้วัดอุณหภูมิของไอศกรีมก่อนละลาย

และเมือ่ ไอศกรีมละลายหมดแล้วให้วดั อณุ หภมู อิ ีกคร้ัง แล้วถามนักเรียนว่า อณุ หภูมิที่วดั ได้ 2 ครง้ั ค่าอณุ หภูมิ แตกต่างกันหรอื ไม่ อย่างไร 2. ครูสนทนากบั นกั เรียนเกีย่ วกับความรอ้ นต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร ดังน้ี - ถ้านาน้าแขง็ ใส่แก้ว ตง้ั ทิ้งไว้ในหอ้ ง จะเป็นอย่างไร (แนวตอบ น้าแขง็ จะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว และมีอุณหภมู ิเพิ่มขนึ้ จนกระท่ังเท่ากบั อณุ หภมู ิหอ้ ง) - ถ้าต้มน้าเปน็ เวลานาน จนน้าในภาชนะแหง้ หายไป น้าจะหายไปไหน (แนวตอบ น้าจะระเหยกลายเป็นไอลอยปะปนอยู่ในอากาศ) - ถ้าจุดเทียน ผลทีเ่ กิดขึน้ จะเปน็ อย่างไร (แนวตอบ เทียนไขซึ่งมีสถานะเปน็ ของแข็งจะเปลีย่ นสถานะเปน็ เทียนเหลวซึง่ มีสถานะเปน็ ของเหลว) 3. นกั เรียนช่วยกนั อภปิ รายและแสดงความคิดเห็น เพื่อเช่อื มโยงไปสู่การเรยี นรู้เรอื่ งผลของความร้อน ต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและสถานะของสาร ข้ันสอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูถามคาถามทบทวนความรเู้ ดิมของนักเรียนว่า ปริมาณความรอ้ นที่ทาให้สารเปลี่ยนแปลง อณุ หภูมิข้ึนอยู่กบั ปัจจัยใดบ้าง (แนวตอบ มวล ความรอ้ นจาเพาะ และอณุ หภมู ทิ ีเ่ ปลีย่ นแปลง) 2. ครเู ขียนสมการคานวณหาปริมาณความรอ้ นที่ทาใหส้ ารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิบนกระดาน Q = mcΔt จากนั้นครูอธิบายความหมายของตวั แปร และหน่วยของตัวแปรทีใ่ ช้คานวณ 3. ครูยกตัวอย่างโจทย์การคานวณหาปริมาณความรอ้ นที่ทาให้สารเปลีย่ นแปลงอุณหภมู ิ ในหนงั สือ เรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 11 ขน้ั สรปุ ขยายความรู้ (Expand) 1. ครูใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 ชวั่ โมงท่ี 2 ขน้ั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเปน็ กลุ่มละ 4-5 คน ทากิจกรรม แล้วให้ตัวแทนกลุ่มออกมารับใบงาน ที่ 4.3 เรอ่ื ง น้าเปลีย่ นสถานะ

2. ครใู หแ้ ต่ละกลุ่มศกึ ษาขั้นตอนการทากิจกรรมในใบงานที่ 4.3 เรอ่ื ง นา้ เปลี่ยนสถานะ แล้วให้ สมาชิกภายในกลุ่มวางแผน แบ่งหน้าทีใ่ นการทากิจกรรม จากน้ันครูให้แต่ละกลุ่มบันทึกผลและตอบคาถามท้าย กิจกรรมลงในใบงาน ขัน้ สรุป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตรใ์ นแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 2. ครูตรวจใบงานที่ 4.3 เร่อื ง น้าเปลี่ยนสถานะ 3. ครูประเมินนกั เรียนจากการทาใบงาน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายกลุ่ม 4. ครปู ระเมินการนาเสนอใบงาน โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 5. ครูประเมินนักเรียนจากการสบื ค้นขอ้ มูล และการตอบคาถามในช้ันเรยี น โดยใช้แบบสังเกต พฤติกรรมการทางานรายบุคคล 10. สือ่ การสอน 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 2. แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 3. ใบงานที่ 4.3 เรือ่ ง น้าเปลีย่ นสถานะ 4. อุปกรณ์การทดลอง 11. แหล่งเรียนรใู้ นหรอื นอกสถานท่ี 11.1 หอ้ งเรียน 11.2 หอ้ งปฏิบตั ิการ 12. การวดั และประเมินผล (ใสต่ ามความเหมาะสม) 12.1 วธิ ีการวัดและประเมินผล - วัดความเข้าใจของนักเรียนโดยการสังเกตความสนใจ ความต้ังใจเรียน การแสดงความ คิดเห็น การตอบคาถาม และการมสี ่วนรว่ มในการทาแบบฝกึ เสริมประสบการณใ์ นช้ันเรียน 12.2 เครื่องมอื - การประเมินทักษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 - แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายกลุ่ม - แบบประเมินการนาเสนอผลงาน - แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล 12.3 เกณฑก์ ารประเมิน - การประเมินทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (ผ่านเกณฑ์ต้องมีคะแนนตั้งแต่ระดับปานกลาง หรอื มี 5 คะแนนขนึ้ ไป)

- แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายกลุ่ม (ผา่ นเกณฑต์ ้องมีคะแนนตั้งแต่ระดับพอใช้ หรอื มี 8 คะแนนขนึ้ ไป) - แบบประเมินการนาเสนอผลงาน (ผ่านเกณฑต์ ้องมคี ะแนนต้ังแต่ระดบั พอใช้ หรือมี 8 คะแนนขึ้นไป) - แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล (ผ่านเกณฑ์ต้องมีคะแนนตั้งแต่ระดับพอใช้ หรือ มี 8 คะแนนขนึ้ ไป) 13. กิจกรรมเสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

14. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน 14. 1. ผลการจัดการเรียนการสอน 1. นักเรียนจานวน .....................................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้ ................... คน คิดเปน็ ร้อยละ .................................................. ไม่ผ่านจุดประสงค์ ................................คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................................................. ได้แก่ 1. ............................................................................................................................ 2. ............................................................................................................................ นกั เรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นกั เรียนพิการได้แก่ 1. ............................................................................................................................ 2. ............................................................................................................................ 2. นกั เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 3. นกั เรียนมีความรู้เกิดทกั ษะ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 4. นกั เรียนเจตคติ ค่านิยม 12 ประการ คณุ ธรรมจริยธรรม ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 14.2 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 14.3 เสนอแนะ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ลงชือ่ ....................................................... ( นางสมุ าลี สายธนู ) ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะชานาญการ

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ได้ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรขู้ อง ......................................................แล้วมคี วามคิดเห็นดังน้ี 1. องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้  ครบถ้วนและถกู ต้อง  ยงั ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถกู ต้อง ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 2. ความสอดคล้องของแผนการจดั การเรียนรู้กบั หลักสูตรสถานศกึ ษา  สอดคล้อง  ยงั ไม่สอดคล้อง ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. รปู แบบของการจัดการเรียนรู้  เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ  ยงั เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป 4. สอ่ื การเรียนรู้  เหมาะสมกับรูปแบบการจดั การเรียนรู้  ยงั ไม่เหมาะ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป 5. การประเมินผลการเรียนรู้  ครอบคลุมจดุ ประสงค์การเรยี นรู้  ยังไม่ครอบคลุมประสงค์การเรียนรู้ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป 6. ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ลงชือ่ ................................................................ (นายสเุ มธ หน่อแก้ว.) ตาแหน่ง ผอู้ านวยการโรงเรียนน้าปลีกศึกษา

ใบงานที่ 4.3 เร่ือง นา้ เปลี่ยนสถานะ ค้าชแี จง : ใหน้ ักเรยี นทา้ กิจกรรมตามขันตอนต่อไปนี 1. ใส่น้ำแข็งท่ีทุบละเอียดใส่ลงในบีกเกอร์ที่เตรียมไว้ประมำณ 1 ใน 3 ของบีกเกอร์ ใช้เทอร์มอมิเตอร์วัด อุณหภมู ิของนำ้ แข็ง ดงั รูป ก แล้วบนั ทึกผล 2. ใช้แท่งแก้วคนน้ำแข็ง แล้วสังเกตอุณหภูมิของน้ำแข็ง เม่ือน้ำแข็งหลอมเหลวหมด ให้วัดอุณหภูมิของน้ำแข็ง ทันที แลว้ บันทึกผล 3. น้ำบีกเกอร์ท่ีบรรจุน้ำแข็งที่หลอมเหลวแล้วในข้อ 2 มำจัดวำงรวมกับอุปกรณ์อ่ืน ๆ ดังรูป ข ในหนังสือเรยี น ตังไฟจนน้ำเดอื ด วดั อณุ หภูมขิ องน้ำเดอื ดขณะกลำยเป็นไอ แล้วบนั ทกึ ผล 4. น้ำเทอร์มอมิเตอร์เสียบลงบนแผ่นกระดำษแข็ง จำกนันน้ำไปวำงบนบีกเกอร์ ให้เทอร์มอมิเตอร์ลอยอยู่เหนือ น้ำเล็กน้อย ดงั รปู ค ต้มน้ำตอ่ ไปประมำณ 2–3 นำที แล้วจึงวดั อุณหภูมิ และบนั ทึกผล ค้าถามการทดลอง 1. กำรต้มนำ้ แขง็ จนกลำยเป็นไอ มกี ำรเปล่ียนแปลงสถำนะกี่ครัง อะไรบ้ำง 2. กำรเปลี่ยนสถำนะของนำ้ ใช้พลังงำนอะไร 3. กำรเปลย่ี นสถำนะช่วงใดท่ีใช้ควำมรอ้ นมำกทสี่ ดุ 4. ชว่ งใดทอ่ี ณุ หภมู ิไมเ่ ปลย่ี นแปลงแตส่ ถำนะของนำ้ เปล่ยี นแปลง และช่วงใดท่ีอุณหภูมิเปลีย่ นแปลงแต่สถำนะ ของนำ้ ไม่เปลี่ยนแปลง 5. กำรเปลยี่ นแปลงอุณหภูมิของน้ำใช้พลังงำนอะไร อภปิ รายผลการทดลอง

เฉลย ใบงานที่ 4.3 เร่ือง น้าเปลย่ี นสถานะ คา้ ชแี จง : ใหน้ กั เรยี นทา้ กิจกรรมตามขนั ตอนต่อไปนี 1. ใส่น้ำแขง็ ท่ีทบุ ละเอยี ดใส่ลงในบีกเกอรท์ เ่ี ตรียมไวป้ ระมำณ 1 ใน 3 ของบีกเกอร์ ใช้เทอรม์ อมเิ ตอร์วดั อุณหภูมิของน้ำแข็ง ดงั รปู ก แล้วบันทึกผล 2. ใชแ้ ทง่ แก้วคนน้ำแข็ง แลว้ สงั เกตอุณหภมู ขิ องนำ้ แขง็ เมื่อน้ำแข็งหลอมเหลวหมด ให้วัดอุณหภูมิของน้ำแข็ง ทันที แล้วบนั ทึกผล 3. น้ำบีกเกอรท์ ่ีบรรจนุ ำ้ แข็งท่หี ลอมเหลวแล้วในข้อ 2 มำจัดวำงรวมกบั อุปกรณ์อน่ื ๆ ดังรปู ข ในหนงั สอื เรยี น ตังไฟจนน้ำเดือด วัดอณุ หภูมิของนำ้ เดือดขณะกลำยเปน็ ไอ แล้วบันทึกผล 4. น้ำเทอร์มอมเิ ตอรเ์ สียบลงบนแผน่ กระดำษแขง็ จำกนันน้ำไปวำงบนบีกเกอร์ ให้เทอร์มอมิเตอรล์ อยอยู่เหนือ น้ำเลก็ น้อย ดงั รูป ค ต้มน้ำต่อไปประมำณ 2–3 นำที แลว้ จึงวัดอุณหภูมิ และบันทกึ ผล คา้ ถามการทดลอง 1. เมื่อให้ควำมร้อนต้มน้ำ กำรตม้ น้ำแข็งจนกลำยเป็นไอ มีกำรเปล่ยี นแปลงสถำนะก่ีครงั อะไรบ้ำง เม่ือให้ความร้อนแก่น้าแข็งเกิดการเปล่ียนสถานะ 2 คร้ัง คือ น้าแข็งอุณหภูมิ 0 ้C เปล่ียนสถานะเป็นน้า อุณหภูมิ 0 ้C โดยการเปล่ียนสถานะครั้งน้ีอุณหภูมิไม่เปล่ียนแปลง และน้าเดือดอุณหภูมิ 100 ้C เปลี่ยน สถานะเปน็ ไอนา้ เดอื ดอุณหภูมิ 100 ้C การเปลยี่ นสถานะคร้ังนี้อุณหภมู กิ ไ็ มเ่ ปลย่ี นแปลง 2. กำรเปล่ยี นสถำนะของนำ้ ใชพ้ ลงั งำนอะไร ความรอ้ นแฝงจา้ เพาะ 3. กำรเปลยี่ นสถำนะช่วงใดท่ีใช้ควำมรอ้ นมำกทส่ี ดุ นา้ เดอื ดที่อุณหภมู ิ 100 ้C 4. ชว่ งใดท่ีอุณหภมู ิไม่เปลีย่ นแปลงแตส่ ถำนะของนำ้ เปลยี่ นแปลง และช่วงใดท่อี ุณหภูมเิ ปลีย่ นแปลงแต่สถำนะ ของนำ้ ไมเ่ ปลีย่ นแปลง นา้ แข็งอุณหภมู ิ 0 ้C เปลี่ยนสถานะเปน็ น้าอณุ หภมู ิ 0 ้C โดยการเปล่ียนสถานะคร้ังน้ีอณุ หภูมิไม่ เปลยี่ นแปลง และนา้ เดือดอุณหภมู ิ 100 ้C เปลีย่ นสถานะเปน็ ไอน้าเดอื ดอุณหภูมิ 100 ้C การเปลี่ยนสถานะ ครัง้ น้ีอุณหภมู ิกไ็ มเ่ ปลยี่ นแปลง 5. กำรเปลย่ี นแปลงอุณหภูมิของนำ้ ใชพ้ ลังงำนอะไร ความรอ้ นแฝงจา้ เพาะของสาร

อภปิ รายผลการทดลอง เมื่อน้าแขง็ ไดร้ ับความร้อนจะมกี ารเปล่ยี นแปลงบางช่วง โดยจะเปลี่ยนสถานะโดยที่อุณหภูมไิ มเ่ ปล่ยี น และบางชว่ งอุณหภมู ิเปล่ียนแปลงแต่สถานะไม่เปลี่ยนแปลง

แบบประเมินทักษะผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) (10 คะแนน) ผรู้ บั การประเมิน/กลุ่ม ........................................................................ ระดับชั้น/ห้อง.................. ผปู้ ระเมิน  ตอนเอง  เพื่อน  ครู ประเมินครง้ั ที่ .......................วันที่ ......................เดือน ......................................... พ.ศ............... เรื่องที่เรยี นรู้................................................................................................................................ คาชี้แจง : ให้ผู้ประเมนิ สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วทาเคร่อื งหมาย ให้ตรงกบั ระดบั คุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ทักษะผเู้ รียน รายการประเมิน ดี ดี ปาน น้อย น้อย ปรบั หลกั ฐาน ด้าน มาก กลาง ทีส่ ดุ ปรงุ ทีเ่ ด่นชัด (5) (4) (3) (2) (1) (0) ทกั ษะผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21(21st Century Skills) ทักษะในสาระ 1. Reading (อ่านออก) วิชาหลกั (Core 2. (W)Riting(เขียนได้) Subjects–3Rs) 3. (A)Rithemetics(คิดเลขเป็น) ทกั ษะการ 1.Critical Thinking and Problem เรยี นรแู้ ละ Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมี นวตั กรรม วิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ปญั หา) (Learning and 2.Creativity and Innovation (ทกั ษะด้าน Innovation Skills การสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม) – 8Cs) 3. Cross-cultural Understanding (ทกั ษะ ด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่าง กระบวนทศั น)์ 4. Collaboration,Teamwork and Leadership (ทกั ษะด้านความรว่ มมอื การทางานเปน็ ทีม และภาวะผนู้ า) 5. Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการส่อื สาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)

ระดบั คณุ ภาพ ทกั ษะผเู้ รียน รายการประเมิน ดี ดี ปาน น้อย น้อย ปรับ หลักฐาน ด้าน มาก กลาง ที่สดุ ปรุง ที่เด่นชดั (5) (4) (3) (2) (1) (0) 6. Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโน โลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร) 7. Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) 8. Compassion (มีคณุ ธรรมมเี มตตา กรณุ ามรี ะเบียบวินัย) ทักษะการเรียนร้แู ละภาวะผู้นา (2Ls) ทักษะการ 1. Learning(ทักษะการเรียนร)ู้ เรียนรู้และ 2. Leadership(ภาวะผู้นา) ภาวะผนู้ า (2Ls) ข้อสงั เกต หลกั ฐาน ร่องรอย อื่น ๆ .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

เกณฑ์การใหค้ ะแนน - พฤติกรรมที่ดีเด่นเปน็ ทีย่ อมรบั และเป็นแบบอย่างทีด่ ี ให้ 5 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชัดเจน ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ิบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ิบางครง้ั ให้ 1 คะแนน - พฤติกรรมทีไ่ ม่ปฏิบัติเลย ให้ 0คะแนน นาคะแนนท้ังหมดรวมกันได้คะแนนเต็ม 65 คะแนน แล้วหาร 6.5 จะได้คะแนนเต็ม 10 คะแนน เกณฑก์ ารแปลความหมายของช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ความหมาย 9 -10 ดีมาก 7 - 8 ดี 5 – 6 ปานกลาง 3 – 4 น้อย 0 – 2 น้อยทีส่ ดุ ผลการประเมินทักษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 อยู่ในระดบั  ดีมาก  ดี ปานกลาง  น้อย  น้อยทีส่ ุด สรปุ ผลการทักษะผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21  ผา่ น  ไม่ผา่ น(ผ่าน ต้องมีคะแนนต้ังแต่ 5 คะแนนขนึ้ ไป) ลงชือ่ …………………………….………………….ผปู้ ระเมิน ( นางสุมาลี สายธนู ) ………../……………../…….….

แบบสังเกตพฤติกรรมการทา้ งานรายกลมุ่ ค้าชีแจง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวำ่ งเรยี นและนอกเวลำเรียน แล้วขดี ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ชอื่ –สกุล การแสดง การยอมรบั ฟังคน การทา้ งาน ความมนี า้ ใจ การมี รวม ของนักเรียน ตามท่ีไดร้ ับ สว่ นรว่ มในการ 15 ลา้ ดบั ที่ ความคดิ เหน็ อน่ื มอบหมาย คะแนน ปรับปรงุ ผลงานกลมุ่ 3213213213 21 3 21 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชือ่ ................................................... ผู้ประเมนิ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยำ่ งสม้ำ่ เสมอ ................/.............../............... ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครัง ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบำงครงั ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตำ้่ กว่ำ 8 ปรับปรงุ

แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล คา้ ชีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่ำงเรยี นและนอกเวลำเรยี น แลว้ ขดี ลงในช่องทต่ี รงกับระดับคะแนน ลา้ ดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 กำรแสดงควำมคิดเห็น   2 กำรยอมรบั ฟังควำมคดิ เห็นของผอู้ นื่   3 กำรท้ำงำนตำมหน้ำทที่ ไ่ี ด้รบั มอบหมำย   4 ควำมมนี ้ำใจ   5 กำรตรงตอ่ เวลำ   รวม ลงช่อื ................................................... ผู้ประเมนิ ................/.............../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยำ่ งสมำ้่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบำงครงั เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่้ำกว่ำ 8 ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ การน้าเสนอผลงาน คา้ ชีแจง : ให้ผู้สอนประเมนิ กำรนำ้ เสนอผลงำน แล้วขีด ลงในชอ่ งทตี่ รงกับระดับคะแนน ล้าดับท่ี รายการประเมนิ 3 ระดับคะแนน 1  2  1 ควำมถูกตอ้ งของเนือหำ   2 ภำษำท่ีใช้เขำ้ ใจงำ่ ย    3 ประโยชน์ท่ีไดจ้ ำกกำรนำ้ เสนอ    4 วธิ กี ำรน้ำเสนอผลงำน    5 ควำมสวยงำมของผลงำน   รวม ลงชื่อ ................................................... ผ้ปู ระเมนิ .............../................/................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงำนหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รำยกำรประเมนิ สมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงำนหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รำยกำรประเมนิ เปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงำนหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รำยกำรประเมนิ บำงสว่ น เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14-15 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่้ำกว่ำ 8 ปรับปรงุ