ใบงาน หน้าที่พลเมือง ป ว ช 1

8. การรู้จักประหยัดคำนึงถึงประโยชน์มากกว่าคำนึงถึงความสะดวกสบาย ไม่ใช้สิ่งของอย่างฟุ่มเฟือย

หมายถึงขอ้ ใด

ก. รูจ้ ักประมาณ ข. มัธยสั ถ์

ค. รจู้ กั เลอื กบริโภค ง. ร้จู กั การจดั สรร

จ. ไมเ่ บียดเบียนธรรมชาตสิ ่ิงแวดลอ้ ม

9. “เมอ่ื ซกั ผา้ แลว้ กน็ ำน้ําทซี่ ักผ้าไปรดนํา้ ตน้ ไม้” สอดคลอ้ งกับขอ้ ใด

ก. การรกั ษาสมดุล ข. ไม่ทำลายส่งิ แวดล้อม

ค. ไมใ่ ช้ทรัพยากรเกนิ ความจำเป็น ง. ร้จู กั ประมาณ

จ. เหน็ คณุ ค่าของสง่ิ แวดลอ้ ม

10. “การไม่ทิ้งขยะสิ่งปฏิกูลลงในแม่น้ำเพราะจะทำให้น้ำสะอาดมีอากาศไหลเวียน ทำให้สิ่งมีชีวิตในน้ำ

สามารถอาศัยอยูไ่ ด”้ สอดคล้องกบั ขอ้ ใด

ก. รู้จกั ประหยดั ข. ไมท่ ำลายสิง่ แวดล้อม

ค. ไม่ใช้ทรัพยากรเกนิ ความจำเปน็ ง. รจู้ ักประมาณ

จ. การไมเ่ บียดเบยี นผู้อื่น

แบบ เฉลยแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้กอ่ นเรียน/หลังเรียน

1 ง3ก 5ก7 ง 9ก
2 ข 4 ง 6 ข 8 ข 10 ข

บนั ทกึ หลังการสอน

ขอ้ สรปุ หลังการสอน
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
................................................................................................................................................. ............
...................................................................................................................... .......................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
ปัญหาที่พบ
............................................................................................................................. ................................
................................................................. ................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ญั หา
............................................................................................................................. ................................
................................................................................................................................... ..........................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................

แผนการจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการท่ี 7 หน่วยท่ี หนว่ ยท่ี 7
สอนคร้งั ท่ี 16-17
รหัสวิชา 20000-1501 วชิ า หนา้ ท่ีพลเมอื งและศลี ธรรม
จำนวน 2 ช่ัวโมง
ชือ่ หนว่ ย/เรื่อง ศาสนากับการดำเนินชีวติ

จดุ ประสงค์รายวชิ า
2. ร้แู ละเข้าใจเกย่ี วกับสังคม วัฒนธรรม สทิ ธหิ น้าท่ีพลเมืองดีและหลกั ธรรมหรอื คำสอนของศาสนา

3. ประพฤติปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมอื งดตี ามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

และเปน็ ศาสนิกชนทดี่ ตี ามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ

4. ตระหนกั ถึงการดำเนนิ ชีวิตที่ถูกต้องดีงามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรูเ้ กี่ยวกับสังคม วัฒนธรรม สทิ ธหิ น้าท่พี ลเมอื งดีและหลกั ธรรมหรอื คำสอนของศาสนา
3. ประพฤติปฏบิ ตั ติ นตามหลักจรยิ ธรรม วัฒนธรรมและหลกั ธรรมหรอื คำสอนของศาสนาท่ตี นนบั ถือ

สาระสำคัญ
ศาสนาเปน็ สิง่ จำเป็นแก่ชีวิต ศาสนาทำใหม้ นุษยส์ ามารถอย่ไู ด้ตามลำพงั โดยปราศจากความกลวั คำ
สอนในศาสนาตา่ ง ๆ มคี วามสำคญั อยา่ งยิ่งในการพัฒนาบุคคลให้มที ัศนคติทีด่ งี าม มคี ุณธรรมประจำตน
และแนวทางปฏิบตั ิอนั ถูกต้อง ศาสนาจะช่วยพัฒนาปรับปรุงความคดิ และการกระทำต่าง ๆ ของบุคคลใหม้ ี
คณุ ภาพมากย่งิ ขน้ึ รวมถงึ การแก้ปัญหาและข้อบกพร่องของตนเองได้ จนสามารถบรรลคุ วามสำเร็จในชีวติ
และพน้ จากความทกุ ข์ ผูท้ ีพ่ ัฒนาตนเองแล้วยอ่ มมีศักยภาพและคณุ ภาพมหี ลักปฏิบตั ิอันถูกต้องและมีความ
พร้อมในการสร้างประโยชนส์ ขุ แก่สงั คมสว่ นรวม คำสอนของศาสนาจงึ มีเป้าหมายใหผ้ ศู้ ึกษาและปฏิบัติตาม
สามารถพฒั นาตนเองและสังคมได้

ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวัง

1. อธิบายความหมาย จดุ กำเนิด ความสำคัญของศาสนากับการดำเนินชวี ิตและลกั ษณะของ

ศาสนาได้

2. บอกศาสนาสำคญั ของโลกได้

3. อธบิ ายประเภทของศาสนาได้

4. มีการพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผูส้ ำเร็จการศกึ ษา

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง

1. ความมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ 2. ความมวี นิ ยั

3. ความรบั ผดิ ชอบ 4. ความซอ่ื สัตย์สจุ ริต

5. ความเชอ่ื ม่ันในตนเอง 6. การประหยดั

7. ความสนใจใฝ่รู้ 8. การละเวน้ ส่ิงเสพติดและการพนนั

9. ความรักสามัคคี 10. ความกตญั ญูกตเวที

สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายของศาสนา
2. จุดกำเนิดของศาสนา
3. ความสำคัญของศาสนากับการดำเนินชีวติ
4. ลักษณะของศาสนา
5. ศาสนาสำคญั ของโลก
6. ประเภทของศาสนา

กิจกรรมการเรียนรู้
- ชัว่ โมงที่ 1 ศาสนา คืออะไร -

ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรยี น
1. นำภาพศาสนาตา่ งๆให้นักเรยี นดแู ละทำสถิติของวา่ รู้จักศาสนาใดต่อไปน้บี า้ ง

จากน้นั เชื่อมโยงเข้าสู่บทเรยี น

ขั้นสอน
2. ให้นกั เรยี นทำใบงานท่ี 7.1 เรื่องจดุ กำเนดิ ของศาสนา ข้อ 1 ศาสนาหมายถงึ .... จากนั้นส่มุ ถาม
นกั เรยี น 2-3 คน นักเรยี นและครูรว่ มกันสรุปศาสนาตามดุลยพินจิ
3. ตง้ั ประเด็นคำถาม เรื่องศาสนาเกิดจากอะไร โดยใชใ้ บงานท่ี 7.1 ในการเรยี นการสอน ให้นักเรยี น
กากบาทข้อความที่ไมเ่ กี่ยวข้องกับจดุ กำเนิดศาสนา จากน้ันเขียนอธิบายสัน้ ๆ ครอู ธิบายเพ่ิมเติมให้
สมบูรณ์
4. นักเรียนจับคู่เขยี นลกั ษณะของศาสนา ในใบงานท่ี 7.2 เรอื่ งลกั ษณะของศาสนา
5. นกั เรยี นแข่งขนั กนั ทายปัญหา โดยแบ่งกลุม่ 3-4 กลมุ่ (ตามความเหมาะสม) ใหต้ วั แทนเขยี นตอบ
ในกระดาษ หรอื ออกมาเขยี นตอบบนกระดานหน้าชั้นเรียน โดยครอู ่านคำถามจากบตั รคำถาม ให้แต่ละกล่มุ
สลับกันภายในกลุ่มออกมาเขียนตอบคนละหน่ึงข้อ

ขน้ั สรุป
6. นักเรยี นทำการบา้ นใบงานที่ 7.3 เร่อื งศาสนาและความสำคญั (นำมาใช้เปน็ ข้นั นำชว่ั โมงตอ่ ไป)

- ชว่ั โมงท่ี 2 เร่อื ง ศาสนาสำคัญของโลก -
ขัน้ นำ
1. สมุ่ ให้นกั เรยี นเขียนความสำคญั ของศาสนาบนกระดาน 4-5 คน

เชอื่ มโยงเขา้ สกู่ ารสอน (ทุกศาสนาต่างก็มีคำสอนท่ีตอ้ งการให้ประชาชนทุกคนเป็นคนดี อยดู่ ว้ ยกนั
อยา่ งมีความสุข และมนุษยท์ ุกคนต้องมที ่ีพง่ึ ทางใจ เพื่อสร้างความม่ันใจใหก้ ับชวี ติ )

ขน้ั สอน
1. นักเรยี นและครชู ว่ ยกันเฉลยใบงานท่ี 7.3 เรื่องศาสนาและความสำคญั (นกั เรียนสลับดันตรวจ)
3. นกั เรียนศึกษาศาสนาสำคัญของโลก พุทธศาสนา คริสตศ์ าสนา พราหมณ์-ฮนิ ดู อิสลาม โดย
มีครเู ป็นผู้อธบิ ายเพ่มิ เติมใหส้ มบูรณ์ จากนั้นตอบคำถามต่อไปนี้
• ศาสนาที่เป็นอเทวนิยมคือศาสนาใด (พทุ ธศาสนา)
• ศาสนาทเี่ ชื่อว่ามีเทพเจ้าองค์เดยี วกนั คือศาสนาใด (คริสต์ อิสลาม)
3. นักเรยี นทำใบงาน 7.4 เร่ืองศาสนาทีข่ ้าพเจ้านับถือ

ข้นั สรุป
4. นักเรยี นอภปิ รายประเดน็ “ไม่มศี าสนาจะเปน็ คนดีไดห้ รือไม่” (ขนึ้ อยูก่ บั ดุลยพนิ ิจ)

สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
16. หนงั สือเรยี น วชิ าหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม ของบริษทั สำนกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จำกดั
17. ส่อื PowerPoint วชิ าหน้าทพี่ ลเมอื งและศีลธรรม
18. บัตรขอ้ ความ
19. รปู ภาพสัญลักษณ์ศาสนาตา่ งๆ

หลกั ฐาน
3. การตรวจใบงาน กิจกรรม คำถาม
4. การเชค็ ชือ่ เรยี นในรายวชิ า

การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ ีวัดผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. ตรวจใบงาน

เครอ่ื งมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินผลการเรยี นรกู้ ่อนเรยี น
3. คำถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู้/ใบงาน จากหนังสือเรียนวชิ าหนา้ ที่พลเมืองและศลี ธรรม

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี ่องปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้นึ ไป)
3. ตอบคำถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้และทำใบงานได้ทกุ ใบงานจงึ จะถือวา่ ผา่ นการประเมิน

กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรยี นบันทึกความดีและนำผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

บั ต ร ค ำ ถ า ม

1. อธบิ ายความหมายของคำว่า “ศาสนา”

2. ขณะนี้ท่านนับถือศาสนาใดอยู่ และท่านคิดว่าท่านเปน็ ศาสนิกชนที่สมบูรณ์หรือไม่ เพราะเหตใุ ด

3 . ศ รั ท ธ า ห ม า ย ถึ ง อ ะ ไ ร

4. ศาสนาท่นี ับถือเทวนยิ มเป็นอย่างไร

5 . อ ริ ย สั จ 4 ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย อ ะ ไ ร บ้ า ง

เ ฉ ล ย บั ต ร ค ำ ถ า ม

เฉลยบัตรที่ 1 : ลัทธคิ วามเชือ่ ของมนุษย์อันมีหลัก คือ แสดงกำเนดิ และความส้ินสดุ ของโลก

เป็นต้น อนั เปน็ ไปในฝ่ายปรมัตถป์ ระการหนึง่ แสดงหลกั ธรรมเกย่ี วกบั บุญ บาป อนั เปน็ ไป

ในฝา่ ยศีลธรรมประการหนง่ึ พรอ้ มทงั้ ลัทธิพธิ ีท่ีกระทำตามความเหน็ หรือตามคำสอนใน

ความเชอ่ื ถือนั้น

เฉลยบตั รที่ 2 : คำตอบขน้ึ อยู่กบั ดุลพนิ จิ ของผสู้ อน

เฉลยบัตรที่ 3 : ความเชอ่ื ความเชื่อทป่ี ระกอบด้วยเหตุผล หรือความเชือ่ ในส่ิงทีค่ วรเชื่อ

เฉลยบัตรที่ 4 : ศาสนาทน่ี ับถือเทวนยิ มเปน็ ศาสนาท่ีนับถอื เทพเจ้าว่าเปน็ ผู้สรา้ งโลกและสรรพสงิ่

เฉลยบตั รที่ 5 : 1. ทกุ ข์ 2. สมทุ ัย 3. นิโรธ 4. มรรค

บันทกึ หลังการสอน

ขอ้ สรุปหลงั การสอน
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................................. ................
ปญั หาท่ีพบ
....................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
....................................................................................................................... ......................................
............................................................................................................................. ................................
แนวทางแกป้ ญั หา
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ...........................................

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการท่ี 8 หนว่ ยท่ี 8 หนว่ ยที่ 8

รหสั วิชา 20000-1501 วิชา หนา้ ทพี่ ลเมืองและศลี ธรรม สอนครั้งท่ี 18-19

ชอื่ หน่วย/เรื่อง พุทธประวตั ิ วนั สำคญั องค์ประกอบ จำนวน 2 ชัว่ โมง
ทางพระพุทธศาสนา และเร่ืองน่ารจู้ ากพระไตรปิฎก

จดุ ประสงค์รายวชิ า
1. รู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั สังคม วัฒนธรรม สทิ ธหิ นา้ ทีพ่ ลเมืองดแี ละหลักธรรมหรือคำสอนของศาสนา

2. ประพฤติปฏิบัตติ นเป็นพลเมอื งดีตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ

และเป็นศาสนิกชนที่ดตี ามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนบั ถือ

3. ตระหนกั ถึงการดำเนนิ ชีวิตท่ถี ูกต้องดงี ามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั สังคม วัฒนธรรม สทิ ธหิ น้าทีพ่ ลเมอื งดแี ละหลักธรรมหรอื คำสอนของศาสนา
3. ประพฤติปฏบิ ัตติ นตามหลักจรยิ ธรรม วัฒนธรรมและหลกั ธรรมหรือคำสอนของศาสนาท่ตี นนับถือ

สาระสำคัญ
พระพทุ ธประวัติในหน่วยนี้เป็นการแสดงให้เหน็ ถงึ พระประวตั ิของพระพทุ ธเจ้าตง้ั แต่ประสูติ จนถึง

ปรินพิ พาน แสดงใหเ้ หน็ ว่าตลอดพระชนม์ชพี พระพุทธเจ้าได้ทรงสร้างคณุ ูปการต่าง ๆ ให้กับมนษุ ยชาติ
และหลกั ธรรมทท่ี รงแสดงไวเ้ ปน็ เวลานานกว่า 2,500 ปมี าแลว้ ยงั คงทนั สมัยมาจนทกุ วันนี้ วันสำคัญทาง
พระพทุ ธศาสนาคือวันสำคัญในพุทธประวัติองค์ประกอบของพระพุทธศาสนามี 3 ประการ คือ พระพุทธคุณ
๙ พระธรรมคณุ 6 และพระสังฆคุณ 9 เร่ืองนา่ รจู้ ากพระไตรปฎิ ก ในท่นี ่ีคือ พุทธพยากรณ์ 18 ประการ

ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง
1. อธบิ ายพุทธประวตั ิได้
2. อธิบายวันสำคัญทางพระพทุ ธศาสนาได้
3. บอกองคป์ ระกอบของพระพุทธศาสนาได้
4. บอกคัมภรี ์สำคัญและเร่ืองน่ารจู้ ากพระไตรปิฎกได้

5. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศกึ ษา

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ที่ครสู ามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง

1. ความมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ 2. ความมวี นิ ยั

3. ความรับผิดชอบ 4. ความซ่อื สตั ย์สุจรติ

5. ความเชือ่ มัน่ ในตนเอง 6. การประหยัด

7. ความสนใจใฝ่รู้ 8. การละเวน้ ส่งิ เสพตดิ และการพนัน

9. ความรกั สามัคคี 10. ความกตญั ญกู ตเวที

สาระการเรียนรู้
1. พระพทุ ธประวตั โิ ดยสงั เขป
2. ศึกษาพุทธประวัติจากพระพทุ ธรปู ปางต่าง ๆ

3. วนั สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา

4. องคป์ ระกอบของพระพทุ ธศาสนา

5. คมั ภรี ส์ ำคัญทางพระพุทธศาสนา

6. เรื่องนา่ รูจ้ ากพระไตรปฎิ ก

กจิ กรรมการเรยี นรู้
- ช่ัวโมงที่ 1 พุทธประวัติ -

ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
1. เปิดพุทธประวัตติ อนผจญมาร จากhttps://www.youtube.com/watch?v=5q6WlNVz9tc
จากน้นั รว่ มกนั สรุปเหตกุ ารณ์ จากน้นั เชือ่ มโยงเขา้ ส่บู ทเรยี น
ขนั้ สอน
2. นักเรียนรว่ มกันอภิปรายในประเดน็ “พทุ ธประวตั ิเร่ืองจริงหรอื เกินจริง” (ขึ้นอยกู่ ับดุลยพนิ ิจ แนว
คำตอบคือบางเหตกุ ารณ์ถูกเขียนข้ึนเกินจริงเพื่อเปน็ การเปรียบเปรยให้เห็นภาพ น่าสนใจและดงึ ดูดใจใน
ความสามารถของพระองคจ์ ะไดเ้ ข้าสู่พระพุทธศาสนา)
3. นกั เรยี นทำใบงานที่ 8.1 เรอ่ื งพุทธประวตั ิ เรยี งเหตุการณ์ให้ถูกตอ้ ง โดยครูอธบิ ายเพมิ่ เติมให้
สมบูรณ์
4. นกั เรยี นจับกลุ่มคนเกดิ วันเดียวกัน จนั ทร์ องั คาร พธุ พฤหสั บดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ เพือ่ ศกึ ษา
และทำใบงานที่ 8.2 เร่ืองพระพทุ ธรูปปางประจำวนั เกิด โดยให้ตวั แทนกล่มุ ออกมาเล่าหนา้ ชัน้ เรยี น
5. นักเรียนศึกษาวนั สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนาและทำใบงานท่ี 8.3 เรอ่ื งวันสำคญั ทาง
พระพทุ ธศาสนา
ขั้นสรปุ
6. พุทธประวัติ พระพุทธรูป และวนั สำคญั ตา่ ง ๆ มีขึ้นเพ่อื อะไร (ให้ระลกึ ถงึ พระพุทธเจา้ จะได้
กระตนุ้ ให้ระลึกถงึ หลกั ธรรมคำสอน)

- ชวั่ โมงท่ี 2 เรือ่ ง องคป์ ระกอบ คมั ภรี ์ของพระพุทธศาสนา และเรื่องน่ารู้จากพระไตรปฎิ ก -
ขั้นนำ
1. เปดิ บทสวดมนตแ์ ปล พระพทุ ธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ ให้นักเรยี นสวดตาม จากนนั้

เชอื่ มโยงเข้าสบู่ ทเรียน
ขัน้ สอน
2. สุม่ ถามนักเรียนเกีย่ วกบั ความสำคัญ ประโยชนข์ องการสวดบทพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ

พระสงั ฆคณุ (เพื่อระลึกถึงคุณพระรัตนตรยั พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ)์ จากนั้นทำใบงานท่ี 8.4 เร่ือง
องคป์ ระกอบและความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนา

3. นักเรียนศึกษาเรื่องพุทธพยากรณ์ 16 ประการจากหนังสือเรียนหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม
แลว้ วาดภาพคำทำนายคนละ 1 ภาพ ประกอบการเขียนบรรยายใตภ้ าพ ลงกระดาษ A4 โดยมีครูเปน็ ผู้
อธบิ ายเพม่ิ เติมใหส้ มบูรณ์ จากนั้นตอบคำถามต่อไปน้ี

• หากเกดิ เร่ืองดังคำพยากรณ์สังคมจะเป็นอยา่ งไร (กา้ วสู่ความเส่อื มศีลธรรม เกิดความขัดแย้ง
กัน)
ข้ันสรปุ
4. นกั เรยี นอภิปรายประเด็น “ไม่มพี ระพุทธเจา้ ศาสนาพุทธจะอยู่ได้หรือไม่” (ข้นึ อยู่กบั ดุลยพินจิ )
สือ่ และแหล่งการเรียนรู้
20. หนงั สือเรยี น วิชาหน้าที่พลเมืองและศลี ธรรม ของบริษทั สำนักพิมพ์เอมพนั ธ์ จำกดั
21. สอ่ื PowerPoint วชิ าหน้าที่พลเมอื งและศีลธรรม
22. บทสวดมนต์แปล
หลกั ฐาน
5. การตรวจใบงาน กิจกรรม คำถาม
6. การเช็คชื่อเรียนในรายวชิ า
7. ชน้ิ งานภาพคำพยากรณ์
การวัดผลและการประเมินผล
วธิ ีวัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. ตรวจใบงาน ชนิ้ งาน

เครื่องมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ ผลชิ้นงาน
3. คำถามท้ายหน่วยการเรียนรู/้ ใบงาน จากหนังสือเรยี นวิชาหน้าท่ีพลเมืองและศีลธรรม

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ีชอ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)
3. ตอบคำถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้และทำใบงานได้ทุกใบงานจึงจะถือว่าผา่ นการประเมนิ
กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรยี นบนั ทึกความดีและนำผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

บนั ทกึ หลังการสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
...................................................................................... ............................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................ .................................
............................................................................................................................. ................................
................................................................ .................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
ปญั หาท่ีพบ
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
................................................................. ................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
แนวทางแกป้ ัญหา
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
................................................................................................................................... ..........................
........................................................................................................ .....................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 9 หน่ วยท่ี หน่วยที่ 9

รหัสวิชา 20000-1501 วิชา หน้าทีพ่ ลเมอื งและศีลธรรม สอนครัง้ ที่ 21-22

ชือ่ หน่วย/เร่ือง หลกั ธรรมและหลกั ปฏิบัตทิ างพระพุทธศาสนา จำนวน 2 ช่ัวโมง

จดุ ประสงค์รายวิชา
1. รู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั สงั คม วฒั นธรรม สทิ ธหิ นา้ ทพี่ ลเมืองดีและหลักธรรมหรือคำสอนของศาสนา

2. ประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นพลเมอื งดีตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข

และเปน็ ศาสนิกชนท่ดี ตี ามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนบั ถือ

3. ตระหนักถึงการดำเนนิ ชีวิตทีถ่ ูกต้องดีงามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับสังคม วัฒนธรรม สทิ ธิหนา้ ทพี่ ลเมอื งดีและหลักธรรมหรอื คำสอนของศาสนา
3. ประพฤติปฏบิ ตั ิตนตามหลักจรยิ ธรรม วฒั นธรรมและหลักธรรมหรอื คำสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ
สาระสำคญั

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา หรอื คำสอนทางพระพุทธศาสนาปรากฏอยใู่ นพระไตรปิฎกมีอยู่

เปน็ จำนวนมาก แต่หลักธรรมทม่ี ีความสำคัญมากที่สุดทางพระพุทธศาสนา คอื อริยสจั 4 สว่ นหลักปฏบิ ัติ

ทางพระพุทธศาสนา คือไมท่ ำความช่วั ทั้งปวง ทำแต่ความดี ทำจิตของตนให้ผอ่ งใส ท้ังหมดเร่ิมตน้ ที่การ

สวดมนต์ และทำสมาธิ

ผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวงั

1. อธิบายหลกั ธรรมสำคัญทางพระพุทธศาสนาได้

2. สามารถสวดมนตภ์ าษาบาลีแล้วแปลเป็นภาษาไทยได้

3. สามารถกล่าวคำแผ่เมตตาใหท้ ง้ั ตนเองและผู้อื่นได้

4. ปฏบิ ัตวิ ธิ ีการบรหิ ารจติ ตามหลกั พระพุทธศาสนาได้

5. มีการพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผสู้ ำเร็จการศึกษา

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ีครสู ามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง

1. ความมีมนุษย์สัมพันธ์ 2. ความมวี ินัย

3. ความรบั ผดิ ชอบ 4. ความซ่ือสัตยส์ ุจรติ

5. ความเช่ือม่นั ในตนเอง 6. การประหยดั

7. ความสนใจใฝร่ ู้ 8. การละเว้นสิ่งเสพตดิ และการพนัน

9. ความรักสามัคคี 10. ความกตญั ญกู ตเวที

สาระการเรียนรู้
1. หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา
2. ทกุ ข์(ธรรมที่ควรรเู้ ทา่ ทัน)
3. สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
4. นโิ รธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
5. มรรค (ธรรมท่ีควรเจรญิ )
6. หลกั ปฏิบัติทางพระพทุ ธศาสนา

กิจกรรมการเรยี นรู้
- ชวั่ โมงที่1 -

ขั้นนำ
1. นักเรียนทำกิจกรรม “คำไหนไม่ใช”่ ให้เลอื กคำทีไ่ มเ่ กี่ยวข้องกบั หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
ออกจากกระดาน

สงั ฆทาน สงั คหวตั ถุ มรรค

อริยสจั ผจญมาร ปิ ยวาจา

หลกั ธรรมคือแนวทางการดำเนินชวี ติ จากน้ันเชอ่ื มโยงเขา้ สู่บทเรียน

ข้ันสอน
2. นกั เรยี นจดั กล่มุ อภปิ รายย่อย 4 กลมุ่ ตามหวั ขอ้ ดงั นี้

1) กลมุ่ ท่ี 1 ศกึ ษาเรอื่ งทุกข์
2) กลมุ่ ที่ 2 ศกึ ษาเรือ่ งสมทุ ยั
3) กลมุ่ ที่ 3 ศึกษาเรื่องนโิ รธ
4) กลมุ่ ที่ 4 ศกึ ษาเรือ่ งมรรค
3. แตล่ ะกลุ่มศึกษาเน้ือหาจากหนังสอื เรยี นและอภปิ รายวเิ คราะหค์ ุณธรรมทค่ี วรประยุกต์ใช้เปน็
แบบอย่าง พรอ้ มท้งั ทำใบงานที่ 9.1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา : อรยิ สจั 4 ทำใบงาน 9.2 เร่อื งกรรม
4. นักเรยี นออกมาเสนอผลงานกลุม่ ครูสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่
ขน้ั สรุปและการประยกุ ต์
5. นักเรยี นอภปิ รายเพื่อหาข้อสรปุ ร่วมกัน
6. นักเรยี นตรวจใบงานด้วยตนเองเพ่ือทดสอบความซ่ือสตั ย์
7. ให้นกั เรยี นบันทึกความดี และนำผลการบันทึกความดไี ปพลอ็ ตกราฟ เพอื่ ดพู ัฒนาการความดี
ของตนต่อไป

- ช่ัวโมงท่ี ๒ -
ข้นั นำเข้าสู่บทเรยี น
1. สุ่มนักเรยี นเลา่ ถึงการเข้าไปฝึกจิตในวัดหรือสถานธรรมตา่ ง ๆ ซง่ึ การฝึกจิตให้มสี มาธิ ไม่
วอกแวกหวั่นไหว เปน็ ภาวะท่ีจติ แนบแน่นอยู่กับสิง่ ใดส่ิงหนึ่งนาน ๆ เป็นภาวะทจี่ ิตมีคุณภาพและ
สมรรถภาพ ซ่ึงมลี ักษณะสำคัญ คือ แข็งแรง มีพลัง ราบเรียบ สงบ สดใส เบิกบาน อ่อนโยนไม่กระดา้ ง ไม่
เครียด ไม่หวน่ั ไม่ขุน่ มวั ไม่สบั สน ไมเ่ รา่ รอ้ นกระวนกระวาย จิตทมี่ ีภาวะเช่นนี้ ทางพระพุทธศาสนา ถอื ว่า
“เปน็ จิตทเ่ี หมาะแกก่ ารใชง้ าน” จะทำการสงิ่ ใดย่อมสำเรจ็ หรือบรรลุวัตถปุ ระสงค์
2. นักเรยี นยกตวั อยา่ งการบรหิ ารจติ โดยการตงั้ สมาธิ โดยทัว่ ไปมี 2 ประเภท ไดแ้ ก่

(1) สมาธทิ ม่ี โี ดยธรรมชาติ เชน่ เมือ่ อา่ นหนังสอื ใจจะจดจอ่ อยู่กับเรือ่ งท่ีอ่าน มีความสุขเพลดิ เพลนิ
สมาธิชนดิ นเ้ี ปน็ สมาธิที่มีโดยธรรมชาติ แต่จะมหี รอื เกดิ ข้ึนก็เมื่อตั้งใจเอาใจจดจ่อ เมอื่ เลิกตั้งใจสมาธิก็จะไม่
มี

(2) สมาธทิ ่ีตอ้ งพฒั นา คือ สมาธิท่เี กดิ จากการปฏบิ ัติตามวิธีท่ไี ดร้ ับจากการฝกึ สมาธิชนดิ นี้
เมอ่ื ฝึกฝนแล้ว จะมีพลังมากกว่าเดมิ สามารถนำไปใชใ้ นกจิ การต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวนั ได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

ขัน้ สอน (วธิ สี อนแบบ Jigsaw)
3. ครูอธิบายเน้ือหาการบริหารจิตโดยใชส้ ื่อวดี ิทัศนเ์ ปิดประกอบการเรยี น เพ่ือส่ือความหมายง่ายขึ้น
โดยวธิ บี รหิ ารจิตตามหลักพระพุทธศาสนา วธิ บี รหิ ารจติ มหี ลายวิธี ขึน้ อยกู่ ับแต่ละบคุ คลวา่ จะเลือกใชว้ ิธีใด
เชน่ เดียวกบั การบรหิ ารรา่ งกาย บางคนอาจจะเลือกวธิ ีออกกำลงั กายอย่างช้า ๆ เช่น เดิน รำตะบอง โยคะ แต่
บางคนอาจเหมาะกบั วธิ ีออกกำลังอยา่ งเร็วๆ เชน่ วิ่ง แอโรบิก ทำใบงาน 9.3
4 ครอู ธิบายและสาธิตการสวดมนต์ และการสวดมนตแ์ ปล
5. แบง่ กลุม่ นักเรียนตามความเหมาะสม ปฏบิ ัติการสวดมนต์แปลตามทไ่ี ด้เรียนมา
6. นักเรียนจดั กลุ่มเป็นกลุ่มย่อยๆ กลุ่มละ ๔ คน แตล่ ะกลุ่มศึกษาการบริหารจิต การสวดมนต์ และ
การสวดมนตแ์ ปล
ขั้นสรปุ และการประยกุ ต์
7. นกั เรียนรว่ มกนั คดิ ความสำคัญของการแผ่เมตตา (การแผเ่ มตตา คือ การตัง้ ความปรารถนาดี
หรือแผ่ความรู้สึกเป็นมิตรไปยังเพื่อนมนุษย์และอมนุษย์ทั้งหลาย ได้แก่ เทวดา และสรรพสัตว์ ให้มีความ
รม่ เยน็ เปน็ สุข จะใหเ้ กิดผลต่อการพัฒนาจิต ควรแผเ่ มตตาใหต้ นเองกอ่ น แล้วจงึ แผ่เมตตาให้ผูอ้ ่นื )
8. ทดลองฝกึ ใหน้ กั เรยี นแผเ่ มตตาใหต้ นเอง และแผ่เมตตาใหค้ นอน่ื ทำใบงาน ๙.๔
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน วิชาหน้าที่พลเมืองและศลี ธรรม ของบริษัท สำนักพิมพเ์ อมพันธ์ จำกดั
2. ใบงาน
3. บันทกึ ความดี
4. บตั รข้อความ
5. ส่อื PowerPoint วชิ าหน้าท่พี ลเมืองและศลี ธรรม

หลกั ฐาน
1. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คำถาม
2. การเช็คชือ่ เข้าเรยี น
3. บนั ทึกความดี
4. บนั ทกึ พัฒนาการความดี

การวัดผลและการประเมินผล
วธิ วี ัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. ตรวจใบงาน
4. บนั ทกึ ความดี

เครือ่ งมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบสงั เกตพฤติกรรม
3. คำถามท้ายหน่วยการเรียนร/ู้ ใบงาน จากหนังสือเรียนวชิ าหนา้ ท่ีพลเมืองและศีลธรรม
4. บันทึกความดี

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี อ่ งปรับปรุง
2. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป)
3. ตอบคำถามทา้ ยหน่วยการเรียนรู้และทำใบงานได้ทุกใบงานจึงจะถือวา่ ผ่านการประเมนิ
4. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละคร้ังมาเขียนกราฟแสดงจะเห็น
พัฒนาการความดขี องตนเองลงในแบบพฒั นาความดีท่ีอยู่ดา้ นหลงั ของหน้าปกหนังสือเรียน
กิจกรรมเสนอแนะ
ใหน้ ักเรียนบันทึกความดีและนำผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

บันทึกหลังการสอน

ขอ้ สรุปหลงั การสอน
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
ปญั หาท่ีพบ
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
แนวทางแกป้ ญั หา
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ...........................................

แผนการจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการท่ี 10 หน่ วยท่ี 1 หน่วยท่ี 10

รหัสวิชา 20000-1501 วิชา หนา้ ท่ีพลเมอื งและศลี ธรรม สอนคร้ังที่ 23-24

ชอ่ื หนว่ ย/เรอ่ื ง หน้าท่ชี าวพทุ ธและศาสนิกชนตวั อย่าง จำนวน 2 ชว่ั โมง

จุดประสงค์รายวชิ า
1. รแู้ ละเข้าใจเกีย่ วกับสังคม วัฒนธรรม สิทธหิ น้าที่พลเมอื งดีและหลักธรรมหรือคำสอนของศาสนา
2. ประพฤติปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมืองดีตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ
และเป็นศาสนิกชนท่ดี ตี ามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ
3. ตระหนกั ถึงการดำเนินชวี ิตทีถ่ ูกตอ้ งดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความร้เู ก่ยี วกบั สังคม วัฒนธรรม สทิ ธิหน้าทพ่ี ลเมืองดแี ละหลักธรรมหรือคำสอนของศาสนา
3. ประพฤติปฏบิ ัตติ นตามหลักจริยธรรม วัฒนธรรมและหลกั ธรรมหรือคำสอนของศาสนาท่ีตนนบั ถือ

สาระสำคัญ
หน้าที่ชาวพุทธเป็นคุณสมบัติที่ดีของชาวพุทธที่จะต้องสร้างศรัทธาให้เกิดมีในตน เรียนรู้ระเบียบ

ท่ีถูกตอ้ งในการไปวัด ตลอดจนการประกอบพิธกี รรมและปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์
ศาสนกิ ชนตัวอย่างในที่นี้ประกอบดว้ ยพระภิกษุ และอุบาสก ทีท่ ำคุณประโยชนใ์ ห้แก่

พระพุทธศาสนาและประเทศชาติ

ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวัง

๑. ปฏบิ ัตติ นเปน็ ศาสนกิ ชนทดี่ ี

๒. วเิ คราะหข์ ้อคิดและแบบอย่างการดำเนินชีวิตจากประวตั สิ าวก ศาสนิกชนตัวอยา่ ง

๓. มีการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ีครสู ามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง

1. ความมีมนุษยส์ มั พันธ์ 2. ความมีวนิ ยั

3. ความรับผิดชอบ 4. ความซ่ือสัตย์สจุ ริต

5. ความเชอ่ื มั่นในตนเอง 6. การประหยัด

7. ความสนใจใฝ่รู้ 8. การละเว้นส่งิ เสพติดและการพนัน

9. ความรกั สามัคคี 10. ความกตัญญูกตเวที

สาระการเรียนรู้
1. คุณสมบัติท่ีดีของชาวพทุ ธ
2. การสร้างศรัทธาให้เกิดมีในตน
3. การเรยี นรู้ระเบียบปฏบิ ตั ิในการไปวดั
4. วิธีปฏิบัตใิ นการประกอบพิธีกรรมท่ีวดั ในโอกาสต่าง ๆ
5. วิธีปฏิบัตติ นทเ่ี หมาะสมต่อพระสงฆ์
6. ศาสนกิ ชนตวั อย่าง

กจิ กรรมการเรียนรู้
- ช่วั โมงท่ี 1 -

ขนั้ นำเข้าสู่บทเรยี น
1. นกั เรียนเขียนคุณสมบัตทิ ่ีดีของชาวพุทธ ลงใบงานท่ี 10.1 คนละ 1 ข้อ ร่วมกันสรปุ แล้วเขยี นบน
กระดานให้นกั เรียนเขียนลงใบงานที่ 10.1 ให้ครบทุกข้อ
จากนนั้ เชื่อมโยงเข้าสบู่ ทเรยี น
ขั้นสอน
2. นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายในประเดน็ “ชาวพุทธท่ีดีต้องมีความเช่ือแบบใด” (ข้นึ อยู่กับดุลยพินิจ
แนวคำตอบคือความเช่ือทป่ี ระกอบด้วยเหตุผล กมั มสัทธา วปิ ากสัทธา กัมมสั สกตาสัทธา ตถาคตสัทธา)
3. นักเรยี นดูคลิปงานบวช จาก https://www.youtube.com/watch?v=dyoz-D2IhIY แลว้ ตอบ
คำถามตอ่ ไปน้ี

• นักเรียนคิดคือวา่ วัดคือสถานทีอ่ ยา่ งไร (ประกอบพิธกี รรมทางศาสนา เปน็ ท่ีพกั ผ่อนหย่อน
ใจ)

• การไปวัด หรือประกอบกิจกรรมในวัด หรือศาสนสถานควรประพฤติตนอย่างไร (สุภาพให้
เกียรตสิ ถานท่ี หรือมกี าลเทศะ)

4. แบ่งนกั เรียนเป็น 5 กลุ่มช่วยกนั ศกึ ษาวิธปี ฏิบัติตนต่อพระสงฆ์และวธิ ปี ฏิบตั ติ นในการประกอบ
พธิ กี รรมท่วี ดั ในโอกาสตา่ ง ๆ ทำใบงาน 10.2 เรื่องการปฏบิ ตั ติ นใหเ้ หมาะสมตอ่ พระสงฆ์

ขั้นสรปุ
5. ตัวแทนกลมุ่ จับสลากสถานการณ์สมมติเพื่ออกมาแสดงบทบาทสมมตหิ น้าชัน้ เรยี น

- ช่วั โมงที่ 1 -
ข้ันนำ
1. นักเรียนดโู ฆษณากระทรวงพลงั งานเกี่ยวกับรชั กาลที่ 9 จาก
https://www.youtube.com/watch?v=gnuGm20FC8I จากนัน้ เชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน (จากที่เห็น
พระองค์มคี ุณธรรม เปน็ พุทธศาสนิกชนท่ดี เี ปน็ ศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง)
ขนั้ สอน
2. นกั เรยี นศกึ ษาประวัติศาสนิกชนตวั อย่างในหนงั สือเรยี นวิชาหน้าทีพ่ ลเมอื งและศลี ธรรม ของ
บริษทั สำนักพมิ พ์เอมพันธ์ ประกอบการอธบิ ายเพ่ิมเติมของครู
3. นกั เรียนสืบคน้ ข้อมลู บคุ คลทสี่ ามารถเป็นศาสนิกชนตัวอย่างได้ 1 คนทำลงใบงานท่ี 10.3
พรอ้ มทั้งเขียนคณุ ธรรมท่นี ำมาเป็นแบบอยา่ ง 1-3 ประการ

ขน้ั สรุป
4. นักเรยี นร่วมกันวเิ คราะหป์ ระโยชน์ของการศกึ ษาประวัติของศาสนกิ ชนตัวอย่าง (ขึน้ อยกู่ ับดุลย
พินิจ โดยมีแนวคำตอบคือศึกษาเพื่อนำคุณธรรมไปปฏิบตั ิเป็นแบบอย่างในการดำเนินชวี ติ )
สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
23. หนงั สอื เรียน วิชาหนา้ ทพี่ ลเมืองและศลี ธรรม ของบรษิ ัท สำนกั พิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
24. ส่อื PowerPoint วชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม
25. โทรศพั ท์มอื ถือ
หลักฐาน
8. การตรวจใบงาน กิจกรรม คำถาม
9. การเชค็ ชื่อเรยี นในรายวิชา
การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ัดผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. สังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่
3. ตรวจใบงาน

เครอื่ งมอื วดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกล่มุ
3. คำถามท้ายหน่วยการเรียนร้/ู ใบงาน จากหนังสือเรียนวชิ าหน้าท่ีพลเมืองและศีลธรรม

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึน้ ไป)
3. ตอบคำถามทา้ ยหน่วยการเรียนร้แู ละทำใบงานได้ทกุ ใบงานจึงจะถือวา่ ผา่ นการประเมิน
กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรยี นบันทึกความดีและนำผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

บนั ทึกหลังการสอน

ขอ้ สรุปหลังการสอน
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................................. ................
ปัญหาท่ีพบ
....................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
....................................................................................................................... ......................................
............................................................................................................................. ................................
แนวทางแกป้ ญั หา
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................. ................................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการท่ี 11 หน่วยท่ี 11
รหัสวิชา 20000-1501 วชิ า หน้าทพี่ ลเมืองและศลี ธรรม สอนคร้งั ที่ 25-26
ชื่อหนว่ ย/เร่อื ง มารยาทชาวพุทธ
จำนวน ๒ ชัว่ โมง

จุดประสงค์รายวชิ า
1. รูแ้ ละเขา้ ใจเก่ียวกบั สังคม วัฒนธรรม สทิ ธิหนา้ ท่พี ลเมืองดีและหลกั ธรรมหรือคำสอนของศาสนา

2. ประพฤติปฏิบตั ิตนเป็นพลเมอื งดตี ามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข

และเป็นศาสนิกชนท่ีดีตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ

3. ตระหนักถึงการดำเนนิ ชีวติ ทถี่ ูกต้องดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับสงั คม วัฒนธรรม สิทธหิ น้าท่ีพลเมืองดีและหลักธรรมหรือคำสอนของศาสนา
3. ประพฤติปฏบิ ตั ติ นตามหลักจริยธรรม วัฒนธรรมและหลักธรรมหรอื คำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ

สาระสำคญั
มารยาทชาวพุทธ และมารยาทชาวไทยเป็นของคู่กัน ดังนน้ั มารยาทชาวพทุ ธก็คือมารยาทชาวไทย

ทคี่ วรปฏิบตั นิ ่ันเอง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. ปฏบิ ัติตามแบบอย่างมารยาทไทยได้
2. ปฏบิ ัติการนัง่ การยนื่ การเดนิ การไหว้ และการกราบได้ถูกต้อง

3. มีการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ที่ครูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง

1. ความมีมนุษยส์ ัมพันธ์ 2. ความมีวินยั

3. ความรับผิดชอบ 4. ความซ่อื สัตยส์ ุจริต

5. ความเชือ่ ม่ันในตนเอง 6. การประหยัด

7. ความสนใจใฝ่รู้ 8. การละเว้นสงิ่ เสพตดิ และการพนนั

9. ความรกั สามัคคี 10. ความกตัญญกู ตเวที

สาระการเรยี นรู้
1. มารยาทชาวพทุ ธ
2. การนัง่
3. การยนื
4. การเดนิ
5. การไหว้

6. การกราบ

กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครูและนักเรยี นกล่าวถงึ ความสำคัญของมารยาทในสังคมไทย

ข้นั สอน (วธิ ีสอนแบบปฏิบัติกลุ่มย่อย)
2. นักเรียนจัดกลุ่มแต่ละกลุ่มเลือกประธาน และเลขานุการกลุ่มแบ่งกลุ่มปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับมารยาททาง

พทุ ธ
3. ประธานกลุ่มสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มของสมาชิกในกลุ่มพร้อมทั้งบันทึกผล

การปฏบิ ตั ิตามใบงานสง่ ครู

ข้ันสรุปและการประยกุ ต์
4. สรุปผลการปฏิบัติตามสภาพจรงิ
5. นักเรยี นบนั ทกึ ความดี

ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
1. หนงั สือเรยี น วิชาหน้าท่ีพลเมืองและศลี ธรรม ของบรษิ ัท สำนกั พิมพเ์ อมพันธ์ จำกัด
2. ใบงาน
3. บันทกึ ความดี
4. บตั รข้อความ
5. สอ่ื PowerPoint วชิ าหน้าท่ีพลเมอื งและศีลธรรม

หลักฐาน
1. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คำถาม
2. การเชค็ ชื่อเข้าเรยี น
3. บันทกึ ความดี
4. บนั ทึกพฒั นาการความดี

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธีวดั ผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3. ตรวจคำถามท้ายหน่วยการเรียนร้/ู ใบงาน
4. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
5. ตรวจบันทึกความดี

เคร่ืองมอื วัดผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุม่ (โดยครู)
3. คำถามท้ายหน่วยการเรยี นรู้/ใบงาน จากหนังสือเรียนวชิ าหน้าท่ีพลเมืองและศลี ธรรม

4. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและนักเรยี น
รว่ มกนั ประเมนิ

5. บนั ทึกความดี

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป)
3. ตอบคำถามทา้ ยหน่วยการเรียนร้แู ละทำใบงานได้ทุกใบงานจึงจะถือว่าผ่านการประเมนิ
4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ

ประเมนิ ตามสภาพจริง
5. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถ

ทราบผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละคร้ังมาเขียนกราฟแสดงจะ
เห็นพัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพัฒนาความดที ่ีอยดู่ ้านหลงั ของหน้าปกหนังสือ
เรยี น

กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ ักเรียนทำบนั ทกึ ความดีและนำผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

บันทึกหลังการสอน

ข้อสรปุ หลังการสอน
............................................................................................................................. ................................
.......................................................... ........................................................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
ปัญหาท่ีพบ
....................................................................................... ........................................................... ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
................................................................. ................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ................................
แนวทางแก้ปญั หา
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
................................................................................................................................... ..........................
........................................................................................................ .....................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการที่ 12 หน หน่วยที่ 12
สอนคร้ังที่ 29-30
รหสั วิชา 20000-1501 วิชา หนา้ ท่พี ลเมอื งและศลี ธรรม
จำนวน 2 ช่วั โมง
ชือ่ หนว่ ย/เร่อื ง ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู

จดุ ประสงค์รายวชิ า

1. รแู้ ละเข้าใจเกย่ี วกับสังคม วฒั นธรรม สทิ ธหิ นา้ ท่พี ลเมืองดแี ละหลักธรรมหรอื คำสอนของ
ศาสนา

2. ประพฤติปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดตี ามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมขุ และเปน็ ศาสนกิ ชนท่ีดีตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถอื

4. ตระหนกั ถึงการดำเนินชวี ติ ทถี่ ูกตอ้ งดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี
สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั สังคม วัฒนธรรม สิทธหิ น้าท่พี ลเมอื งดีและหลักธรรมหรอื คำสอนของ
ศาสนา
3. ประพฤติปฏบิ ตั ติ นตามหลักจรยิ ธรรม วัฒนธรรมและหลักธรรมหรอื คำสอนของศาสนาท่ีตน
นับถอื

สาระสำคญั
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาที่ไม่มีศาสดา มีรากฐานจากคติศรัทธา ความเชื่อที่หลากหลาย

และพัฒนาการที่ยาวนานหลายพันปี มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม ความเชื่อ พิธีกรรมต่างๆ ในประเทศไทย
รวมท้ังประเทศตา่ งๆ ในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ปรากฏหลักฐานทางอารยธรรมในประเทศกลมุ่ อาเซยี น

ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวัง

1. อธิบายถงึ หลกั ธรรมของศาสนาพราหมณ์-อนิ ดูได้

2. วเิ คราะหถ์ ึงอารยธรรมอนิ เดยี ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ได้

3. วเิ คราะห์ถงึ อทิ ธิพลของวัฒนธรรมอนิ เดียทีม่ ีตอ่ วฒั นธรรมไทยได้

4. บอกความสำคัญของบุคคลสำคัญของศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดูได้

5. มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผสู้ ำเร็จการศึกษา

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่คี รสู ามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง

1. ความมมี นุษยส์ ัมพนั ธ์ 2. ความมวี ินัย

3. ความรับผดิ ชอบ 4. ความซอ่ื สัตย์สจุ รติ

5. ความเช่ือม่ันในตนเอง 6. การประหยัด

7. ความสนใจใฝร่ ู้ 8. การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนัน

9. ความรักสามัคคี 10. ความกตญั ญกู ตเวที

สาระการเรียนรู้
1. หลกั ธรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู
2. อารยธรรมอินเดยี ในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้
3. อิทธิพลของวัฒนธรรมอนิ เดียท่มี ตี ่อวฒั นธรรมไทย
4. บคุ คลสำคัญ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นำเขา้ สูบ่ ทเรียน
1. ครูนำเสนอภาพสญั ลกั ษณอ์ กั ษรเทวนาครี อ่านวา่ “โอม” ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พร้อม

ทัง้ การตัง้ ประเด็นคำว่า “หากนักเรียนเหน็ สัญลักษณน์ นี้ ักเรียนคดิ ถึงอะไรได้บา้ ง” โดยครูให้นกั เรียนออกมา
เขียนคำตอบหน้าชั้นเรียนทลี ะคน

2. ครูและนักเรียนประมวลคำตอบเกี่ยวกับภาพสัญลักษณ์อักษรเทวนาครี อ่านว่า “โอม” ของ
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ที่นักเรียนแต่ละคนเปน็ คนเขียน พร้อมทั้งเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน โดยการตั้งคำถาม
และใหน้ ักเรียนเขยี นคำตอบลงในสมดุ บันทึก เพอื่ ประเมินความร้พู ้ืนฐานของนกั เรียน ดังน้ี

“สัญลักษณ์ดงั กลา่ วเข้าสปู่ ระเทศไทยได้อย่างไร”
“สญั ลักษณด์ งั กลา่ วเกยี่ วขอ้ งกบั กลมุ่ คนใดในสังคมไทยบ้าง”
“สัญลักษณ์ดังกล่าวเกี่ยวข้องกับศาสนาใด และมีจุดมุ่งหมายของศาสนาคืออะไรจุดมุ่งหมาย
ของศาสนาคอื อะไร”
3. ครปู ระเมนิ คำตอบของนกั เรียน และนำเขา้ สู่บทเรียนวา่ “สัญลักษณด์ ังกลา่ วเกี่ยวข้องกับ
ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู ซ่ึงเป็นศาสนาที่เก่าแก่ ศาสนาหน่งึ ในโลก มอี ทิ ธพิ ลต่อความคดิ ความเช่ือ การ
ดำรงชีวติ ของมนุษย์ในกลมุ่ เอเชียตะวันออกเฉยี งใตเ้ ป็นอยา่ งมาก ดงั น้นั เราจึงต้องจำเปน็ ทจ่ี ะเรยี นรคู้ วาม
เปน็ มา จุดมงุ่ หมาย และอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อมนุษยชาต”ิ

ข้นั สอน
4. ครอู ธิบายหลักธรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู โดยเปิดวดี ิทัศนใ์ ห้นกั เรยี นดู
5. ครูจัดกลุ่มนักเรียนโดยคละความสามารถ โดยใช้เทคนิคกลุ่มร่วมมือกันเรียนรู้ ( Group
Investigation:GI) แบง่ นกั เรียนออกเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5-6 คน
หลังจากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันพิจารณาคำถามต่างๆ ในกลุ่มที่ตนเองสนใจ และเลือก
ประเด็นที่จะศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ “ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูที่ฉันอยากรู้จัก” กลุ่มนักเรียนจะกำหนด
เปา้ หมายของงานกลมุ่ มอบหมายภาระงานในกลุ่ม แลว้ ศึกษาเรื่องที่ตนเองได้รับมอบหมายใหศ้ ึกษา
บทบาทของครู คือ แนะนำแหล่งข้อมูลที่สำคัญ ในที่นี้คือหนังสือเรียนวิชาหน้าที่พลเมืองและ
ศีลธรรม ของบรษิ ัท สำนักพมิ พเ์ อมพันธ์ จำกดั หน่วยที่ ๑๒ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู หนา้ ที่ ๒๓๐-๒๓๙
6. นักเรียนแต่ละกลุม่ นำเสนอผลงานการศึกษาที่ค้นควา้ หรือคำตอบของกลุม่ ตนเองหน้าชัน้ เรยี น
โดยครูจะเปน็ ผู้ประสานงานการเสนอรายงานท้ังหมดของทุกกลมุ่ สมาชิกแต่ละกลุ่มจะต้องร่วมกันพิจารณา
ว่าจะนำเสนอขอ้ มูลอยา่ งไรใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด สมาชิกจะมีวิธเี สนองาน เตรียมสื่อทเ่ี หมาะสมอย่างไร
7. ครูประเมินผลงานกลุ่มของผู้เรียนในการนำเสนอ พร้อมทั้งสรุปองค์ความรู้จากทุกกลุ่ม
เกี่ยวกบั ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู ดังนี้

หลักธรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ได้แก่

หลกั อาศรม ๔ หมายถงึ ขน้ั ตอนของชีวิตในการปฏบิ ตั ิตนตามวยั เพ่ือให้ชีวิตดขี นึ้ แบ่งเปน็ 4 ระยะ คือ
-พรหมจารี ในชว่ งเวลา 25 ปีแรกของชีวติ เป็นไปเพอื่ การศึกษาเลา่ เรียนวชิ าตามวรรณะของ
ตนจนจบการศกึ ษา
-คฤหัสถ์ ช่วง 25 ปหี ลงั จากสำเร็จการศกึ ษา จนถงึ อายุ 50 ปี เปน็ ระยะของการครอง
เรอื นช่วยบดิ ามารดาประกอบอาชพี และปฏิบัติพิธีกรรมตามหน้าทข่ี องตน
-วานปรสั ถ์ 25 ปี ต่อจากอายุ 50 ปี จนถึงอายุ 75 ปี ละชวี ติ ผู้ครองเรือน ออกบำเพญ็
ตบะไปอยู่อาศรมในปา่ เป็นฤๅษี โยคี ดาบส นักพรต ตามแตล่ ักษณะการประพฤตปิ ฏบิ ัติ
-สันยาสี ระยะ 25 ปสี ดุ ทา้ ยของชวี ติ สำหรบั ผู้แสวงหาโมกษะความหลดุ พน้ จากสงั สารวัฏ
ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู สง่ ผลกระทบต่อเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ ในหลายดา้ น ดงั น้ี
-ศาสนา ประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รับหลักการของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เชน่
มคี วามเชื่อวา่ พระพรหมเป็นผูส้ รา้ ง คอื ศนู ยก์ ลางของจักรวาล เปน็ ผกู้ ำหนดชวี ติ ของมนุษย์
-อักษรศาสตร์ การรับเอาภาษาบาลี สันสกฤตมาใช้ รวมทั้งวรรณกรรมของอินเดีย เช่น
มหากาพยร์ ามายณะ ซึง่ มีอิทธพิ ลตอ่ วรรณคดีของไทย พม่า เขมร อินโดนเี ซีย
-การเมอื งการปกครอง แนวคิดความเชื่อเรื่อกษัตริยเ์ ป็นสมมติเทพได้อำนาจการปกครอง
มาจากเทพเจ้าทั้งหลาย การรับหลักกฎหมายอินเดีย คือ พระมนูธรรมศาสตร์ มาเป็นแม่บท
กฎหมาย

ขน้ั สรุปและการประยกุ ต์
8. ครูและนักเรียนสรุปจากการพิจารณาแนวคิดของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู สามารถนำมาปรับ
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวันไดอ้ ยา่ งไร

“การนำไปปรบั ใช้ในการวางแผนชีวิตตามหลักการอาศรม ๔ เพื่อให้รู้จักบทบาทหน้าทีข่ องตน
ในแตล่ ะชว่ งวยั ”

“ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ที่เป็นศูนย์กลางของความเคารพเทิดทูนของพสก
นกิ ร”

“มรดกสำคัญของชาติ ที่มีพื้นฐานมาจากศาสนา ซึ่งสะท้อนถึงความงามทางด้านศิลปกรรม
เป็นมรดกสำคญั ตอ่ ชาติและโลกของเรา”
9. นักเรยี นทำคำถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้ หน้า 240 – 243

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สือเรยี น วชิ าหน้าที่พลเมืองและศลี ธรรม ของบรษิ ัท สำนักพิมพเ์ อมพันธ์ จำกัด
2. ใบงาน
3. แบบประเมินตนเอง
4. สื่อ PowerPoint วิชาหน้าที่พลเมอื งและศลี ธรรม

หลักฐาน
1. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คำถาม
2. การเชค็ ชอื่ เข้าเรยี น
3. บนั ทึกความดี
4. บนั ทึกพฒั นาการความดี

การวัดผลและการประเมินผล
วธิ วี ัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุม่
4. ตรวจคำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้/ใบงาน
5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้
6. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ
ประสงค์
7. ตรวจบันทกึ ความดี

เครอื่ งมอื วัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่ (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยนักเรยี น)
4. คำถามท้ายหน่วยการเรียนร/ู้ ใบงาน จากหนังสือเรียนวิชาหน้าท่ีพลเมืองและศีลธรรม
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรยี น

ร่วมกนั ประเมิน
7. บันทึกความดี

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรงุ
2. เกณฑผ์ ่านการประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ข้นึ ไป)
3. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป)
4. ตอบคำถามท้ายหนว่ ยการเรียนรูแ้ ละทำใบงานได้ทุกใบงานจงึ จะถือวา่ ผา่ นการประเมิน
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ เกณฑผ์ ่าน คือ พอใช้ (50 % ข้ึนไป)
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ

ประเมินตามสภาพจรงิ
7. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละคร้ังมาเขียนกราฟแสดงจะเห็น
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพฒั นาความดที ี่อยู่ด้านหลงั ของหน้าปกหนังสือเรยี น

บันทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... ................................................... ..............
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................... ........................................................................................ ..............
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
....................................................................................... ........................................................... ..............
ปญั หาที่พบ
............................................................................................................................. ...................................
....................................................................................................................................... .........................
......................................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................
................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................... .................................
แนวทางแก้ปญั หา
.................................................................................. ................................................................ ..............
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... ................................................... ..............
............................................................................................................................. ...................................
.................................................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................. ...................................
.......................................................... ........................................................................................ ..............
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................................................. ...................................

แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 13 หนว่ ยที่ 13
รหสั วิชา 20000-1501 วิชา หนา้ ท่พี ลเมอื งและศลี ธรรม สอนครงั้ ท่ี 31-32
ชื่อหน่วย/เร่อื ง ศาสนาคริสต์
จำนวน 2 ช่ัวโมง

จดุ ประสงคร์ ายวิชา

1. รแู้ ละเข้าใจเก่ียวกับสังคม วัฒนธรรม สิทธิหนา้ ท่ีพลเมอื งดีและหลักธรรมหรอื คำสอนของ
ศาสนา

2. ประพฤติปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมืองดีตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข และเปน็ ศาสนกิ ชนท่ีดตี ามหลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนับถอื

3. ตระหนักถึงการดำเนนิ ชีวติ ทีถ่ ูกตอ้ งดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี
สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั สังคม วัฒนธรรม สิทธหิ น้าที่พลเมืองดแี ละหลกั ธรรมหรือคำสอนของ
ศาสนา
3. ประพฤติปฏิบัติตนตามหลักจริยธรรม วฒั นธรรมและหลักธรรมหรอื คำสอนของศาสนาท่ีตน
นับถือ

สาระสำคัญ
ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาที่นับถือพระเจ้าองค์เดียว มีหลักคำสอนที่สำคัญ ความรักและวิธีปฏิบัติ

ตามบัญญตั ิ 10 ประการ มจี ดุ หมายปลายทาง คอื การได้กลบั ไปอยกู่ ับพระผเู้ ปน็ เจ้านริ ันดร์
การศึกษาศาสนาคริสต์ จึงเป็นศาสนาสำคัญในกลุ่มอาเซียน จำเป็นในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่

ประชาคมอาเซยี น

ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวงั
1. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาครสิ ตโ์ ดยสังเขป
2. อธิบายหลักคำสอนของศาสนาและวิธีปฏบิ ตั ิในศาสนาคริสต์
3. ตระหนกั ถึงหลักคำสอนของศาสนา อิทธพิ ลของศาสนาครสิ ต์ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
4. อธบิ ายถึงการเผยแผค่ ริสต์ศาสนาและการรับวทิ ยาการตะวนั ตกในประเทศไทย
5. อธิบายถงึ อทิ ธิพลของศาสนาคริสต์ต่อสังคมไทย
6. บอกความสำคญั ของบุคคลสำคญั ของศาสนาครสิ ต์ได้
7. มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผสู้ ำเร็จการศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่ีครสู ามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง

1. ความมีมนุษย์สมั พันธ์ 2. ความมีวินัย

3. ความรบั ผดิ ชอบ 4. ความซือ่ สตั ย์สจุ ริต

5. ความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง 6. การประหยดั

7. ความสนใจใฝร่ ู้ 8. การละเวน้ สิง่ เสพตดิ และการพนนั

9. ความรักสามัคคี 10. ความกตัญญกู ตเวที