แบบ ประเมิน ก ต ป. น. 2565 doc

แบบ ประเมิน ก ต ป. น. 2565 doc

วิดีโอ YouTube


การนำเสนอผลงานครอบคลุมองค์ประกอบทั้ง 3 ด้าน

     : (1) VTR นำเสนอปัจจัยกระบวนการ และผลแห่งความสำเร็จของงาน ก.ต.ป.น. (01)

องค์ประกอบที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน

8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้้นพื้นฐาน (O-NET) 

8 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 

องค์ประกอบที่ 2 ด้านคุณภาพการบริหารจัดการ

8 มาตรฐาน 2 บบช.ที่ 5 แบบติดตาม ครอบคลุมงาน 4 ด้าน (ด้านวิชาการ  ด้านงบประมาณ  ด้านการบริหารงานบุคคล  ด้านการบริหารทั่วไป)

8 แผนนิเทศแบบบูรณาการตามยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ  2561 (ปก) (เล่ม) 2562 (ปก)  (เล่ม)

8 รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา 

     : 1.รายงานจุดเน้น  (01) (02) (03) (04)  

     : 2.รายงานนิเทศ    (01) (02) (03) (04) 

8 เครื่องมือการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (01)  (02)

8 รายงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (2561) (2562)

องค์ประกอบที่ 3 ด้านคุณภาพการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ก.ต.ป.น.

8 การศึกษา/วิจัย Best Practice พัฒนาจนเกิดนวัตกรรม 

8 ผลการประเมินความพึงพอใจ (2560) (2561) (2562) 

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

รางวัลอันทรงเกียรติ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------รายงานการประชุม ก.ต.ป.น. สพป.หนองบัวลำภู เขต 1

ปีพุทธศักราช 2563

8 ระเบียบวาระการประชุม ก.ต.ป.น. ครั้งที่ 4/2563 (00.00.63) (ปก)     8 รายงานการประชุม ก.ต.ป.น. ครั้งที่ 4/2563 (ปก)

ปีพุทธศักราช 2562

     ภาพการประชุม

     ภาพการประชุม

     เอกสารแนบเพิ่มเติม (1) (2) (3)

ปีพุทธศักราช 2561

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑
ประจำปี ๒๕๖๕

เอกสารหมายเลข ๑๓/๒๕๖๕
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑

สำ นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

การปฏบิ ัตงิ านของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษาของสำนกั งาน
เขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑ ยึดหลักการดำเนนิ งานแบบองครวม หลักการมสี วนรว ม และ
ใชม าตรฐานการศึกษาเปนฐานการพฒั นาคุณภาพ อนั จะสง ผลใหห นวยงานและสถานศกึ ษาในสังกัดสำนักงาน
เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาสามารถพฒั นาเปนองคกรท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ประสทิ ธผิ ลในการบรหิ ารและดำเนินการพัฒนา
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อใหการปฏิบัติงานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ
นิเทศการศึกษาของเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ประสบผลสำเร็จตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงไดนำนโยบาย
และมาตรฐานการจดั การศึกษาขั้นพื้นฐานมากำหนดเปน กรอบแนวทางในการติดตามตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศการศึกษา ประกอบดวย 1) คุณภาพการบรหิ ารจัดการงาน 4 ดาน ไดแก ดา นการบริหารทวั่ ไป
ดานการบรหิ ารงานบุคคล ดา นงบประมาณ ดานวิชาการ 2) คุณภาพการนำนโยบายและจุดเนน สกู ารปฏบิ ตั ิ
และคณุ ภาพวิธปี ฏบิ ตั งิ านทีเ่ ปนเลศิ ของสถานศกึ ษา(Best Practice)

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ หวังเปน อยางยิ่งวาขอมูลที่ไดจ ากการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศึกษาในครั้งนี้ จะสามารถนำมาใชปรับปรงุ และพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานและการจัดการศึกษาของ
สถานศกึ ษา และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 ใหมีคณุ ภาพ ไดมาตรฐาน และมี
ประสิทธิภาพย่ิงขึน้ ตอไป

สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑
สิงหาคม 2565

บทสรปุ สำหรับผบู ริหาร

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565 มีวัตถุประสงคเ พื่อ 1. ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา
การบรหิ ารและการดำเนินการโดยมุงผลสมั ฤทธิ์ของสถานศกึ ษาในสังกดั และ 2. นำผลการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษามาใชปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาในสงั กัด ทั้งน้ีได
แตงตั้งคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา ของเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน
10 คณะ ทำหนาทก่ี ารตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สถานศกึ ษาในสังกัด จำนวน 102
โรง กลุมเครอื ขายสงเสริมประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษา 10 เครือขาย และมีขอบขายการติดตาม ตรวจสอบ
แบงออกเปน 2 คือ ดานคุณภาพการบริหารจัดการงาน 4 ดานของสถานศึกษา ไดแก ดานการบริหารทั่วไป
ดานการบริหารงานบุคคล ดานงบประมาณ ดานวิชาการ และ ดานคุณภาพการดำเนนิ งานตามนโยบายและ
จุดเนนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ปทุมธานี เขต 1 ไดแก การดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา การพัฒนาผูเรียนสูฐานสมรรถนะดวย
การจัดการเรยี นรรู ูปแบบ Active Learning การฟน ฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู(Learning Loss Recovery)
การใชเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพือ่ การเรียนรูทุกระดับ การสง เสริมผเู รียน 1 ดนตรี 1 กฬี า 1 อาชีพ การปฏบิ ตั งิ าน
ทีเ่ ปนเลศิ ของสถานศกึ ษา

การดำเนินการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา ดำเนนิ การระหวางเดอื นสิงหาคม
2565 โดยใชแบบตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา เปนเครื่องมือในการดำเนินการติดตาม
ดังกลาว ประกอบดวย สวนที่ ๑ ขอมูลพื้นฐานของสถานศึกษา สวนที่ ๒ แบบประเมินคุณภาพการบริหาร
จัดการงาน 4 ดา นของสถานศกึ ษา สว นที่ ๓ แบบประเมนิ คณุ ภาพการดำเนินงานตามนโยบายและจดุ เนนของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา และคุณภาพวธิ ีปฏบิ ตั งิ าน
ที่เปน เลิศของสถานศึกษา (Best Practice) และวิเคราะหขอ มูลดวยการแจงนบั และคารอ ยละ

ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา ปรากฏผลดงั น้ี
1. ผลการการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ในภาพรวมพบวา โรงเรียนมี
ผลการปฏบิ ัตริ ะดบั ดีมากท้ัง 2 ดา น คือ ดา นคณุ ภาพการบริหารจดั การงาน 4 ดา น และดานคณุ ภาพ
การบริหารงานตามนโยบายและจดุ เนนของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานเขตพน้ื ที่
คิดเปน รอ ยละ 95.20
2. ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา ดานคุณภาพการบริหารจัดการงาน 4 ดาน
พบวา สวนใหญโรงเรียนมผี ลการปฏิบัติระดบั ดมี าก เม่ือพิจารณาเปน รายดาน พบวา ดานการบริหารทวั่ ไป
มีจำนวนโรงเรยี นท่ีมีผลการปฏิบัตริ ะดบั ดีมาก คิดเปนรอยละ 99.02 ดา นการบรหิ ารงานบคุ คล และ
ดา นงบประมาณ มจี ำนวนโรงเรยี นที่มผี ลการปฏบิ ัตริ ะดับดมี าก คิดเปน รอยละ 100 และดานวชิ าการ มีจำนวน
โรงเรียนทม่ี ีผลการปฏิบตั ิระดับดมี าก คดิ เปนรอ ยละ 99.02 และไมม ีโรงเรียนใดมผี ลการปฏิบตั ใิ นระดบั
ปานกลาง ระดับพอใช และระดบั ปรับปรุง
3. สรุปผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ดา นคุณภาพการดำเนินงาน
ตามนโยบายและจุดเนน ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน และสำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑ ในภาพรวมพบวาสว นใหญอยใู นระดับดีมาก เมือ่ พิจารณาเปน
รายดา น พบวา

การดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศึกษา มีจำนวนโรงเรยี นท่มี ีผลการปฏิบตั ิระดบั ดีมาก
คดิ เปน รอ ยละ 93.14 ระดับปานกลาง คดิ เปนรอ ยละ 3.92 และระดบั ปรับปรุง คิดเปนรอ ยละ 2.94 ท้ังน้ี
รายการพิจารณาที่โรงเรียนปฏบิ ัตมิ ากท่สี ดุ คือ การจัดทำแผนความปลอดภัยของสถานศกึ ษา คิดเปน รอยละ
100 และรายการทีป่ ฏิบัตนิ อยทีส่ ุด คอื การเสริมสรา งความปลอดภัยในสถานศึกษา คิดเปน รอยละ 94.12

การพัฒนาผูเรียนสูฐานสมรรถนะดวยการจัดการเรียนรูร ูปแบบ Active Learning พบวา มีจำนวน
โรงเรียนท่มี ีผลการปฏิบตั ิระดับดมี าก คดิ เปน รอ ยละ 90.20 ระดับปานกลาง คดิ เปนรอยละ 4.90 และระดบั
ปรบั ปรงุ คิดเปนรอยละ 4.90 ทัง้ น้ีรายการพิจารณาท่โี รงเรยี นปฏิบัติมากที่สดุ คอื การสรา งความรคู วามเขาใจ
แกครูและบุคลากรทางการศกึ ษา คดิ เปนรอ ยละ 100 และรายการทปี่ ฏบิ ัตินอ ยทีส่ ุด คอื การวดั และประเมินผล
คิดเปน รอ ยละ 93.14

การฟน ฟูภาวะถดถอยทางการเรยี นรู (Learning Loss Recovery) พบวา มจี ำนวนโรงเรียนทม่ี ผี ล
การปฏบิ ัตริ ะดบั ดีมาก คดิ เปนรอยละ 93.14 ระดับปานกลาง คดิ เปนรอยละ 4.90 และระดบั ปรบั ปรงุ
คดิ เปนรอยละ 1.96 ทั้งนรี้ ายการพิจารณาทโี่ รงเรียนปฏิบัติมากที่สุด คอื การจัดทำขอมูลและวางแผน
การฟนฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรใู นสถานศึกษา คิดเปนรอ ยละ 98.04 และรายการทป่ี ฏิบตั ินอ ยทีส่ ดุ คือ
การติดตาม ปรับปรุง และผลสะทอนกลับ คดิ เปน รอยละ 90.20

การใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรูทุกระดับ พบวา มีจำนวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติระดับดีมาก
คิดเปนรอยละ 95.10 ระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 3.92 และระดับปรบั ปรงุ คิดเปนรอยละ 0.98 ทั้งน้ี
รายการพิจารณาที่โรงเรียนปฏิบัติมากทีส่ ุด คือ การจัดการเรียนรแู ละสงเสรมิ การเรยี นรูดวยเทคโนโลยดี ิจิทัล
คิดเปนรอยละ 100 และรายการที่ปฏิบัตินอยที่สุด คือ การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมการเรียนรูดวยเทคโนโลยี
ดจิ ิทัล คดิ เปน รอ ยละ 95.10

การสงเสริมผูเรียน 1 ดนตรี 1 กีฬา 1 อาชีพ พบวา มีจำนวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบตั ิระดับดีมาก
คิดเปนรอยละ 88.24 ระดับปานกลาง คิดเปน รอยละ 2.94 และระดับปรับปรุง คิดเปนรอยละ 8.82 ทั้งนี้
รายการพิจารณาที่โรงเรียนปฏิบตั ิมากที่สุด คอื การดำเนินงานสงเสริมผูเ รียนดานดนตรี และการดำเนินงาน
สงเสริมผูเรียนดานอาชีพ คิดเปนรอยละ 92.16 และรายการที่ปฏิบัตนิ อยที่สุด คอื การดำเนินงานสงเสริม
ผเู รียนดา นกีฬา คดิ เปน รอยละ 91.18

การปฏบิ ัติงานที่เปนเลิศของสถานศกึ ษา พบวา มีจำนวนโรงเรียนที่มผี ลการปฏิบัตริ ะดับดีมาก 94 โรง
คิดเปนรอยละ 92.16 ระดับดี 3 โรง คิดเปนรอยละ 2.94 ระดับพอใช 1 โรง คิดเปนรอยละ 0.98 และ
ระดับปรับปรงุ 4 โรง คิดเปน รอยละ 3.92 ทั้งน้ีรายการพิจารณาที่โรงเรยี นปฏิบัติมากที่สดุ คือ ความเปน มา
สภาพปญหา และแนวทางแกปญหา คดิ เปนรอยละ 100 และรายการที่ปฏิบัตินอยที่สุด คือ การเผยแพรและ
การไดร ับการยอมรบั คดิ เปนรอ ยละ 74.51
ขอเสนอแนะ

ระดับเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ควรเสรมิ สรา งความเขาใจท่ีชดั เจน เก่ียวกบั นโยบายและจุดเนนตา งๆของ
หนวยงานตนสังกัด เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนนโยบายและจุดเนนของหนวยงานตนสังกัดในทุกป และควร
พัฒนาและสนับสนุน ดานความรู วิธีการ และแนวทางการนำสูการปฏิบัติใหสำเร็จในโรงเรียน เกี่ยวกับการ
บริหารงาน 4 ดานในสถานศึกษา ดวยวิธีการตา งๆ เชน การอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำเอกสารความรู
หรอื แนวปฏบิ ัติ เพอื่ ใหโ รงเรียนสามารถดำเนนิ งานไดบ รรลุตามวตั ถปุ ระสงคแ ละเปาหมายทีก่ ำหนด

ระดบั สถานศึกษา ควรศึกษาและวางแผนการดำเนนิ งานอยางเปนระบบ กำหนดใหมีผูรับผิดชอบ
ชัดเจน และควรบูรณาการกบั หนว ยงานที่เกี่ยวของ เพอื่ สรางศกั ยภาพในการทำงาน และเกิดผลลพั ธที่ตองการ
อยางเปนรปู ธรรม

สารบัญ

คำนำ หนา
บทสรุปสำหรบั ผูบรหิ าร
สารบญั ก
สารบญั ตาราง ค
บทท่ี 1 บทนำ จ

ความสำคัญและความเปน มา.............................................................................................. 1
2
วตั ถุประสงค. ...................................................................................................................... 2
3
เปา หมาย............................................................................................................................. 4

วธิ ดี ำเนนิ การ....................................................................................................................... 5
ประโยชนท ่คี าดวา จะไดร บั .................................................................................................. 6
บทท่ี 2 การดำเนินงานตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา 6
7
สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑
9
หลกั การและแนวคิด........................................................................................................... 12
14
โครงสรางคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา................... 15

อํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา......... 16
บทบาทหนาท่ีของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา....... 19
20
หลักการและการดำเนนิ งานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล 23
และนเิ ทศการศกึ ษา........................................................................................................... 24

ขอบขายการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา.....................................

แผนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา............................................

ระยะเวลาดำเนินงาน.........................................................................................................

บทท่ี 3 วิธดี ำเนินงาน

กลมุ เปา หมาย...................................................................................................................

ขอบขายการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา....................................

เครอ่ื งมือทใี่ ชต ดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา...................................

การเกบ็ รวบรวมขอมลู ......................................................................................................

การวเิ คราะหข อมูล...........................................................................................................

สารบัญ(ตอ)

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมลู หนา
25
สวนท่ี 1 ขอมลู พ้นื ฐาน ..................................................................................................... 29
35
สวนที่ 2 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการงาน 4 ดานของสถานศึกษา ..................................... 39
40
สวนที่ 3 คุณภาพการบริหารงานตามนโยบายและจดุ เนนของสำนักงาน
43
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐานและสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา...............
44
บทที่ 5 สรปุ ผล 47
64
สรุปผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา.......................................

ขอเสนอแนะ......................................................................................................................

ภาคผนวก

- ประกาศสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1
เรอ่ื ง แตงตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา
ของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑ ประจำป 2563........
- คำส่งั สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ที่ ๑๕0 / ๒๕๖5
เรอ่ื ง แตง ตัง้ คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑ ประจำปงบประมาณ 2565
- แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา ประจำป 2565...................

คณะผูจ ัดทำ..................................................................................................................................

สารบญั ตาราง

หนา

ตารางท่ี 1 จำนวนโรงเรยี นในสงั กดั แบง ตามอำเภอ.......................................................................... 25
ตารางที่ 2 จำนวนโรงเรยี นแบงตามขนาด ตามเกณฑข อง
25
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน................................................................ 26
ตารางที่ 3 จำนวนโรงเรียนแบง ตามระดับการศกึ ษาทีเ่ ปดสอน ปการศึกษา ๒๕๖5........................ 26
ตารางที่ 4 จำนวนนักเรียนจำแนกตามระดับชั้น และเพศ ปก ารศกึ ษา 2565...............................
ตารางที่ 5 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)

ชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2563 และ 2564.............................................. 27

ตารางท่ี 6 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET)

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 3 ปการศกึ ษา 2563 และ 2564................................................. 28

ตารางท่ี 7 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผูเรยี นระดบั ชาติ

(National Test : NT) ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 3 .............................................................................. 28

ตารางที่ 8 ผลการเปรียบเทียบผลการประเมนิ ความสามารถดานการอา นของผเู รียน

(Reading test : RT) ช้นั ประถมศึกษาปท่ี 1.................................................................. 29

ตารางที่ 9 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาในภาพรวม................................ 29

ตารางที่ 10 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา
ดานคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการงาน 4 ดา น................................................................... 30

ตารางท่ี 11 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา
ดานคุณภาพการบรหิ ารจัดการงาน 4 ดาน : ดา นที่ 2 ดานการบริหารทั่วไป.................. 31

ตารางที่ 12 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา
ดานคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การงาน 4 ดาน : ดานท่ี 2 ดานการบริหารงานบุคคล......... 32

ตารางท่ี 13 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา
ดา นคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการงาน 4 ดาน : ดา นที่ 3 ดานงบประมาณ......................... 33

ตารางที่ 14 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา
ดานคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การงาน 4 ดา น : ดานท่ี ๔ ดา นวิชาการ............................ 34

ตารางที่ 15 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดา นคุณภาพการดำเนินงาน
ตามนโยบายและจุดเนน ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานและ
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา.......................................................................................... 35

ตารางที่ 16 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดา นคณุ ภาพการดำเนนิ งานตาม
นโยบายและจุดเนน ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานและสำนักงานเขต
พ้ืนทกี่ ารศกึ ษา จำแนกตามรายการพจิ ารณา................................................................. 36

ตารางท่ี 17 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา ดา นคุณภาพการปฏบิ ตั ิงานที่
เปน เลิศของสถานศกึ ษา................................................................................................... 38

ตารางท่ี 18 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดา นคุณภาพการปฏบิ ตั ิงานที่
เปน เลศิ ของสถานศกึ ษาจำแนกตามรายการพิจารณา...................................................... 38

บทที่ 1

บทนำ

ความสำคัญและความเปนมา

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพ่ิมเติมฉบับที่ (2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่
3) พ.ศ. 2553 กลาวถึง การจัดใหมีการบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานโดยยึดเขตพื้นที่การศึกษา
และมกี ารกระจายอํานาจสเู ขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา ตามมาตรา 39 กาํ หนดให “กระทรวงกระจาย
อํานาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหาร
ทั่วไป ไปยังคณะกรรมการและสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพ้ืนที่การศึกษาโดยตรง”
และคําส่ังคณะรักษาความสงบแหงชาติที่ 10/2559 เรื่องการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการในภมู ภิ าค ขอ 4 ใหย ุบเลกิ คณะกรรมการเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาตามกฎหมายพระราชบัญญัติ
การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติมฉบับท่ี (2) พ.ศ. 2543 และ (ฉบับท่ี 3 ) พ.ศ. 2553 และ
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และขอ 5 ใหยุบเลิก อ.ก.ค.ศ.เขต
พื้นที่การศึกษาตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 ใหเปน
อํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด กศจ.” ของจังหวัด ทั้งนี้ยงั คงเหลือคณะกรรมการ ติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นที่การศึกษา ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 20 วรรคส่ี เพือ่ ทาํ หนา ทีใ่ นการกํากบั ดูแลการบริหารและ
การจัดการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา และตามพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 มาตรา 20 กาํ หนดใหก ระทรวงศึกษาธิการ มีผูตรวจราชการของกระทรวง ทาํ หนา ที่ในการตรวจ
ราชการศกึ ษา วิเคราะห วจิ ยั ติดตามและประเมนิ ผลระดับนโยบาย ใหคําปรกึ ษาและแนะนําเพ่ือการปรับปรุง
พฒั นา ในสว นของเขตพืน้ ที่การศกึ ษาใหมีคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา

ในสวนของคุณภาพการจัดการศึกษาที่อยูในกำกับ ดูแล รับผิดชอบ ของคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพืน้ ที่การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการไดออกกฎกระทรวง
กำหนดจำนวน หลักเกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศกึ ษาของเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา พ.ศ.2548 เพอ่ื เปน การระดมทรัพยากรบุคคลทมี่ ีคณุ คาแหงภูมิปญ ญา ใหมี
สวนรวมในการบริหารและจดั การศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งจะสงผลตอประสิทธิภาพในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาใหไดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยคณะกรรมการ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา มีบทบาทหนาที่ในการศึกษา
วเิ คราะห วิจัย นิเทศ ติดตามและประเมินผล การบริหารและการดำเนินการโดยมุงผลสัมฤทธ์ิของหนวยงาน
และสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเตรียมรับการนิเทศ ติดตามตรวจสอบและประเมินผลจาก
หนวยงานภายนอก โดยดำเนนิ การติดตาม ประเมินผล ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาและมาตรฐานการศึกษา
สถานศกึ ษา ตามพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ.2546 มาตรา 20 วรรค 3
และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด ๒ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา สวนที่ ๔ การ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา ระดับเขตพืน้ ที่การศกึ ษา

สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 มีภารกิจหลักทส่ี ำคัญ คอื พัฒนาคณุ ภาพ
สถานศกึ ษาสูมาตรฐานการศึกษาและมีความปลอดภยั พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรใหปฏบิ ตั ิงานไดอยา ง

1

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

มปี ระสิทธภิ าพและเสริมสรางการจดั เรยี นรสู ูฐานสมรรถนะดว ยรปู แบบการเรยี นรู Active Learning สนบั สนุน
และสงเสริมใหสถานศึกษาพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีความรูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรูของ
หลกั สตู รอยางเต็มศกั ยภาพ มที กั ษะในศตวรรษที่ 21 มที กั ษะชีวติ และมสี มรรถนะทเ่ี ทาทนั การเปลย่ี นแปลง
ของสังคมโลก ในหลากหลายมิติ ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ขอมูลสารสนเทศ เทคโนโลยี สุขภาพ
อนามัย สิง่ แวดลอม รวมถงึ ทัศนคติในการดำเนนิ ชวี ติ

จากขอกำหนดเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศกึ ษา และภารกิจหลักของสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑ ดงั กลาวขา งตน
จึงจัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา โดยมี
วัตถุประสงคเพื่อใหการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา โดยคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑
เปน ไปตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ วาดวยการตรวจราชการ การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจดั
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาสามารถปฏบิ ัติ
บทบาทหนา ที่ใหเกิดประสิทธิผลสูงสุดตอการบรหิ ารงานของสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ทั้งนี้ ในการปฏบิ ัติ
ภารกจิ ตางๆ ใหบรรลุเปา หมายนั้นสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 ใช“การมสี วน
รวม”เปนแกนหลักในการขับเคลื่อนและดำเนินงานสูเ ปาหมายความสำเร็จ และใชรูปแบบการบริหารจัดการ
สรางความเขมแข็งใหแกคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา โดยใชห ลกั 3 Performance Management Method ประกอบดว ย 1. มีสวนรวมอยา งสรางสรรค
(Creative participation) 2. ใชด ิจทิ ลั แพลตฟอรม เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ (Digital platform for efficiency)
3. ประเมนิ ผลโปรง ใสและไดมาตรฐาน (Transparency and Standardized Assessment)

การดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ครั้งนี้ กลุมงานเลขานุการ
คณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษา กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ใชแ บบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนเิ ทศการศึกษา เปนเครือ่ งมือในการดำเนินการตดิ ตามดงั กลา ว ประกอบดวย สว นท่ี ๑ ขอ มูลพ้ืนฐานของ
สถานศกึ ษา สวนท่ี ๒ แบบประเมินคุณภาพการบริหารจดั การงาน 4 ดา น และสว นที่ ๓ แบบประเมนิ คณุ ภาพ
การดำเนินงานตามนโยบายและจุดเนนของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐานและสำนกั งานเขต
พืน้ ทกี่ ารศกึ ษา และคณุ ภาพวิธีปฏิบัติงานทเี่ ปน เลศิ ของสถานศึกษา (Best Practice)

วัตถุประสงค

1. เพือ่ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา การบรหิ ารและการดำเนินการโดยมงุ
ผลสัมฤทธขิ์ องสถานศึกษาในสงั กัดสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1

2. เพอ่ื นำผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษามาใชป รับปรงุ และพฒั นา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1

เปา หมาย

เชงิ ปริมาณ
1. รอยละ 100 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
ไดร ับการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา จากคณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่ ดานการบรหิ ารงาน 4 ดานของสถานศึกษา ไดแก

2

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

ดานการบริหารทั่วไป ดานการบริหารงานบุคคล ดานงบประมาณ ดานวิชาการ และงานตามจุดเนน และ
นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และของสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา

เชงิ คุณภาพ
1. โรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 บริหารจดั การงาน
4 ดา น ไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ระดับ ดี ข้นึ ไป
2. โรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ดำเนินงานไดบรรลุ
ตามนโยบายและจุดเนนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
อยใู นระดบั ดี ขนึ้ ไป

วธิ ีดำเนินการ
ระดบั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
1. แตงต้งั คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพ้นื ท่ีการศึกษา

เพ่ือทำหนาที่ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาของสถานศึกษาในสังกัด โดยแบงออกเปน
๑๐ คณะ ตามจำนวนกลุมเครือขา ยสง เสริมประสิทธภิ าพการศกึ ษา

2. ประชุมชี้แจงบทบาทหนาที่ของคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศกึ ษา ของเขตพื้นท่ีการศกึ ษา แกสถานศึกษาในสังกัด

๓. จดั ทำแผนและกำหนดปฏทิ ินการติดตาม ตรวจสอบ แผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ
นเิ ทศการศกึ ษา สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ ประจำป ๒๕๖5

๔. จัดสง แบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ใหส ถานศกึ ษาดำเนนิ การประเมิน
ตนเอง และเตรียมรับการติดตาม ตรวจสอบจากคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศกึ ษา ของเขตพื้นท่ีการศกึ ษา

๕. คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นที่การศึกษา
ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาสถานศึกษาในสังกัดทุกโรง พรอมทั้งให
ขอ คิดเห็นและขอ เสนอแนะในการพฒั นา ปรบั ปรุงในประเดน็ ตางๆ ที่เก่ียวของ เพอ่ื เปนแนวทางสำหรับ
การพฒั นาตอไป

๖. ประชุมสรุปผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษาของสถานศกึ ษาในสังกดั
๗. รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาแกผเู กี่ยวของ
ระดบั โรงเรียน
๑. ประชมุ ชี้แจงบุคลากรในสถานศกึ ษา เกี่ยวกับวัตถุประสงค เปาหมาย ขอบขา ยของการตดิ ตาม
ตรวจสอบฯ แนวทางการดำเนินงาน และวธิ ีการติดตาม ตรวจสอบฯ ของคณะอนุกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา ของเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา
๒. ศึกษาแบบติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ดำเนินการประเมินตนเอง และจดั เตรียมขอมลู เอกสาร หลักฐานที่เกี่ยวของ
เพอื่ รบั การติดตาม ตรวจสอบฯ
3. แตง ต้ัง/มอบหมายผูร ับผดิ ชอบ และจัดเตรยี มขอมูล เอกสาร หลักฐานท่ีเก่ียวขอ งเพื่อรับ
การติดตาม ตรวจสอบฯ
4. รับการติดตาม ตรวจสอบฯ จากคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศกึ ษา ของเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ตามปฏิทินที่สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ กำหนด

3

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

5. นำขอเสนอแนะของคณะอนกุ รรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา
ของเขตพ้นื ที่การศกึ ษา มาพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาตอไป
ประโยชนท ี่คาดวาจะไดร บั

1. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 บริหารจัดการงาน
4 ดาน ไดอยางมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและดำเนินงานไดบรรลุตามนโยบายและ
จุดเนนของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน และสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา

2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 บริหารจัดการศึกษา
อยางเปนระบบ มีความเปนเอกภาพ และขับเคลื่อนสูการปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม มีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผลตามมาตรฐานสาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

4

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

บทที่ 2
การดำเนินงานตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา

สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1

หลกั การและแนวคิด

การปฏริ ูปการศกึ ษามีความมุงหมายทีจ่ ะจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบรู ณ
เปนคนดี มคี วามสามารถ และอยรู วมกันในสังคมอยางมคี วามสุข การดําเนินการใหบรรลเุ ปาหมายอยางมีพลัง
และมีประสทิ ธิภาพ จําเปนที่จะตองมีการกระจายอํานาจและใหทกุ ฝายมสี ว นรวมซงึ่ สอดคลองกับเจตนารมณ
ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ รัฐตอ งดําเนินการใหเด็กทุกคนไดรับ
การศึกษาเปน เวลาสิบสองปตั้งแตกอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยางมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย
ตลอดจนเปนไปตามหลักการของพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ท่ีจดั ใหมีการบริหารและการจัดการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน โดยยึดเขตพื้นท่ี
การศึกษาและมีการกระจายอํานาจสูเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ตามมาตรา ๓๙ กําหนดให “กระทรวง
กระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบคุ คล และการบริหาร
ทั่วไป ไปยงั คณะกรรมการและสํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาและสถานศึกษาในเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาโดยตรง

พระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๐ วรรคสี่
กำหนดใหม ีคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพ้นื ที่การศกึ ษา เพื่อ
ทาํ หนาที่ในการกํากับ ดแู ล การบริหารและการจดั การศึกษาดานวิชาการ เกี่ยวกับการศกึ ษา วิเคราะห วิจัย
นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการดําเนินการ โดยมุงเนนผลสัมฤทธิ์ของหนวยงานและ
สถานศกึ ษาในสงั กัดเขตพืน้ ที่การศกึ ษาใหมีประสิทธิภาพ เพื่อเตรียมการรบั การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
จากหนวยงานภายนอกและใหสอดคลองกับแนวทางการบริหาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ปทุมธานี เขต ๑ จึงกำหนดบทบาทหนาทีใ่ นการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา และผูเกี่ยวของ ใหม ีความสอดคลองกับมาตรฐานสํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษา โดยยึดหลักการดําเนินงานแบบองครวม (Holistic) หลักการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของและ
หลักการใชมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเปน ฐานการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ทั้งนี้สถานศึกษาทุกแหงจะ
ไดร บั การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศอยา งเปน ระบบ ตอเนือ่ งและทั่วถึง รวมทงั้ สามารถนำขอมูล
เพื่อใชกำหนดแนวทางการดำเนินงานยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการและงานวิชาการของสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด อันจะสงผลใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศกึ ษา
เปนองคก รท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล ในการบรหิ ารและการดาํ เนนิ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

คำนิยาม
คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. หมายถึง คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา
ของเขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพื้นท่ี
การศึกษา หมายถึง องคคณะบุคคลที่มีบทบาท อํานาจ หนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด โดยมีองคป ระกอบของ
คณะกรรมการ ทั้งใน สวนของเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาในสังกัด และผูทรงคุณวุฒิทํางานรวมกับ
สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ในการศกึ ษา วิเคราะหวิจัย นเิ ทศติดตามตรวจสอบและประเมินผลการบริหาร
และการ ดําเนนิ การ โดยมงุ เนนผลสมั ฤทธข์ิ องหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา

5

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

คณะกรรมการ อ.ก.ต.ป.น. หมายถงึ คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา
ทีไ่ ดรับการแตง ต้ังจากคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา ของเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
ใหปฏบิ ตั ิงานตามที่ไดรับมอบหมาย

การติดตาม (Monitoring) หมายถึง การศึกษาความกาวหนาการบริหารการจัดการและการดาํ เนินการ
ของหนวยงานและสถานศกึ ษาในสังกดั สํานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา

การตรวจสอบ (Inspection) หมายถึง การกํากับ ดูแล เพื่อปรับปรุงพัฒนาการบริหารการจัด
การศกึ ษา และดําเนนิ ไปตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐานท่ีกําหนดไว

การประเมินผล (Evaluation) หมายถงึ การตีคาผลการบรหิ ารการจัดการศึกษา และดําเนินไปตาม
มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานที่กาํ หนดไวโ ดยเปรยี บเทยี บกบั เกณฑแ ละเปาหมายท่กี าํ หนดไว

การนิเทศการศึกษา (Supervision) หมายถึง การใหคําปรึกษา แนะนํา สงเสริม สนับสนุน เพื่อ
ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยความรวมมือระหวางสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษาของเขตพ้ืนที่การศกึ ษา และสถานศกึ ษาในสังกัด

มาตรฐานสํานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา หมายถงึ มาตรฐานสาํ นกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา
ตามประกาศของสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

กลมุ เครือขา ยสงเสรมิ ประสทิ ธิภาพการศึกษา หมายถึง การรวมสถานศกึ ษาหลายแหงเขา ดว ยกนั
เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา และบุคลากรในกลมุ เครือขาย

โครงสรา งคณะกรรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศกึ ษา

กฎกระทรวง กำหนดจำนวน หลักเกณฑ และวิธีการไดมาของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ กำหนดใหมีคณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาของเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา จำนวน 9 คน ประกอบดวย

1. ผูอำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา เปนประธานกรรมการ
2. กรรมการท่ีเปนผแู ทนผูบรหิ ารสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานของรัฐ จำนวนหนึง่ คน
3. กรรมการท่ีเปนผแู ทนผูบริหารสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานของเอกชน จำนวนหน่ึงคน
4. กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ จำนวนหาคน ซง่ึ แตงต้ังจากผูท ่ีมีความรู ความสามารถ ความเชีย่ วชาญ
และประสบการณสูงในดานการศกึ ษาปฐมวัย ดา นการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ดา นการวจิ ัยและประเมินผลดา นการ
บรหิ ารการศกึ ษา ดานศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม ดานใดดา นหน่งึ หรอื หลายดานรวมกัน
5. ผูอำนวยการกลมุ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา เปน กรรมการและเลขานุการ

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นท่ี
การศึกษา

ตามพระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๐ กําหนด
ใหกระทรวงศึกษาธิการมีผูตรวจราชการของกระทรวงเพื่อทําหนาที่ในการตรวจราชการศึกษาวิเคราะห วิจัย
ติดตามและประเมินผลระดับนโยบายเพื่อนิเทศใหคําปรึกษาและแนะนําเพื่อการปรับปรุงพัฒนา ในระดับ
สํานักงานใหมีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา ใหทําหนาที่ติดตามและ

6

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

ประเมินผลนโยบายตามภารกิจตลอดจนนิเทศใหคาํ ปรึกษาและแนะนําเพือ่ ปรับปรุง พัฒนา ในระดับเขตพื้นที่
การศกึ ษาใหมคี ณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
มหี นาท่ศี กึ ษาวิเคราะหวิจยั นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการบริหาร และการดําเนินการโดยมุง เนนผลสมั ฤทธ์ิ
ของหนวยงานและสถานศึกษาในสงั กัดเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา เพื่อเตรียมการรบั การนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผล
จากหนว ยงานภายนอก

การดําเนินงานตามวรรคหนึง่ และวรรคสาม ใหม ีคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาการและคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การศึกษาของเขตพื้นที่การศกึ ษา เปนผูร ับผิดชอบดําเนินการ สําหรับกระทรวงศึกษาธิการหรือสําหรับแตละ
เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา ทง้ั นจี้ าํ นวน หลกั เกณฑและวธิ กี ารไดม าของคณะกรรมการดังกลาวใหเ ปนไปตามที่กําหนด

โดยสรุปตามพระราชบัญญัติระเบยี บบริหารกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๐ วรรค ๓
และวรรค ๔ กําหนดวา ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาใหเปนการศึกษา วิเคราะหวิจัย นิเทศติดตาม และ
ประเมนิ ผลการบริหารและการดาํ เนนิ การ โดยมงุ เนนผลสมั ฤทธ์ขิ องหนวยงานและสถานศึกษาในสงั กัด
เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา เพือ่ เตรียมการรับการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลจากหนวยงานภายนอก

บทบาทหนาที่ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นที่
การศกึ ษา

ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา ดว ยการตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ สวนที่ ๔ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ระดับเขตพื้นที่
การศกึ ษา ขอ ๒๕ การตดิ ตาม ประเมนิ ผลและนเิ ทศการบรหิ ารและการดําเนินการโดยมุงผลสัมฤทธิข์ องหนวยงาน
และสถานศึกษาในสังกัดพื้นที่การศึกษา เพื่อเตรียมการรับการนิเทศ ติดตามและประเมินผลจากหนวยงาน
ภายนอก และ ขอ ๒๖ ใหคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของเขตพื้นที่
การศึกษา ตามกฎกระทรวงวาดว ยการ กําหนดจํานวน หลักเกณฑและวิธีการไดม าของคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา มอี ํานาจหนา ที่ ดงั ตอ ไปน้ี

๑. สงเสริม สนับสนุนใหมีการนาํ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มากาํ หนดเปนแนวทางการติดตาม
ประเมินผล และนิเทศการบรหิ ารและการดําเนนิ การของหนว ยงานและสถานศึกษาในสงั กัดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

๒. กําหนดแนวทางการศึกษาวิเคราะหวิจัยการบริหารและการดําเนินการของหนวยงานและ
สถานศกึ ษา ในสังกัดเขตพื้นที่การศกึ ษา

๓. พิจารณาแผนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา โดยมงุ เนนผลสัมฤทธ์ิ
ของหนวยงานและสถานศกึ ษาในสงั กดั เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา

๔. ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดาํ เนินการตามแผนทก่ี าํ หนด
๕. รบั ทราบผลการติดตาม ประเมินผล และนเิ ทศการบริหาร และการดําเนินการตามแผน และ
ใหขอ เสนอแนะ เพือ่ การปรบั ปรุงและพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอยางตอ เนอ่ื ง
๖. สง เสริมใหมีการประสานการตดิ ตาม ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษากบั คณะกรรมการและ
หนวยงานท่เี กีย่ วขอ ง
๗. แตงต้งั คณะอนกุ รรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศกึ ษาตามความจาํ เปน
๘. ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ใดตามทีไ่ ดร ับมอบหมาย

7

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑

นางสาวกนษิ ฐา ทองเลิศ

ผอู ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1
ประธานกรรมการ

นางกาญจนา คลา ยพุฒ นางสาวเลอลักษณ คุมประยูร นางสาวกนั ตวรรณ มีสมสาร

กรรมการผแู ทนผบู รหิ าร กรรมการผแู ทนผบู รหิ ารสถานศกึ ษา กรรมการผทู รงคณุ วุฒิ
สถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานของรัฐ ข้ันพน้ื ฐานของเอกชน ดานการศกึ ษาปฐมวัย

นายอเนก ลวงลอื นายบญุ เลศิ ย้ิมแยม นายมานพ ตุมโหมด

กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ กรรมการผทู รงคณุ วุฒิ กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ
ดานการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ดา นการวจิ ัยและประเมนิ ผล ดา นการบรหิ ารการศกึ ษา

นายวรี วฒั น วงศศ ปุ ไทย นางสรุ สั วดี จันทรกลุ

กรรมการผูทรงคุณวุฒดา นศาสนา ผอู ำนวยการกลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา

ศิลปะและวฒั นธรรม กรรมการและเลขานุการ

8

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

หลกั การและการดาํ เนนิ งานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษา
ของเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา

หลกั การดําเนินงานของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา ของ
เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา มดี งั น้ี

๑. หลกั การแบบองครวม (Holistic) เปนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา
ตามภารกจิ ของสํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษา โดยมุง ผลการพฒั นาองคก รในภาพรวม

๒. หลักการเชิงระบบ (System) เปนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา โดย
สวนประกอบหรือปจจัยตาง ๆ ของระบบมีความสัมพันธสอดคลองซึ่งกันและกัน เพื่อใหการดําเนนิ งานบรรลุ
วตั ถุประสงคท ก่ี าํ หนดไว

๓. หลกั การแบบเครอื ขาย (Network) เปนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษา
เปนคณะหรือใหม เี ครือขา ยการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาอยทู ุกหนวยปฏบิ ตั ทิ ้ังเครือขาย
ภายใน และเครอื ขายภายนอกเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา

๔. หลักการประเมินผลแบบบูรณาการ (Integration) เปนการบูรณาการภารกิจของการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษาใหเปนระบบเดยี วกัน เปนเครื่องมือและกลไกของการพัฒนาการ
ปฏิบัติงาน โดยจัดใหมีการบูรณาการแผนและกิจกรรมติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
และใชท รพั ยากรอยา งประหยัดมีประสิทธิภาพไมเ กดิ ผลกระทบตอสถานศึกษา

๕. หลกั การบริหารกิจการบา นเมืองทีด่ ี (Good Governance) คือ หลกั นิติธรรม หลักคุณธรรม หลัก
ความโปรงใส หลักการมีสวนรวม หลกั ความรับผิดชอบ หลักความคุมคา โดยบูรณาการเขากับการดําเนินงาน
การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา

คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษาของเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาดำเนินงาน
ดังนี้

๑. ศึกษา วเิ คราะหวิจยั ยทุ ธศาสตรน โยบาย จุดเนน ของชาติของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ของสาํ นกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และมาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน เพ่ือนาํ มาใชเปน แนวทางในการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา

๒. กาํ หนดแนวทางและเปาหมายความสาํ เร็จ ในการทํางานของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพน้ื ท่ีการศึกษาใหสอดคลอ งกับขอ ๑ ตามภารกิจของคณะกรรมการ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษาของเขตพน้ื ที่การศึกษา

๓. กําหนดกลไกการทาํ งานในการขับเคลื่อนงานในภารกจิ ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพนื้ ที่การศึกษา เชน

๓.๑ จัดทาํ แผนนเิ ทศในการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา เสนอขออนมุ ตั ิ
จากคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษาของเขตพน้ื ที่การศึกษา

๓.๒ แตงต้ังคณะอนุกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจดั การศึกษา
๓.๓ สรางเครื่องมอื ในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาใหสอดคลอ งกับ
ขอ ๑ และขอ ๒
๔. สรา งความเขา ใจกับผทู ่ีเกย่ี วของ ไดแก รองผูอาํ นวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ศกึ ษานิเทศก
ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา ครวู ิชาการ เจา หนาที่ทเ่ี กย่ี วของ เปนตน
๕. ดาํ เนินการตามแผนปฏบิ ตั กิ ารในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาท่กี ําหนด
๖. สรุป รวบรวมขอมูล และประมวลผลท่ีไดจากการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา

9

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

๗. เสนอสรปุ รายงานผลการติดตาม ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ตอผอู ํานวยการสาํ นักงานเขต
พน้ื ทกี่ ารศึกษา และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษาของเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

๘. รับทราบผลการดําเนนิ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาการดาํ เนนิ การ
ตามแผนปฏิบัติการ และใหขอเสนอแนะเพอ่ื ใหส ํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษานําไปแกปญหาและปรบั ปรุง
พฒั นา การบรหิ ารและการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาอยา งตอเนื่อง

๙. ประสานงานการตรวจราชการ และติดตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลของคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลการจดั การศกึ ษา ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร คณะตดิ ตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผลในทุกระดบั รวมทง้ั แจงหนวยงาน และสถานศกึ ษาในสังกัด

๑๐. ปฏิบัติงานอืน่ ทีไ่ ดร ับมอบหมายจากคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล
การจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร และผูป ฏิบตั ใิ นการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศกึ ษาระดับสวนราชการ และระดับสาํ นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั

นอกจากนี้สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ไดด ำเนนิ งานติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศึกษาของสํานักงานเขตพนื้ ท่ี ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดว ย
การตรวจราชการ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจดั การศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐ สวนท่ี ๔ การตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ระดับเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ขอ ๒๗ ดงั น้ี

๑. มอบหมายศกึ ษานิเทศก ทาํ หนา ทต่ี ดิ ตาม ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ในเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
๒. จัดทําแผนการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาประจําปใหสอดคลองกับแผนปฏิบัติ
ราชการของหนวยงาน เสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา
ของเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา และแจงใหส ถานศึกษาในสังกัดทราบ
๓. ศึกษา วิเคราะห วิจัย ดาํ เนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษา การบริหารการศึกษา
โดยมุงผลสัมฤทธิ์ของหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อการเตรียมรับการนิเทศ
ติดตามและประเมินผลจากหนวยงานภายในและภายนอก
๔. รายงานผลการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาเสนอผูบังคับบัญชาและคณะกรรมการ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษาของเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
๕. ประสานใหหนวยงานและเจา หนาที่ เพื่อช้แี จง ใหถอ ยคําหรือสง เอกสารและหลกั ฐานเก่ยี วกบั
การปฏิบตั งิ าน
๖. ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ใดตามทไ่ี ดร ับมอบหมาย

รูปแบบการบริหารจัดการสรางความเขม แข็งใหแกคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
และนิเทศการศกึ ษา ของเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ไดใชรูปแบบการบริหารจัดการเพ่ือ
เสริมสรางความเขมแข็งในการปฏิบัติหนาที่ใหแกคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ
การศกึ ษา ดว ยหลกั การ 3 Performance Management Method ดังน้ี

10

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

รูปแบบการบรหิ ารจัดการสรางความเขมแขง็ 3 Performance Management Method
ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ของเขตพน้ื ที่การศกึ ษา

1 มีสวนรว มอยา งสรางสรรค
(Creative participation)

3 Performance 2 ใชดจิ ิทัลแพลตฟอรมเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ
Management (Digital platform for efficiency)

Method

3 ประเมนิ ผลโปรง ใส ไดมาตรฐาน
(Transparency and Standardized Assessment)

1. มีสว นรวมอยางสรางสรรค (Creative participation) หมายถึง การนิเทศโดยใชหลกั การมีสว น
รวมประกอบดวย 1. รวมคดิ อยางสรา งสรรค (Creative Thinking Participation) 2. รวมปฏบิ ตั อิ ยา ง
สรางสรรค (Creative Implementing Participation) 3. รวมตดิ ตาม นเิ ทศ อยางสรางสรรค( Creative
Supervise Participation) 4. รว มประเมินผลอยา งสรา งสรรค ( Creative Evaluate Participation)
5. รว มปรบั ปรงุ และพัฒนาอยางสรา งสรรค (Creative Improve and develop Participation)

2. ใชด จิ ิทลั แพลตฟอรมเพ่ิมประสิทธิภาพ (Digital platform for efficiency) หมายถึง การ

เชอื่ มโยงระบบการ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษาดว ยระบบปฏบิ ัติงานทม่ี ีเทคโนโลยีเขา

มาเกี่ยวของ (Digitalization Process)

3. ประเมินผลโปรงใสและไดมาตรฐาน (Transparency and Standardized Assessment)
หมายถึง การประเมินคณุ ภาพการบริหารจดั การของโรงเรียน โดยใชเ กณฑคุณภาพเพ่ือการดำเนินการที่เปน
เลิศ (Criteria for Performance Excellence) โดยพิจารณาวา โรงเรียนมีการบริหารจัดการที่เปนระบบ
หรอื ไม นำระบบไปใชอยา งจริงจัง สม่ำเสมอ และทวั่ ถึงหรือไม มกี ารตดิ ตาม ประเมนิ ผล เพ่อื พัฒนาระบบให
ดีขึ้นหรือไม ผลการปรับปรุง สงผลตอ การบรรลุเปาหมายและทิศทางที่มุงหวังหรือไม และผลลพั ธของการ
ปรบั ปรุง สรา งความย่งั ยืนไดห รือไม

11

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

ขอบขายการนเิ ทศ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา ของเขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษา

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษา
ปทุมธานี เขต ๑ กำหนดขอบขายของการนิเทศการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด ครอบคลุมการบริหารงาน
4 ดา น ไดแก ดา นการบรหิ ารทัว่ ไป ดานการบริหารงานบคุ คล ดา นงบประมาณ ดานวิชาการ และครอบคลมุ
งานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งนโยบายของ
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ในดานการดำเนินงานดา นความปลอดภยั การเพิ่ม
โอกาสในการเขาถึงการศกึ ษา การฟนฟูภาวะถดถอยทางการเรยี นรู (Learning Loss Recovery ) การพัฒนา
ผูเรียนสูฐานสมรรถนะดวยการจัดการเรียนรรู ปู แบบ Active Learning การใชเทคโนโลยีดิจิทลั เพื่อการเรยี นรู
ทุกระดับ การสงเสริมผูเ รียน 1 ดนตรี 1 กีฬา 1 อาชีพ และการปฏิบัติงานที่เปนเลิศของสถานศึกษา (Best
Practice) โดยมรี ายละเอียดดงั ตอ ไปนี้

1. การบรหิ ารจดั การงาน 4 ดาน ไดแก
1.๑ ดานการบริหารทวั่ ไป ประกอบดว ย
๑) การพัฒนาระบบและเครือขา ยขอ มูลสารสนเทศ
๒) การจัดทำสำมะโนนักเรียนและการรับนักเรยี น
๓) การดแู ลอาคารสถานท่ี ระบบสาธารณปู โภคและสภาพแวดลอม
4) การพัฒนามาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน
๕) การจดั วางระบบการควบคุมภายในหนว ยงาน
๖) การระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา
๗) การสรางความสมั พนั ธร ะหวา งโรงเรียนกบั ชุมชนและภาคีเครือขา ยทางการศกึ ษา
1.๒ ดา นการบริหารงานบุคคล ประกอบดว ย
๑) การวางแผนอัตรากำลงั ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
๒) การพฒั นา สงเสริม ยกยอ งเชดิ ชเู กียรติครูและบุคลากรทางการศกึ ษาสคู วามเปน
มอื อาชพี
๓) การเสริมสรางวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ
๔) การเสรมิ สรางประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการ
1.3 ดา นงบประมาณ ประกอบดวย
๑) การวางแผนการใชง บประมาณอยางเปนระบบ สอดคลองกับนโยบาย ปญหาและ
ความตองการ
๒) การจัดระบบการบริหารการเงนิ บัญชี และพสั ดุ
๓) การควบคุมการใชง บประมาณอยางเปน ระบบ
๔) การตรวจสอบภายในอยา งเปน ระบบ
๕) การตรวจสอบ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลการใชเงนิ และผลการดำเนนิ งาน
1.๔ ดานวชิ าการ ประกอบดว ย
๑) การพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา
๒) การจดั กระบวนการเรยี นรูท ่เี นนผเู รยี นเปน สำคัญ
3) การผลติ จดั หา และพฒั นาสือ่ เคร่อื งมอื อปุ กรณใ นการเรยี นรู
๔) การวัดผล ประเมินผลและนำผลไปใชในการปรับปรงุ พฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา

12

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

๕) การกำกบั ดูแล ติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบการประกนั
คณุ ภาพการศึกษา

๖) การวิจัย และนำผลการวิจัยไปใชพัฒนางานวิชาการ
๗) การจัดกจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี นและระบบการดูแลชวยเหลอื นักเรยี น
๘) การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
๙) การประสาน สง เสรมิ การมีสว นรวมในการจัดการศึกษา
2. การดำเนนิ งานตามนโยบายและจุดเนนของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานและ
สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา
2.1 การดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศึกษา ประกอบดว ย
1) การจัดทำแผนความปลอดภยั ของสถานศึกษา
2) การเสริมสรา งความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา
3) ภาคเี ครอื ขา ยและการมีสวนรว มสรางความปลอดภยั ในสถานศึกษา
2.2 การพัฒนาผูเ รียนสูฐ านสมรรถนะดว ยการจัดการเรยี นรรู ปู แบบ Active Learning ประกอบดวย
1) การสรางความรูความเขาใจแกครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
2) การจัดการเรียนรรู ูปแบบ Active Learning สฐู านสมรรถนะ
3) การวัดและประเมินผล
2.3 การฟน ฟภู าวะถดถอยทางการเรยี นรู (Learning Loss Recovery ) ประกอบดว ย
1) การจดั ทำขอ มูลและวางแผนการฟน ฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรูในสถานศึกษา
2) รปู แบบและการดำเนินการฟน ฟูภาวะถดถอยทางการเรยี นรู
3) การติดตาม ปรบั ปรุง และผลสะทอ นกลบั
2.4 การใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่อื การเรยี นรทู ุกระดบั ประกอบดวย
1) การพัฒนาความรแู ละทักษะการใชดิจิทัลเพ่ือการเรียนรแู กครูและบุคลากรทางการศึกษา
2) การจัดการเรียนรูและสง เสริมการเรยี นรูดวยเทคโนโลยีดิจทิ ลั
3) การพัฒนาสอื่ /นวตั กรรมการเรยี นรดู วยเทคโนโลยดี จิ ิทลั
2.5 การสง เสริมผเู รียน 1 ดนตรี 1 กฬี า 1 อาชีพ ประกอบดว ย
1) การดำเนนิ งานสงเสริมผเู รยี นดา นดนตรี
2) การดำเนินงานสง เสรมิ ผูเรยี นดานกฬี า
3) การดำเนินงานสงเสริมผเู รยี นดานอาชพี
2.6 การปฏบิ ัติงานท่ีเปน เลิศของสถานศึกษา (Best Practice) ประกอบดว ย
1) ความเปน มา สภาพปญ หา และแนวทางแกป ญหา
2) จุดประสงคแ ละเปาหมายของการดำเนินงาน
3) กระบวนการ หรือขั้นตอนการดำเนินงาน
4) ผลการดำเนินงาน
5) ปจจัยความสำเรจ็
6) บทเรียนทไี่ ดร บั
7) การเผยแพรแ ละการไดร บั การยอมรับ

13

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

แผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล
และนิเทศการศกึ ษา ของเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑ กำหนดแผนการนิเทศการติดตาม
ตรวจสอบประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา ของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศกึ ษา ของเขตพ้นื ที่การศึกษา ประจำปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ไวดังน้ี

๑. ศึกษา วิเคราะห นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา เพื่อกำหนด
ขอบขา ยการติดตาม ตรวจสอบ

๒. จัดทำแผนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา ประจำปงบประมาณ พ.ศ.
2๕๖5 และเคร่ืองมอื ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา

๓. ประชุมคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา และผูเกี่ยวของเพื่อ
พิจารณาและใหความเห็นชอบแผนการนิเทศ และเครื่องมือที่ใชติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศกึ ษา ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ของสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑

๔. แจงใหโรงเรยี นในสังกัดและผเู กีย่ วขอ งทราบ
๕. แตง ตั้งคณะอนกุ รรมการเพ่ือทำหนาที่ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา
และประชุมชีแ้ จงเกีย่ วกับบทบาทหนาที่และแนวทางการการติดตาม ตรวจสอบฯ
๖. กำหนดปฏิทนิ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา ปก ารศกึ ษาละ 1 ครั้ง แจง
โรงเรียนในสังกัดทราบ และเตรยี มรับการติดตาม ตรวจสอบฯ
๗. ดำเนนิ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ทุกโรงเรยี นในสงั กัด
๘. ประชุม วิเคราะห และจัดทำรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
ตอ สาธารณชนและผูเ กี่ยวขอ ง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานิ เขต 1 กำหนดใหมีการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษาทุกโรงเรียนในสังกัด ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง รวมปการศกึ ษาละ ๒ ครั้ง และให
กลุมงานเลขานกุ ารคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา กลุมนเิ ทศ ติดตามและ
ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา เปนผูรวบรวม สรุปผล จัดทำรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ
นิเทศการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่เมื่อสิน้ สุดปการศึกษา เสนอใหผูเกี่ยวของทราบตอไป ทั้งนี้ ใหแตงต้ัง
คณะอนกุ รรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพืน้ ท่ี ทำหนาท่ีตดิ ตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาโรงเรียนในสงั กดั จำนวน ๑๐ คณะ คณะละ ๕ คน ประกอบดวย
1. รองผูอำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาของเขตพน้ื ท่ี เปน ประธานกรรมการ
2. ผูอำนวยการโรงเรียนทด่ี ำรงตำแหนง ประธานเครือขา ยสงเสริมประสิทธิภาพการศกึ ษา เปนรอง
ประธานกรรมการ
3. ผูอำนวยการโรงเรียนทีด่ ำรงตำแหนงรองประธานเครือขา ยสงเสริมประสิทธิภาพการศกึ ษา เปน
กรรมการ
4. ผูอำนวยการกลุมในสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาหรอื ผูทไี่ ดร บั มอบหมาย เปน กรรมการ
5. ศึกษานิเทศก เปนกรรมการและเลขานุการ

14

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

ระยะเวลาดำเนนิ งาน

วนั เดือน ป กจิ กรรมการดำเนนิ งาน ผูรบั ผิดชอบ
มีนาคม
2565 1. จดั ทำแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ 1. คณะกรรมการ ก.ต.ป.น.

มถิ ุนายน นิเทศการศกึ ษา ปงบประมาณ พ.ศ.2565 2. คณะอนุกรรมการ ก.ต.ป.น.
2565
สงิ หาคม 2. แตง ตั้งคณะอนุกรรมการการติดตาม ตรวจสอบ 3. กลมุ นิเทศ ติดตามและ
2565
กนั ยายน ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษาของเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา
๒๕๖5
3. ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา 4. กลุมงานเลขานุการ

สถานศึกษาในสงั กดั คร้ังท่ี 1 คณะกรรมการตดิ ตาม

4. ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ตรวจสอบ ประเมินผลและ

สถานศกึ ษาในสงั กัด ครัง้ ที่ 2 นิเทศการศกึ ษา

5. สรุปรายงานผลการ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล

และนิเทศการศึกษา ปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5

15

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

บทที่ 3
วิธดี ำเนนิ งาน

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ปทมุ ธานี เขต 1 มวี ัตถปุ ระสงค เพื่อพัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา และ
ติดตาม ตรวจสอบการดำเนินการโดยมงุ ผลสมั ฤทธ์ิของสถานศกึ ษาในสังกดั เพื่อนำผลมาใชปรบั ปรุงและพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 ใหมีคุณภาพสูงขึน้ มีวิธีการ
ดำเนนิ งานตามขน้ั ตอนดังนี้

๑. กลมุ เปาหมาย
๒. ขอบขายการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา
๓. เครือ่ งมอื การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา
4. การเก็บรวบรวมขอ มลู
5. การวิเคราะหขอมูล

กลุม เปาหมาย

กลุมเปา หมายในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ไดแ ก โรงเรยี นในสงั กดั
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ จำนวน ๑๐2 โรง แบงออกเปน ๑๐ กลมุ
โดยใชการแบง กลมุ โรงเรียนตามประกาศกลมุ เครือขา ยสง เสรมิ ประสิทธิภาพการจดั การศกึ ษา สำนักงานเขต
พ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ ดงั นี้

กลมุ เครือขายสงเสริมประสิทธภิ าพ กลุมเครอื ขา ยสงเสริมประสิทธภิ าพ
การจัดการศึกษาที่ 2
การจัดการศึกษาที่ ๑
1. โรงเรยี นวดั นาวง
๑. โรงเรยี นวัดราษฎรศ รทั ธาทำ 2. โรงเรียนวัดเทียนถวาย
๒. โรงเรียนวัดหงสป ทมุ าวาส 3. โรงเรียนขจรทรัพยอำรุง
3. โรงเรียนอนบุ าลปทมุ ธานี 4. โรงเรยี นวดั บางกฎุ ที อง
4. โรงเรยี นอนุบาลวดั บางนางบญุ 5. โรงเรียนสลุ กั ขณะ
5. โรงเรยี นวดั บางเดอ่ื 6. โรงเรยี นวดั มะขาม
6. โรงเรยี นวดั ไพรฟา 7. โรงเรยี นชุมชนวัดบางกะดี
7. โรงเรยี นวัดบางควู ดั
8. โรงเรียนวัดฉาง
9. โรงเรียนวดั โคก
10. โรงเรียนวดั ชนิ วราราม

16

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

กลุมเครอื ขา ยสงเสริมประสิทธภิ าพ กลมุ เครอื ขา ยสงเสริมประสิทธิภาพ
การจัดการศกึ ษาท่ี 3 การจัดการศกึ ษาที่ 4

1. โรงเรยี นวดั เปรมประชากร 1. โรงเรียนคลองหนง่ึ (แกวนิมิตร)
2. โรงเรียนวัดบางพนู 2. โรงเรียนลน้ิ จอี่ ทุ ศิ
3. โรงเรียนวัดโบสถ(บวรธรรมกจิ วิทยา) 3. โรงเรยี นวดั คุณหญิงสม จนี มิตรภาพที่ 64
4. โรงเรียนวดั ดาวเรือง 4. โรงเรยี นเจริญวิทยา
5. โรงเรยี นชมุ ชนวัดเสดจ็ 5. โรงเรยี นวดั หวานบญุ
6. โรงเรยี นวดั อูขา ว
(สฤษดิ์ วจิ ิตรา ธนะรชั ตบ ำเพญ็ ) 7. โรงเรยี นอินทรนาวีราษฎรอ ุปถมั ภ
6. โรงเรียนวดั รังสติ 8. โรงเรียนวัดผลาหาร
7. โรงเรยี นวัดเวฬวุ ัน 9. โรงเรยี นวดั มลู เหล็ก
8. โรงเรยี นวดั โพธเ์ิ ล่ือน 10. โรงเรยี นวดั พืชนิมิต(คำสวสั ดิ์ราษฎรบ ำรุง)
11. โรงเรยี นประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมเครอื ขา ยสงเสริมประสิทธภิ าพ กลมุ เครือขา ยสงเสริมประสิทธภิ าพ
การจดั การศึกษาที่ 5 การจัดการศึกษาท่ี 6

1. โรงเรียนบางชวดอนุสรณ 1. โรงเรียนบญุ คุมราษฎรบำรุง
2. โรงเรียนบึงเขายอน(คงพันธอุ ุปถัมภ) 2. โรงเรียนไทยรัฐวทิ ยา 69 (คลองหลวง)
3. โรงเรียนวดั ตะวันเรือง 3. โรงเรยี นลำสนุน
4. โรงเรยี นวัดศริ จิ ันทาราม 4. โรงเรยี นวัดกลา ชอมุ
5. โรงเรยี นชุมชนวดั หัตถสารเกษตร 5. โรงเรียนวัดเกิดการอุดม
6. โรงเรียนคลองหา(พฤกษชัฎราษฎรบ ำรุง) 6. โรงเรียนบา นบงึ
7. โรงเรยี นวัดมงคลพกุ าราม 7. โรงเรียนสงั ขอำ่ วิทยา
8. โรงเรยี นวดั สวา งภพ 8. โรงเรยี นสามคั คีราษฎรบำรุง
8. โรงเรียนจารุศรบำรงุ 9. โรงเรียนคลองสอง(เสวตสมบรู ณอุปถมั ภ)
10. โรงเรยี นชุมชนวดั บางขัน 10. โรงเรยี นวัดกลางคลองสาม
11. โรงเรียนวันครู 2502 11. โรงเรยี นปากคลองสอง

17

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

กลมุ เครือขายสงเสริมประสิทธิภาพ กลุม เครอื ขา ยสงเสริมประสิทธภิ าพ
การจดั การศึกษาท่ี 7 การจดั การศึกษาท่ี 8

1. โรงเรียนวัดบวั สุวรรณประดิษฐ 1. โรงเรยี นวดั สทุ ธาวาส
2. โรงเรยี นวัดลำมหาเมฆ(ประชาราตรอี นุสรณ) 2. โรงเรยี นชุมชนวดั บัวแกว เกษร
3. โรงเรียนชมุ ชนวัดหนา ไม
4. โรงเรยี นวัดบอ เงิน (วรพงศอนกุ ูล)
5. โรงเรยี นสามวาวทิ ยา 3. โรงเรยี นคลองพระอุดม
6. โรงเรยี นวดั บอทอง 4. โรงเรียนบา นคลองเจา เมือง
7. โรงเรียนคลองลาดชา ง 5. โรงเรยี นบางโพธ์ใิ หม
8. โรงเรียนสังฆร ักษบำรุง 6. โรงเรียนวดั จนั ทาราม
9. โรงเรียนวัดเนกขมั มาราม 7. โรงเรียนวดั ลาดหลมุ แกว
10. โรงเรยี นสวางราษฎรบ ำรุง 8. โรงเรยี นวัดสวุ รรณจินดาราม
11. โรงเรยี นคลองลากคอ น 9. โรงเรียนวดั บวั ขวญั
10. โรงเรียนคลองบางโพธ์ิ
11. โรงเรียนบา นคลองขวางบน

กลุมเครือขา ยสงเสริมประสิทธภิ าพ กลมุ เครือขายสงเสริมประสิทธิภาพ
การจัดการศกึ ษาที่ 9 การจดั การศึกษาที่ 10

1. โรงเรยี นคลองบานพราว 1. โรงเรยี นวดั สามคั คยิ าราม
2. โรงเรียนวัดบัวหลวง 2. โรงเรียนวัดบางเตยใน
3. โรงเรยี นบางโพธเ์ิ หนือ 3. โรงเรยี นวดั บางเตยนอก(ตามรภาคอุทิศ)
4. โรงเรยี นวดั ทายเกาะ 4. โรงเรียนสเุ หราใหมเจริญ
5. โรงเรยี นวดั ถ่ัวทอง 5. โรงเรียนคลองสระ(สภาวทิ ยาอทุ ิศ)
6. โรงเรยี นวัดเมตารางค 6. โรงเรียนวดั สะแก
7. โรงเรียนศาลาพัน 7. โรงเรียนสีแ่ ยกบางเตย (แกนจำเนยี ร
8. โรงเรยี นวัดปทมุ ทอง
9. โรงเรยี นวัดบา นพราวใน อนุสรณ)
10. โรงเรียนวัดสองพ่ีนอง 8. โรงเรียนวัดบางนา(เสง็ เลิศประชานกุ ลู )
11. โรงเรยี นวดั เชิงทา 9. โรงเรียนวดั สหราษฎรบำรงุ

(วงษก ลาแข็ง)
10. โรงเรยี นชุมชนวัดจันทนก ะพอ
11. โรงเรียนชมุ ชนวัดไกเ ต้ีย

18

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

ขอบขายการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา กำหนดขอบขายการติดตาม

ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา ประจำป 2565 ไวด งั น้ี

1. การบรหิ ารจัดการงาน 4 ดาน ไดแ ก
1.๑ ดานการบริหารทั่วไป ประกอบดว ย
๑) การพัฒนาระบบและเครือขายขอมูลสารสนเทศ
๒) การจดั ทำสำมะโนนกั เรียนและการรับนกั เรียน
๓) การดแู ลอาคารสถานท่ี ระบบสาธารณูปโภคและสภาพแวดลอม
4) การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัตงิ าน
๕) การจดั วางระบบการควบคมุ ภายในหนว ยงาน
๖) การระดมทรพั ยากรเพือ่ การศกึ ษา
๗) การสรางความสัมพนั ธร ะหวางโรงเรียนกบั ชุมชนและภาคเี ครือขา ยทางการศกึ ษา
1.๒ ดา นการบรหิ ารงานบคุ คล ประกอบดวย
๑) การวางแผนอตั รากำลงั ครูและบุคลากรทางการศึกษา
๒) การพัฒนา สง เสรมิ ยกยอ งเชดิ ชูเกียรตคิ รูและบุคลากรทางการศึกษาสคู วามเปน
มอื อาชพี
๓) การเสรมิ สรา งวินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
๔) การเสรมิ สรางประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ริ าชการ
1.3 ดานงบประมาณ ประกอบดวย
๑) การวางแผนการใชงบประมาณอยา งเปนระบบ สอดคลองกบั นโยบาย ปญ หาและ
ความตองการ
๒) การจัดระบบการบรหิ ารการเงนิ บญั ชี และพสั ดุ
๓) การควบคุมการใชงบประมาณอยางเปนระบบ
๔) การตรวจสอบภายในอยา งเปนระบบ
๕) การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการใชเงนิ และผลการดำเนนิ งาน
1.๔ ดา นวชิ าการ ประกอบดว ย
๑) การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา
๒) การจดั กระบวนการเรยี นรูทเ่ี นน ผูเรียนเปนสำคญั
3) การผลติ จัดหา และพัฒนาสือ่ เครื่องมือ อปุ กรณในการเรียนรู
๔) การวดั ผล ประเมินผลและนำผลไปใชใ นการปรับปรงุ พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา
๕) การกำกบั ดแู ล ติดตามและตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาตามระบบการประกนั
คณุ ภาพการศกึ ษา
๖) การวจิ ัย และนำผลการวิจยั ไปใชพัฒนางานวิชาการ
๗) การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและระบบการดูแลชว ยเหลอื นกั เรียน
๘) การยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
๙) การประสาน สง เสริมการมีสวนรว มในการจัดการศึกษา

19

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

2. การดำเนนิ งานตามนโยบายและจดุ เนน ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐานและ
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา

2.1 การดำเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา ประกอบดว ย
1) การจดั ทำแผนความปลอดภัยของสถานศกึ ษา
2) การเสริมสรา งความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา
3) ภาคีเครอื ขา ยและการมสี ว นรวมสรางความปลอดภยั ในสถานศึกษา

2.2 การพัฒนาผูเรียนสฐู านสมรรถนะดว ยการจัดการเรยี นรรู ปู แบบ Active Learning ประกอบดวย
1) การสรางความรคู วามเขาใจแกค รแู ละบุคลากรทางการศึกษา
2) การจัดการเรียนรรู ปู แบบ Active Learning สฐู านสมรรถนะ
3) การวัดและประเมินผล

2.3 การฟน ฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู (Learning Loss Recovery ) ประกอบดวย
1) การจดั ทำขอมลู และวางแผนการฟน ฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรูในสถานศึกษา
2) รปู แบบและการดำเนนิ การฟน ฟภู าวะถดถอยทางการเรยี นรู
3) การติดตาม ปรบั ปรุง และผลสะทอนกลับ

2.4 การใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่ือการเรยี นรูทุกระดบั ประกอบดว ย
1) การพัฒนาความรูและทักษะการใชด จิ ิทัลเพื่อการเรียนรแู กครูและบุคลากรทางการศึกษา
2) การจัดการเรยี นรูและสงเสรมิ การเรยี นรูดวยเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
3) การพัฒนาสอื่ /นวตั กรรมการเรียนรูดว ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั

2.5 การสงเสริมผเู รียน 1 ดนตรี 1 กฬี า 1 อาชีพ ประกอบดวย
1) การดำเนนิ งานสงเสรมิ ผเู รยี นดานดนตรี
2) การดำเนินงานสงเสริมผูเรยี นดา นกฬี า
3) การดำเนินงานสงเสริมผูเ รียนดานอาชพี

2.6 การปฏบิ ัติงานทเี่ ปน เลศิ ของสถานศกึ ษา (Best Practice) ประกอบดวย
1) ความเปนมา สภาพปญหา และแนวทางแกปญหา
2) จุดประสงคแ ละเปาหมายของการดำเนินงาน
3) กระบวนการ หรอื ข้ันตอนการดำเนินงาน
4) ผลการดำเนินงาน
5) ปจจัยความสำเร็จ
6) บทเรียนท่ีไดร ับ
7) การเผยแพรและการไดร บั การยอมรบั

เครอื่ งมือและเกณฑก ารใหคะแนนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษา

1. การสรางและพฒั นาคุณภาพของเคร่ืองมือ

การสรา งและพัฒนาคุณภาพเครือ่ งมอื ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑ ป ๒๕๖5 ไดด ำเนินการตามข้ันตอน ดังนี้

1) คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สำนักงานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑ และกลมุ งานเลขานุการคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล

20

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

และนเิ ทศการศึกษา กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารการจดั การศกึ ษา ยกรางเครอื่ งมือตดิ ตาม
ตรวจสอบประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา โดยศึกษาเอกสารทเี่ กี่ยวขอ งดังนี้

1.1) มาตรฐานสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา พ.ศ. 2560
1.2) มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานในโรงเรียน
1.3) นโยบายและจุดเนน ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและสำนกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
1.4) การจดั การเรยี นรเู ชิงรกุ (Active Learning)
1.5) คมู อื การดำเนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
1.6) การฟน ฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู (Learning Loss Recovery )
๑.7) การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ทิ ่เี ปนเลิศ(Best Practice)
2) สรา งเคร่ืองมือติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ไดแก แบบติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา
3) วิพากษและตรวจสอบความเทีย่ งตรงของเครื่องมือโดยผทู รงคุณวฒุ ิ
4) ปรับปรุงเคร่อื งมือและจดั ทำฉบบั จรงิ เพ่ือนำไปเกบ็ รวบรวมขอ มูลตอไป

2. เครอื่ งมือและเกณฑก ารใหคะแนนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศกึ ษา

2.1 เคร่อื งมือที่ใชในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ไดแก แบบติดตาม

ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา มีลกั ษณะเปน แบบประเมินระดบั คุณภาพการปฏบิ ตั งิ าน แบง

ออกเปน 3 ตอน แตล ะตอนมีคำอธบิ ายความหมายของหัวขอการประเมินประเด็นพจิ ารณาที่ใชป ระเมิน

วิธีการเก็บรวบรวมขอ มลู และเกณฑก ารใหค ะแนนและระดับคุณภาพรายละเอียดดงั น้ี

ตอนที่ ๑ ขอ มลู พน้ื ฐานของโรงเรยี น

ตอนที่ ๒ การประเมินคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การงาน 4 ดาน คะแนนเต็ม 125 คะแนน

ดา นที่ ๑ ดานการบริหารงานทว่ั ไป (35 คะแนน)

ดา นที่ ๒ ดา นการบริหารงานบุคคล (20 คะแนน)

ดา นท่ี ๓ ดานงบประมาณ (25 คะแนน)

ดา นที่ ๔ ดานวิชาการ (45 คะแนน)

ตอนที่ ๓ การประเมินคณุ ภาพการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเนน

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

1. การดำเนนิ งานดานความปลอดภยั (3 คะแนน)

2. การฟน ฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู (Learning Loss Recovery )

(3 คะแนน)

3. การพัฒนาผูเรียนสูฐานสมรรถนะดว ยการจดั การเรียนรูรูปแบบ Active

Learning (3 คะแนน)

4. การใชเทคโนโลยดี ิจิทลั เพือ่ การเรียนรทู ุกระดับ (3 คะแนน)

5. การสง เสริมผเู รียน 1 ดนตรี 1 กีฬา 1 อาชีพ (3 คะแนน)

6. การปฏบิ ตั ิงานทีเ่ ปน เลศิ ของสถานศึกษา (5 คะแนน)

21

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

2.2 เกณฑก ารใหคะแนนและระดับคุณภาพ ในแตล ะรายการประเมนิ ท่ีเปนประเด็นพจิ ารณา
จดั ทำรายการปฏิบัตเิ ปนตัวบงชี้ เพื่อพิจารณาคณุ ภาพการดำเนินงานของสถานศึกษา โดยกำหนดเกณฑการให
คะแนนและระดับคุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา และการดำเนนิ งานตามนโยบายและจุดเนน ของ
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานและสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา ดังนี้

๑) หัวขอ ทม่ี ีรายการพิจารณา/ขอปฏิบตั ิ จำนวน ๖-๗ ขอ
ปฏบิ ตั ิได ๖-๗ ขอ ได ๕ คะแนน หมายถงึ ดมี าก
ปฏิบัตไิ ด ๔-๕ ขอ ได ๔ คะแนน หมายถึง ดี
ปฏบิ ตั ไิ ด ๓ ขอ ได ๓ คะแนน หมายถึง ปานกลาง
ปฏิบตั ิได ๒ ขอ ได ๒ คะแนน หมายถึง พอใช
ปฏิบัติได ๑ ขอ ได ๑ คะแนน หมายถงึ ปรับปรงุ

๒) หัวขอ ท่มี ีรายการพจิ ารณา/ขอปฏิบตั ิ จำนวน ๕ ขอ
ปฏบิ ตั ิได 5 ขอ ได ๕ คะแนน หมายถงึ ดีมาก
ปฏบิ ัตไิ ด 4 ขอ ได ๔ คะแนน หมายถึง ดี
ปฏิบตั ไิ ด ๓ ขอ ได ๓ คะแนน หมายถงึ ปานกลาง
ปฏิบตั ไิ ด ๒ ขอ ได ๒ คะแนน หมายถึง พอใช
ปฏิบัตไิ ด ๑ ขอ ได ๑ คะแนน หมายถึง ปรับปรงุ

3) หัวขอ ทีม่ รี ายการพิจารณา/ขอปฏบิ ตั ิ จำนวน ๓ ขอ
ปฏบิ ตั ิได ๓ ขอ ได ๓ คะแนน หมายถึง ดมี าก
ปฏบิ ัติได ๒ ขอ ได ๒ คะแนน หมายถงึ ปานกลาง
ปฏิบัติได ๑ ขอ ได ๑ คะแนน หมายถึง ปรบั ปรงุ

2.3 เกณฑก ารตัดสิน ระดบั คุณภาพ แปลผล
คะแนนเต็ม 20 คะแนน 5 ดีมาก
4
คะแนนทไ่ี ด 3 ดี
17 - 20 คะแนน 2 ปานกลาง
13 - 16 คะแนน 1
9 - 12 คะแนน พอใช
5 - 8 คะแนน ปรับปรงุ
0 - 4 คะแนน

คะแนนเตม็ 25 คะแนน

คะแนนท่ีได ระดบั คณุ ภาพ แปลผล
ดมี าก
21 – 25 คะแนน 5
ดี
16 – 20 คะแนน 4 ปานกลาง

11 – 15 คะแนน 3 พอใช
ปรับปรุง
6 – 10 คะแนน 2

0 - 5 คะแนน 1

22

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

คะแนนเตม็ ๓๕ คะแนน ระดับคุณภาพ แปลผล
5 ดีมาก
คะแนนท่ไี ด 4
29 - 35 คะแนน 3 ดี
22 - 28 คะแนน 2 ปานกลาง
15 - 21 คะแนน 1
8 - 14 คะแนน พอใช
ปรับปรุง
0 - 7 คะแนน
แปลผล
คะแนนเตม็ 4๕ คะแนน ระดบั คุณภาพ ดีมาก
5
คะแนนทไ่ี ด 4 ดี
37 - 45 คะแนน 3 ปานกลาง
28 – 36 คะแนน 2
19 - 27 คะแนน 1 พอใช
10 – 18 คะแนน ปรบั ปรุง
0 - 9 คะแนน
แปลผล
คะแนนเต็ม 12๕ คะแนน ระดับคณุ ภาพ ดีมาก
5
คะแนนทไี่ ด 4 ดี
101 – 125 คะแนน 3 ปานกลาง
76 - 100 คะแนน 2
1 พอใช
51 - 75 คะแนน ปรบั ปรงุ
26 - 50 คะแนน
0 - 25 คะแนน

การเกบ็ รวบรวมขอมลู

การเกบ็ รวบรวมขอมลู มีขน้ั ตอนการดำเนินงานดงั น้ี
1. แตง ตั้งคณะอนกุ รรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ เพ่ือทำหนา ที่ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษาของ
สถานศกึ ษาในสงั กัด โดยแบงออกเปน ๑๐ คณะ ตามจำนวนกลมุ เครือขายสงเสรมิ ประสทิ ธิภาพการศกึ ษา
2. ประชมุ ชี้แจงการใชเครอ่ื งมือและแนวทางการประเมินแกคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา
3. จัดสงแบบตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ใหโรงเรยี นศึกษา ดำเนินการ
ประเมินตนเอง และเตรยี มรบั การตดิ ตาม ตรวจสอบจากคณะอนกุ รรมการฯ

23

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

๕. คณะอนุกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สำนกั งานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ ดำเนนิ การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษาของ
สถานศึกษาในสังกดั ทุกโรง ในเดอื นสิงหาคม 2565

๖. คณะอนกุ รรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สำนกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ สรุปและรวบรวมขอมลู สง คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑ เพือ่ วิเคราะห
ขอมลู ตอไป
การวเิ คราะหขอ มลู

วิเคราะหข อมลู โดยการแจงนบั และ คารอ ยละ

24

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะหข อ มูลผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนเิ ทศการศึกษา

สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565 นำเสนอผลการวิเคราะหขอมูล 3 สวน ประกอบดวย สวนที่ 1 ขอมูล
พน้ื ฐาน สวนท่ี 2 คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การงาน 4 ดานของสถานศกึ ษา สวนท่ี 3 คุณภาพการบรหิ ารงานตาม
นโยบายและจุดเนนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
รายละเอยี ดดังน้ี

สว นที่ 1 ขอมลู พนื้ ฐาน

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ตั้งอยูที่ เลขที่ 99/4 ถนนปทุมธานี
เฉลิมพระเกียรติ ตำบลบางปรอก อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000 มีโรงเรยี นในสังกัดจำนวน
๑๐2 โรง ใน 4 อำเภอ ไดแก อำเภอเมืองปทุมธานี อำเภอคลองหลวง อำเภอลาดหลุมแกว อำเภอสามโคก
โดยมขี อ มลู ทเี่ กีย่ วขอ งตามตารางตอ ไปนี้

ตารางที่ 1 จำนวนโรงเรยี นในสงั กัดแบง ตามอำเภอ

ที่ อำเภอ จำนวน(โรง) รอยละ
๑ เมอื งปทุมธานี 25 24.50
๒ คลองหลวง 33 32.36
๓ ลาดหลุมแกว 22 21.57
๔ สามโคก 22 21.57
100 100
รวม

จากตารางที่ 1 พบวา สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 มโี รงเรียนในเขต
พื้นที่บรกิ ารจำนวน 4 อำเภอ ดังนี้ โรงเรยี นในอำเภอคลองหลวง รอ ยละ 32.35 โรงเรียนในอำเภอเมอื ง
ปทมุ ธานี รอยละ 24.51 โรงเรียนในอำเภอลาดหลมุ แกว รอยละ 21.57 และโรงเรียนในอำเภอสามโคก
รอยละ 21.57 รวมจำนวนโรงเรยี นทงั้ หมด 102 โรงเรยี น

ตารางที่ 2 จำนวนโรงเรียนแบงตามขนาด ตามเกณฑของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ท่ี ขนาดโรงเรยี น จำนวนนักเรยี น จำนวน(โรง) รอยละ
29.41
๑ ขนาดเลก็ นักเรยี น 120 คนลงมา 30 50.00
18.63
๒ ขนาดกลาง นักเรยี น 121 – 600 คน 51 1.96
100
๓ ขนาดใหญ นักเรยี น 601 – 1499 คน 19

๔ ขนาดใหญพเิ ศษ นักเรียน 1500 คนขน้ึ ไป 2

รวม 102

25

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

จากตารางท่ี 2 พบวา สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 มีรอ ยละของจำนวน
โรงเรียนเรียงลำดับจากมากไปหานอย ดังนี้ โรงเรียนขนาดกลาง รอยละ 50.00 โรงเรียนขนาดเล็กรอยละ
29.41 โรงเรยี นขนาดใหญ รอ ยละ 18.63 และโรงเรียนขนาดใหญพเิ ศษ รอ ยละ 1.96

ตารางท่ี 3 จำนวนโรงเรียนแบงตามระดับการศึกษาท่เี ปดสอน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖5

ที่ ระดบั การศึกษาทเ่ี ปดสอน จำนวน(โรง) รอ ยละ
๑ อนบุ าล – ประถมศกึ ษา 74 72.55
๒ อนบุ าล – มัธยมศกึ ษาตอนตน 26 25.49
๓ อนุบาล – มัธยมศึกษาตอนปลาย 1 0.98
๔ ประถมศึกษา – มธั ยมศกึ ษาตอนตน 1 0.98
100 100
รวม

จากตารางที่ 3 พบวา สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 มรี อ ยละของ
จำนวนนักเรียนแบงตามระดับการศึกษาทเี่ ปดสอน ปการศึกษา 2565 เรยี งลำดบั จากมากไปหานอ ย ดังนี้
โรงเรยี นทีเ่ ปด ทำการสอน ระดบั อนบุ าล – ประถมศึกษา รอยละ 72.55 โรงเรียนทเี่ ปด ทำการสอน ระดับ
อนุบาล – มธั ยมศกึ ษาตอนตน รอยละ 25.49 โรงเรียนทีเ่ ปด ทำการสอน ระดบั อนุบาล – มัธยมศกึ ษาตอน
ปลาย รอยละ 0.98 โรงเรยี นทีเ่ ปด ทำการสอน ระดับประถมศึกษา – มธั ยมศกึ ษาตอนตน รอ ยละ 0.98

ตารางที่ 4 จำนวนนกั เรียนจำแนกตามระดับชน้ั และเพศ ปการศกึ ษา 2565 ขอมูล 10 มิถนุ ายน 2565

ระดับการศึกษา จำนวนนักเรียน รวมทั้งส้นิ คดิ เปน
ชาย หญิง รอยละ
อนุบาล 1 273 257 530 1.43
อนุบาล 2 1,501 1,528 3,029 8.20
อนุบาล 3 1,598 1,524 3,122 8.45
3,372 3,309 6,681 18.09
รวม 2,145 2,105 4,250 11.51
ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 2,143 2,004 4,147 11.23
ประถมศกึ ษาปที่ 2 2,167 2,057 4,224 11.43
ประถมศึกษาปท ่ี 3 2,445 2,304 4,749 12.86
ประถมศึกษาปที่ 4 2,329 2,219 4,548 12.31
ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 2,271 2,017 4,288 11.61
ประถมศกึ ษาปท่ี 6 13,500 12,706 26,206 70.94
781 657 1,438 3.89
รวม 682 572 1,254 3.39
มธั ยมศึกษาปท ี่ 1
มัธยมศกึ ษาปท่ี 2

26

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

ระดับการศกึ ษา จำนวนนกั เรยี น รวมทั้งสนิ้ คิดเปน
ชาย หญิง รอยละ
มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 702 510 1,212 3.28
รวม 2,165 1,739 3,904 10.57
30 22 0.14
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 30 19 52 0.13
มธั ยมศึกษาปท่ี 5 31 17 49 0.13
มธั ยมศกึ ษาปท่ี 6 91 58 48 0.40
19,128 17,812 149 100.00
รวม 36,940
รวมทงั้ สน้ิ

จากตารางท่ี 4 พบวา สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 มีรอ ยละของ
จำนวนนักเรยี น เรียงลำดบั จากมากไปหานอย ดังนี้ จำนวนนกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา รอ ยละ 70.94
นักเรยี นระดบั อนบุ าล รอยละ 18.09 นกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน รอ ยละ 10.57และนกั เรยี น
ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปลาย รอยละ 0.40

ตารางท่ี 5 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 6

ปการศึกษา 2563 และ 2564

กลมุ สาระการ คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉล่ีย

เรยี นรู ระดับประเทศ ระดบั สพฐ. ระดับเขตพนื้ ทฯ่ี

ป ป + เพม่ิ ป ป + เพ่ิม ป ป + เพม่ิ

2563 2564 - ลด 2563 2564 - ลด 2563 2564 - ลด

ภาษาไทย 56.20 50.38 -5.82 54.96 49.54 -5.42 53.93 46.38 -7.55

ภาษาองั กฤษ 43.55 39.22 -4.33 38.87 35.46 -3.41 39.43 35.74 -3.69

คณติ ศาสตร 29.99 36.83 +6.84 28.59 35.85 +7.26 28.20 34.37 +6.17

วทิ ยาศาสตร 38.78 34.31 -4.47 37.64 33.68 -3.96 36.44 32.07 -4.37

คะแนนเฉลย่ี 42.13 40.19 -1.94 40.02 38.63 -1.39 39.50 37.14 -2.36
รวม

จากตารางที่ 5 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2563 และ 2564 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ปทุมธานี เขต 1 พบวา ในปก ารศึกษา 2564 ในภาพรวมลดลง รอ ยละ 2.36 เมือ่ พจิ ารณารายกลุมสาระการ
เรยี นรูพบวา กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร เพม่ิ ขนึ้ รอยละ 6.17

27

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

ตารางท่ี 6 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3
ปก ารศกึ ษา 2563 และ 2564

กลมุ สาระ คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลี่ย

การเรยี นรู ระดับประเทศ ระดับ สพฐ. ระดับเขตพน้ื ท่ฯี

ป ป + เพิ่ม ป ป + เพ่มิ ป ป + เพ่มิ

2563 2564 - ลด 2563 2564 - ลด 2563 2564 - ลด

ภาษาไทย 54.29 51.19 -3.1 55.18 52.13 -3.05 47.25 45.59 -1.66

ภาษาอังกฤษ 34.38 31.11 -3.27 34.14 30.79 -3.35 28.39 26.15 -2.24

คณติ ศาสตร 25.46 24.47 -0.99 25.82 24.75 -1.07 20.16 20.73 +0.57

วิทยาศาสตร 29.89 31.45 +1.56 30.17 31.67 +1.5 27.24 29.22 +1.98

คะแนนเฉลีย่ 36.01 34.56 -1.45 36.33 34.84 -1.49 30.76 30.42 -0.34
รวม

จากตารางท่ี 6 เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2563 และ 2564 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ปทมุ ธานี เขต 1 พบวา ในปก ารศึกษา 2564 มคี ะแนนเฉลย่ี ลดลง รอ ยละ 0.34 เมือ่ พิจารณารายกลมุ สาระ
การเรียนรูพบวา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เพิม่ ขึ้นรอยละ 0.57 และกลุมสาระวิทยาศาสตร เพิ่มข้ึน
รอยละ 1.98

ตารางท่ี 7 เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู รียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
ช้ันประถมศกึ ษาปที่ 3

ดาน ระดบั เขตพน้ื ที่ ระดับสังกัด ระดบั ประเทศ
ป ป ผลตา ง ป ป ผลตาง ป ป ผลตาง
ดานคณิตศาสตร 2563 2564 2563 2564 2563 2564
ดานภาษาไทย 34.69 48.00 +13.31 41.30 48.73 +7.43 40.47 49.44 +8.97
44.31 54.70 +10.39 47.76 55.48 +7.72 47.46 56.14 +8.68
รวม 2 ดาน 39.50 51.32 +11.82 44.53 52.11 +7.58 43.97 52.80 +8.83

จากตารางท่ี 7 เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเรียนระดับชาติ (National
Test : NT) ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ปการศึกษา 2564 และปก ารศกึ ษา 2563 พบวาคะแนนเฉลี่ยรวม
ความสามารถทง้ั 2 ดา น เพิ่มขนึ้ รอยละ 11.82 ดานคณิตศาสตร เพม่ิ ข้ึน รอยละ 13.31 และดาน
ภาษาไทย เพม่ิ ขน้ึ รอยละ 10.39

28

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

ตารางท่ี 8 ผลการเปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถดา นการอา นของผเู รยี น(Reading test : RT)
ช้ันประถมศึกษาปที่ 1

ดา น ระดบั เขตพน้ื ที่ ระดบั สังกัด ระดับประเทศ

ป ป ผลตา ง ป ป ผลตา ง ป ป ผลตา ง

2563 2564 2563 2564 2563 2564

การอานออกเสียง 69.9 68.09 -1.81 74.13 69.04 -5.09 74.14 69.95 -4.19

การอานรเู รอ่ื ง 69.26 74.81 +5.55 72.23 72.30 +0.07 71.86 72.79 +0.93

รวม 2 ดาน 69.58 71.50 +1.92 73.2 70.67 -2.53 73.02 71.38 -1.64

จากตารางที่ 8 ผลการเปรียบเทยี บผลการประเมินความสามารถดานการอานของผเู รยี น
(Reading test : RT) ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ปการศกึ ษา 2564 และปก ารศกึ ษา 2563 ใน
ภาพรวม เพ่มิ ขึ้น รอยละ 1.92 เมอื่ จำแนกรายดา นพบวา ดา นการอานรเู ร่ือง เพ่มิ ขน้ึ รอ ยละ 5.55 และ
ดานการอานออกเสยี ง ลดลง 1.81

สวนที่ 2 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา

การนำเสนอผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา ประกอบดวย
1. ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาในภาพรวม
2. ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดานคุณภาพการบริหารจดั การงาน 4 ดา น
3. ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ดานคุณภาพการดำเนินงานตาม
นโยบายและจดุ เนน ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑
4. ผลการประเมินความพึงพอใจของโรงเรยี นตอการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ
การศกึ ษา ของเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา

1. ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษาในภาพรวม
การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา สถานศึกษาในสงั กดั ประจำป 2565

มผี ลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาในภาพรวม ดงั ตารางตอไปน้ี

ตารางที่ 9 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาในภาพรวม ประจำป 2565

ระดับคุณภาพ/จำนวน/รอยละ

ที่ รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช ปรบั ปรงุ

n % n% n %n%n%

๑ คณุ ภาพการบริหาร 102 100 0 0 0 0 0 0 0 0.00
จัดการงาน 4 ดา น

๒ คุณภาพการดำเนินงาน 92 90.20 5 4.90 4 3.92 1 0.98 0 0.00
ตามนโยบายและจุดเนน

รวมเฉลี่ย 95.10 2.45 0.49 0.00

29

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

จากตารางที่ 9 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา โรงเรียนในสังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565 ในภาพรวมพบวา มีจำนวน
โรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติระดับดีมาก คิดเปนรอยละ 95.20 ระดับดี คิดเปนรอยละ 2.45 ระดับปานกลาง
คิดเปน รอยละ 1.96 ระดับพอใช คดิ เปนรอยละ0.49 และไมม โี รงเรียนใดมผี ลการปฏิบตั ใิ นระดับปรบั ปรุง

เม่อื พิจารณาเปน รายดาน พบวา ดานคุณภาพการบรหิ ารจัดการงาน 4 ดา น มีจำนวนโรงเรยี นท่มี ี
ผลการปฏิบตั ิระดับดีมาก 102 โรง คดิ เปน รอ ยละ 100

ดา นคุณภาพการดำเนินงานตามนโยบายและจุดเนนของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
และสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา พบวา มีจำนวนโรงเรยี นทม่ี ีผลการปฏิบตั ริ ะดบั ดมี าก 92 โรง คดิ เปนรอยละ
90.20 ระดับดี 5 โรง คิดเปน รอ ยละ 4.90 ระดับปานกลาง 4 โรง คดิ เปนรอยละ 3.92 ระดับพอใช 1 โรง
คิดเปนรอ ยละ 0.98 และไมม ีโรงเรยี นใดมีผลการปฏบิ ตั ใิ นระดับปรบั ปรุง

2. ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ดา นคุณภาพการบรหิ ารจดั การงาน
4 ดาน

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา ดานคณุ ภาพการบริหารจัดการงาน 4
ดา น ของสถานศึกษา นำเสนอผลการติดตามประกอบดว ย ดานท่ี ๑ ดา นการบรหิ ารทั่วไป ดา นที่ ๒ ดา นการ
บริหารงานบุคคล ดานที่ ๓ ดา นประมาณ ดา นที่ ๔ ดา นวิชาการ ซ่ึงมีผลในภาพรวมและรายดา นดงั ตาราง
ตอ ไปน้ี

ตารางท่ี 10 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา ดา นคุณภาพการบรหิ ารจดั การงาน
4 ดา น

ที่ รายการ ผลการปฏบิ ัติ (ระดับคุณภาพ/จำนวน/รอ ยละ) ปรับปรุง
ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช n%
๑ ดา นการบรหิ ารท่วั ไป n % n % n %n% --
๒ ดา นการบริหารงานบุคคล 101 99.02 1 0.98 - - - - --
๓ ดา นงบประมาณ 102 100 0 0 - - - - --
4 ดา นวชิ าการ 102 100 - - - - - - --
101 99.02 1 0.98 - - - -

จากตารางที่ 10 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ดานคุณภาพการบริหาร
จัดการงาน 4 ดา น ของสถานศกึ ษา พบวา สวนใหญโ รงเรียนมีผลการปฏบิ ัติระดับดีมาก เมอื่ พิจารณาเปนราย
ดาน พบวา

ดานการบริหารทั่วไป มีจำนวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติระดับดีมาก 101 โรง คิดเปนรอยละ
99.02 ระดับดี 1 โรง คิดเปนรอยละ 0.98 และไมมีโรงเรียนใดมีผลการปฏิบัติในระดับระดับปานกลาง
พอใช และปรบั ปรงุ

ดา นการบริหารงานบคุ คล มีจำนวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏบิ ตั ิระดับดีมาก 102 โรง คิดเปน รอ ยละ 100
ดานงบประมาณ มีจำนวนโรงเรยี นท่มี ผี ลการปฏบิ ัตริ ะดบั ดมี าก 102 โรง คิดเปนรอยละ 100
ดานวิชาการ มีจำนวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติระดับดีมาก 101 โรง คิดเปนรอยละ 99.02
ระดบั ดี 1 โรง คิดเปน รอ ยละ 0.98 และไมมโี รงเรียนใดมีผลการปฏิบตั ใิ นระดับปานกลาง พอใช และปรบั ปรุง

30

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

ตารางท่ี 11 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดานคณุ ภาพการบริหารจดั การงาน
4 ดา น : ดานท่ี ๑ ดานการบริหารทว่ั ไป

ผลการปฏิบัติ (ระดบั คุณภาพ/จำนวน/รอ ยละ)

ที่ รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช ปรบั ปรุง
n%
n % n%n% n% --

1 การพฒั นาระบบและ 91 89.22 9 8.82 2 1.96 - - --

เครอื ขายขอมูล --

สารสนเทศ --
--
2 การจัดทำสำมะโน 99 97.06 3 2.94 - - - -
--
นกั เรยี นและการรบั --

นกั เรียน

3 การดูแลอาคารสถานท่ี 100 98.04 2 1.96 - - - -

ระบบสาธารณปู โภค

และสภาพแวดลอม

4 การพัฒนามาตรฐาน 91 89.22 8 7.84 3 2.94 - -

การปฏิบตั งิ าน

5 การจดั วางระบบ 94 92.16 8 7.84 - - - -

การควบคุมภายใน

หนว ยงาน

6 การระดมทรัพยากร 94 92.16 8 7.84 - - - -

เพ่อื การศกึ ษา

7 การสรางความสมั พนั ธ 96 94.12 6 5.88 - - - -

ระหวางโรงเรยี นกับ

ชมุ ชนและภาคี

เครือขายทาง

การศกึ ษา

จากตารางท่ี 11 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดานคุณภาพการบรหิ าร
จัดการงาน 4 ดาน : ดานที่ ๑ ดานการบริหารทั่วไป พบวา สวนใหญมีผลการปฏิบัติระดับดีมาก รายการที่
โรงเรียนมีผลการปฏิบัติระดับดีมากจำนวนมากที่สุด คือ การดูแลอาคารสถานท่ี ระบบสาธารณูปโภคและ
สภาพแวดลอม จำนวน 100 โรง คดิ เปนรอยละ 98.04 รองลงมาคอื การจัดทำสำมะโนนักเรียนและการรับ
นักเรียน จำนวน 99 โรง คิดเปนรอยละ 97.06 และการสรางความสมั พันธระหวางโรงเรียนกับชุมชนและ
ภาคีเครือขายทางการศึกษา จำนวน 96 โรง คดิ เปนรอยละ 94.12 ตามลำดบั รายการที่โรงเรียนมีผลการ
ปฏิบัติระดับดีมากจำนวนนอยที่สุดคือ การพัฒนาระบบและเครือขายขอมูลสารสนเทศ และการพัฒนา
มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน จำนวน 91 โรง คดิ เปนรอ ยละ 89.22

31

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

ตารางท่ี 12 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ดานคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การงาน
4 ดา น : ดา นที่ 2 ดานการบริหารงานบุคคล

ผลการปฏบิ ัต(ิ ระดบั คุณภาพ/จำนวน/รอ ยละ)

ท่ี รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช ปรับปรงุ
n%
n % n % n % n% --

1 การวางแผน 99 97.06 3 2.94 - - - - --

อตั รากำลังครแู ละ --

บคุ ลากรทางการ --

ศึกษา

2 การพฒั นา สงเสริม 100 98.04 2 1.96 - - - -

ยกยอ งเชดิ ชูเกยี รติ

ครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษา

3 การเสริมสรา งวนิ ัย 80 78.43 12 11.77 10 9.80 - -

คณุ ธรรม จริยธรรม

และจรรยาบรรณ

วิชาชพี

4 การเสรมิ สรา ง 101 99.02 1 0.98 - - - -

ประสทิ ธิภาพใน

การปฏบิ ัตริ าชการ

จากตารางท่ี 12 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดานคุณภาพการบริหาร
จัดการงาน 4 ดาน : ดานที่ 2 ดานการบรหิ ารงานบุคคล พบวา สวนใหญมีผลการปฏิบัติระดับดีมาก รายการ
ที่โรงเรียนมีผลการปฏิบัติระดับดีมากเปนจำนวนมากที่สุด คือ การเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
ราชการ จำนวน 101 โรง คดิ เปนรอ ยละ 99.02 รองลงมาคือ การพฒั นา สง เสริม ยกยอ งเชิดชูเกยี รตคิ รูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา จำนวน 100 โรง คดิ เปนรอ ยละ 98.04 และการวางแผนอัตรากำลงั ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา จำนวน 99 โรง คิดเปนรอ ยละ 897.06 ตามลำดับ และรายการท่มี ผี ลการปฏบิ ัติระดับดีมาก
เปนจำนวนนอยท่สี ดุ คอื การเสริมสรางวนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี จำนวน 80 โรง คิด
เปน รอ ยละ 78.43

32

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

ตารางท่ี 13 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดานคุณภาพการบริหารจัดการงาน
4 ดา น : ดานที่ 3 ดานงบประมาณ

ผลการปฏิบตั (ิ ระดับคณุ ภาพ/จำนวน/รอยละ)

ท่ี รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช ปรับปรงุ
n%
n % n % n%n% --
--
1 การวางแผนการใช 99 97.06 1 0.98 2 1.96 - -
1 0.98
งบประมาณ
9 8.82
2 การจดั ระบบ 102 100 - - - - - -
--
การบริหารการเงิน

บญั ชี และพัสดุ

3 การควบคุมการใช 85 83.33 14 13.73 2 1.96 - -

งบประมาณอยาง

เปนระบบ

4 การตรวจสอบ 82 80.40 11 10.78 - - - -

ภายในอยา งเปน

ระบบ

5 การตรวจสอบ 93 91.18 9 8.82 - - - -

ตดิ ตาม ประเมินผล

และรายงานผล

การใชเ งนิ และ

ผลการดำเนนิ งาน

จากตารางที่ 13 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดานคณุ ภาพการบริหาร
จัดการงาน 4 ดาน : ดานที่ 3 ดา นงบประมาณ พบวา สว นใหญมีผลการปฏบิ ตั ิระดับดีมาก รายการที่โรงเรียน
มีผลการปฏิบตั ิระดับดมี ากเปนจำนวนมากที่สุด คอื การจัดระบบการบริหารการเงิน บัญชี และพัสดุ จำนวน
102 โรง คิดเปน รอยละ 100 รองลงมาคอื การวางแผนการใชงบประมาณ จำนวน 99 โรง คิดเปนรอยละ
97.06 และการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการใชเงิน จำนวน 93 โรง คิดเปนรอยละ
91.18 ตามลำดบั และผลการดำเนินงานรายการทีม่ ีผลการปฏบิ ตั ริ ะดับดีมากเปน จำนวนนอยท่สี ดุ คือ
การตรวจสอบภายในอยา งเปนระบบ จำนวน 82 โรง คิดเปน รอยละ 80.40

33

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

ตารางที่ 14 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดา นคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการ
งาน 4 ดา น : ดา นท่ี ๔ ดา นวชิ าการ

ผลการปฏิบตั (ิ ระดบั คณุ ภาพ/จำนวน/รอ ยละ)

ท่ี รายการ ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช ปรับปรงุ

n % n % n % n%n%

1 การพฒั นาหลักสตู ร 73 71.57 24 23.53 3 2.94 2 1.96 - -

สถานศกึ ษา

2 การจัดกระบวนการเรยี นรู 101 99.02 1 0.98 - - - - - -

ที่เนน ผเู รยี นเปน สำคัญ

3 การผลติ จัดหา และ 96 94.12 5 4.90 1 0.98 - - - -

พัฒนาสอ่ื เคร่ืองมอื

อุปกรณในการเรยี นรู

4 การวดั ผลและประเมนิ ผล 97 95.10 4 3.92 - - 1 0.98 - -

5 การกำกบั ดูแล ตดิ ตาม 100 98.04 2 1.96 - - - - - -

และตรวจสอบคุณภาพ

การศกึ ษาตามระบบการ

ประกันคุณภาพการศึกษา

6 การวิจัย และนำ 86 84.31 13 12.75 3 2.94 - - - -

ผลการวิจัยไปใชพ ฒั นา

งานวิชาการ

7 การจดั กิจกรรมพัฒนา 100 98.04 1 0.98 1 0.98 - - - -

ผูเรียนและระบบการดแู ล

ชวยเหลอื นักเรียน

8 การยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ 96 94.12 6 5.88 - - - - - -

ทางการเรยี น

9 การประสาน สงเสรมิ 95 93.14 6 5.88 - - - - 1 0.98

การมสี วนรว มในการ

จดั การศึกษา

จากตารางที่ 14 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ดานคุณภาพการ
บริหารจัดการงาน 4 ดาน : ดานที่ ๔ ดานวิชาการ พบวา สวนใหญมีผลการปฏิบัติระดับดีมาก รายการท่ี
โรงเรยี นมผี ลการปฏิบัติระดับดมี ากเปนจำนวนมากทีส่ ุด คอื การจัดกระบวนการเรียนรูที่เนน ผูเรียนเปนสำคญั
จำนวน 101 โรง คิดเปนรอยละ 99.02 รองลงมาคือ การกำกับ ดูแล ติดตามและตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและระบบการดูแล
ชวยเหลือนักเรียน จำนวน 100 โรง คิดเปนรอยละ 98.04 และรายการที่มีผลการปฏิบัตริ ะดับดีมากเปน
จำนวนนอยที่สุดคือ การวิจัย และนำผลการวิจัยไปใชพัฒนางานวิชาการ จำนวน 86 โรง คิดเปนรอยละ
84.31

34

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

3. ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา ดานคุณภาพการดำเนนิ งานตาม
นโยบายและจุดเนน ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน และสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
ประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑

การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา ดา นคณุ ภาพการดำเนนิ งานตามนโยบาย
และจุดเนนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ปทุมธานี เขต ๑ ประกอบดวย การดำเนินงานความปลอดภัยของสถานศึกษา การพัฒนาผูเรียนสูฐาน
สมรรถนะดวยการจัดการเรียนรูรูปแบบ Active Learning การฟนฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู (Learning
Loss Recovery ) การใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรูทุกระดับ การสงเสริมผูเรียน 1 ดนตรี 1 กีฬา 1
อาชพี และการปฏิบตั ิงานท่ีเปน เลศิ ของสถานศึกษา ซงึ่ ปรากฏผลตามตารางตอไปนี้

ตารางท่ี 15 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา ดานคุณภาพการดำเนนิ งานตาม
นโยบายและจุดเนน ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานและสำนกั งานเขต
พ้นื ทีก่ ารศึกษา

ผลการปฏบิ ัติ(ระดบั คณุ ภาพ/จำนวน/รอ ยละ)

ที่ รายการ ดมี าก ปานกลาง ปรับปรงุ

1 การดำเนนิ งานความปลอดภยั ของ n%n%n%
สถานศึกษา
95 93.14 4 3.92 3 2.94
2 การพฒั นาผเู รยี นสูฐานสมรรถนะ
ดวยการจดั การเรียนรรู ูปแบบ 92 90.20 5 4.90 5 4.90
Active Learning
95 93.14 5 4.90 2 1.96
3 การฟน ฟูภาวะถดถอยทางการเรยี นรู 97 95.10 4 3.92 1 0.98
(Learning Loss Recovery ) 90 88.24 3 2.94 9 8.82

4 การใชเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพ่ือ
การเรียนรูทุกระดับ

5 การสงเสรมิ ผเู รียน 1 ดนตรี 1 กฬี า
1 อาชพี

จากตารางที่ 15 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ดานคุณภาพการ
ดำเนินงานตามนโยบายและจุดเนน ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานและสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 ในภาพรวมพบวา สวนใหญอยใู นระดับดมี าก

เม่ือพิจารณาเปน รายดาน พบวา การดำเนินงานความปลอดภยั ของสถานศึกษา มจี ำนวนโรงเรียน
ท่ีมผี ลการปฏิบัตริ ะดับดีมาก 95 โรง คดิ เปนรอ ยละ 93.14 ระดบั ปานกลาง 4 โรง คิดเปนรอยละ 3.92
และระดับปรับปรงุ 3 โรง คดิ เปนรอยละ 2.94

การพัฒนาผูเรียนสูฐานสมรรถนะดวยการจัดการเรียนรูรูปแบบ Active Learning พบวา มีจำนวน
โรงเรยี นทม่ี ผี ลการปฏบิ ัติระดบั ดีมาก 92 โรง คิดเปน รอยละ 90.20 ระดับปานกลาง 5 โรง คดิ เปนรอยละ
4.90 และระดับปรับปรงุ 5 โรง คดิ เปนรอ ยละ 4.90

35

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

การฟนฟภู าวะถดถอยทางการเรียนรู (Learning Loss Recovery )พบวา มจี ำนวนโรงเรียนที่มี
ผลการปฏิบตั ิระดับดีมาก 95 โรง คิดเปนรอ ยละ 93.14 ระดับปานกลาง 5 โรง คิดเปนรอ ยละ4.90 และ
ระดบั ปรบั ปรุง 2 โรง คิดเปนรอยละ 1.96

การใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่ือการเรยี นรูทุกระดับ พบวา มีจำนวนโรงเรียนทีม่ ีผลการปฏิบัตริ ะดบั ดมี าก
97 โรง คดิ เปน รอยละ 95.10 ระดบั ปานกลาง 4 โรง คดิ เปนรอ ยละ 3.92 และระดับปรบั ปรงุ 1 โรง
คดิ เปนรอยละ 0.98

การสง เสริมผเู รียน 1 ดนตรี 1 กฬี า 1 อาชพี พบวา มีจำนวนโรงเรียนท่ีมีผลการปฏบิ ัติระดับดมี าก
90 โรง คิดเปน รอ ยละ 88.24 ระดบั ปานกลาง 3 โรง คดิ เปนรอ ยละ 2.94 และระดบั ปรับปรุง 9 โรง
คิดเปน รอ ยละ 8.82

ตารางที่ 16 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา ดา นคุณภาพการดำเนนิ งานตาม
นโยบายและจุดเนน ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานและสำนกั งานเขต
พ้ืนที่การศกึ ษา จำแนกตามรายการพจิ ารณา

ที่ รายการ ผลการปฏบิ ัติ (จำนวน/รอ ยละ)
ปฏบิ ัติ ไมปฏิบตั ิ
1 การดำเนนิ งานความปลอดภัยของสถานศกึ ษา
1) การจัดทำแผนความปลอดภัยของสถานศกึ ษา n%n%
2) การเสรมิ สรางความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา
3) ภาคีเครอื ขา ยและการมีสวนรวมสรางความปลอดภัยใน 102 100 - -
สถานศึกษา 96 94.12 6 5.88
98 96.08 4 3.92
2 การพฒั นาผูเรยี นสฐู านสมรรถนะดว ยการจดั การเรยี นรรู ูปแบบ
Active Learning 102 100 - -
1) การสรางความรคู วามเขา ใจแกครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 100 98.04 2 1.96
2) การจัดการเรยี นรรู ูปแบบ Active Learning สฐู านสมรรถนะ 95 93.14 7 6.86
3) การวดั และประเมินผล
100 98.04 2 1.96
3 การฟนฟภู าวะถดถอยทางการเรยี นรู (Learning Loss 97 95.10 5 4.90
Recovery ) 92 90.20 10 9.80
1) การจดั ทำขอมลู และวางแผนการฟน ฟูภาวะถดถอย
ทางการเรยี นรใู นสถานศึกษา
2) รปู แบบและการดำเนินการฟน ฟภู าวะถดถอยทาง
การเรียนรู
3) การติดตาม ปรบั ปรงุ และผลสะทอนกลบั

36

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

ผลการปฏบิ ตั ิ (จำนวน/รอ ยละ)

ท่ี รายการ ปฏบิ ัติ ไมปฏิบตั ิ

n% n %

4 การใชเ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพ่ือการเรียนรทู ุกระดับ

1) การพัฒนาความรแู ละทักษะการใชด จิ ิทัลเพ่ือการเรียนรูแก 101 99.02 1 0.98

ครูและบุคลากรทางการศึกษา

2) การจัดการเรยี นรูและสง เสริมการเรียนรูด วยเทคโนโลยี 102 100 - -

ดิจทิ ัล

3) การพัฒนาส่ือ/นวัตกรรมการเรยี นรดู วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั 97 95.10 5 4.90

5 การสง เสริมผเู รยี น 1 ดนตรี 1 กีฬา 1 อาชีพ

1) การดำเนนิ งานสงเสริมผเู รียนดานดนตรี 94 92.16 8 7.84

2) การดำเนนิ งานสง เสรมิ ผูเรียนดา นกีฬา 93 91.18 9 8.82

3) การดำเนินงานสงเสรมิ ผเู รียนดา นอาชพี 94 92.16 8 7.84

จากตารางที่ 16 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ดานคุณภาพการ
ดำเนินงานตามนโยบายและจุดเนน ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐานและสำนักงานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษา จำแนกตามรายการพิจารณา พบวา สวนใหญโรงเรยี นปฏิบตั ิตามนโยบายและจุดเนน เม่ือพิจารณา
เปน รายดาน พบวา การดำเนนิ งานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา รายการทโ่ี รงเรียนปฏบิ ัตมิ ากท่ีสุด คอื
การจัดทำแผนความปลอดภัยของสถานศึกษา จำนวน 102 คิดเปนรอยละ 100 และรายการที่ปฏิบตั ินอย
ทีส่ ดุ คือ การเสริมสรางความปลอดภัยในสถานศกึ ษา จำนวน 96 โรง คิดเปน รอยละ 94.12

การพัฒนาผูเรยี นสฐู านสมรรถนะดวยการจดั การเรยี นรูร ปู แบบ Active Learning พบวา รายการ
ท่ีโรงเรยี นปฏิบัตมิ ากทสี่ ดุ คือ การสรา งความรคู วามเขาใจแกครูและบุคลากรทางการศกึ ษา จำนวน 102 โรง
คดิ เปนรอยละ 100 และรายการทปี่ ฏบิ ัตนิ อ ยที่สดุ คือ การวัดและประเมนิ ผล จำนวน 95 โรง คดิ เปน รอยละ
93.14

การฟนฟภู าวะถดถอยทางการเรยี นรู (Learning Loss Recovery) พบวารายการท่ีโรงเรียนปฏิบัติ
มากที่สุด คือ การจัดทำขอมูลและวางแผนการฟนฟูภาวะถดถอยทางการเรยี นรใู นสถานศึกษา จำนวน 100
โรง คิดเปนรอยละ 98.04 และรายการที่ปฏิบัตินอยที่สุด คือ การติดตาม ปรับปรุง และผลสะทอนกลับ
จำนวน 92 โรง คิดเปนรอ ยละ 90.20

การใชเ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพอื่ การเรียนรูทกุ ระดับ พบวา รายการทีโ่ รงเรียนปฏิบตั มิ ากท่สี ุด คอื
การจัดการเรียนรูและสงเสริมการเรียนรูดวยเทคโนโลยีดิจิทัล จำนวน 102 โรง คิดเปนรอยละ 100 และ
รายการทีป่ ฏบิ ตั นิ อ ยท่ีสดุ คอื การพัฒนาสอื่ /นวัตกรรมการเรียนรดู ว ยเทคโนโลยีดิจิทัล จำนวน 97 โรง
คดิ เปนรอยละ 95.10

การสงเสริมผเู รียน 1 ดนตรี 1 กีฬา 1 อาชีพ พบวา รายการทีโ่ รงเรยี นปฏิบัตมิ ากทส่ี ดุ คอื
การดำเนินงานสง เสริมผเู รยี นดานดนตรี และ การดำเนินงานสงเสริมผูเรยี นดา นอาชีพ จำนวน 94 โรง คิดเปน
รอยละ 92.16 และรายการท่ีปฏบิ ตั นิ อ ยท่สี ดุ คอื การดำเนนิ งานสง เสริมผูเรียนดา นกีฬา จำนวน 93 โรง
คดิ เปนรอยละ 91.18

37

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

ตารางท่ี 17 ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดา นคุณภาพการปฏบิ ตั งิ านที่
เปน เลศิ ของสถานศกึ ษา

ท่ี รายการ ผลการปฏิบัติ(ระดับคณุ ภาพ/จำนวน/รอยละ) ปรับปรงุ
ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช n%
1 การปฏบิ ัติงานทีเ่ ปนเลิศ n % n % n % n% 4 3.92
ของสถานศกึ ษา 94 92.16 3 2.94 - - 1 0.98

การปฏิบัติงานท่เี ปนเลศิ ของสถานศึกษา พบวา มีจำนวนโรงเรยี นทมี่ ีผลการปฏิบัตริ ะดบั ดีมาก 94
โรง คิดเปนรอยละ 92.16 ระดับดี 3 โรง คิดเปนรอยละ 2.94 ระดับพอใช 1 โรง คิดเปนรอยละ 0.98
และระดบั ปรับปรุง 4 โรง คิดเปนรอ ยละ 3.92

ตารางท่ี 18 ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา ดานคณุ ภาพการปฏบิ ตั งิ านที่
เปนเลศิ ของสถานศึกษา จำแนกตามรายการพจิ ารณา

ท่ี รายการ ผลการปฏิบัติ (จำนวน/รอยละ)
ปฏิบัติ ไมป ฏิบัติ
1 ความเปนมา สภาพปญ หา และแนวทางแกป ญ หา n% n %
2 จดุ ประสงคแ ละเปาหมายของการดำเนนิ งาน 98 96.08 4 3.92
3 กระบวนการ หรือข้นั ตอนการดำเนินงาน 97 95.10 5 4.90
4 ผลการดำเนนิ งาน 97 95.10 5 4.90
5 ปจ จัยความสำเร็จ 97 95.10 5 4.90
6 บทเรียนทีไ่ ดร ับ 94 92.16 8 7.84
7 การเผยแพรและการไดร บั การยอมรบั 92 90.20 10 9.80
76 74.51 26 25.49

การปฏิบตั ิงานที่เปน เลิศของสถานศึกษา พบวารายการท่ีโรงเรียนปฏิบัติมากที่สุด คือ ความเปนมา
สภาพปญหา และแนวทางแกปญหา จำนวน 98 โรง คดิ เปน รอยละ 100 และรายการทปี่ ฏิบตั ินอยท่ีสุด คือ
การเผยแพรแ ละการไดรับการยอมรบั จำนวน 76 โรง คดิ เปนรอ ยละ 74.51

38

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศกึ ษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565

บทที่ 5
สรปุ ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ ประจำป 2565

การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
ปทุมธานี เขต ๑ ประจำป 2565 ไดท ำการติดตาม ตรวจสอบการติดตามการบริหารจัดการศกึ ษาของโรงเรียน
ในสังกัด จำนวน 102 โรง โดยใชเครือ่ งมือเก็บรวบรวมขอ มูล คือ แบบตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ
นิเทศการศึกษา ใน 2 ดาน คือ คุณภาพการบริหารจัดการงาน 4 ดาน และคุณภาพการบริหารงานตาม
นโยบายและจุดเนนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐานและสำนักงานเขตพนื้ ท่ี ซง่ึ มีผลสรุปและ
ขอ เสนอแนะ ดังน้ี

สรปุ ผล
1. สรปุ ผลการการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาในภาพรวม
ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565 ดานคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การงาน 4 ดา น และดา น
คุณภาพการบรหิ ารงานตามนโยบายและจุดเนนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและสำนักงาน
เขตพ้ืนท่ี ในภาพรวม พบวา โรงเรียนมผี ลการปฏิบัติระดับดีมากทั้ง 2 ดาน คิดเปนรอ ยละ 95.20 ระดับดี
คิดเปนรอยละ 2.45 ระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 1.96 ระดับพอใช คิดเปนรอยละ 0.49 และไมมี
โรงเรียนใดมีผลการปฏบิ ัตใิ นระดับปรับปรงุ

2. สรุปผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา ดานคุณภาพการบรหิ ารจัดการงาน
4 ดาน

ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ดานคุณภาพการบริหารจัดการงาน 4 ดาน
พบวา สวนใหญโ รงเรยี นมผี ลการปฏบิ ตั ิระดบั ดีมาก เมื่อพจิ ารณาเปน รายดา น พบวา ดา นการบริหารทวั่ ไป
มีจำนวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติระดับดีมาก คิดเปนรอยละ 99.02 ดานการบริหารงานบุคคล และดาน
งบประมาณ มีจำนวนโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติระดับดีมาก คิดเปนรอยละ 100 และดานวิชาการ มีจำนวน
โรงเรียนทมี่ ผี ลการปฏบิ ตั ริ ะดบั ดีมาก คดิ เปนรอยละ 99.02 และไมมีโรงเรยี นใดมีผลการปฏิบัตใิ นระดบั
ปานกลาง ระดับพอใช และระดับปรบั ปรุง

3. สรุปผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ดา นคุณภาพการดำเนนิ งาน
ตามนโยบายและจดุ เนน ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน และสำนักงานเขตพ้นื ที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑

ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ดานคุณภาพการดำเนินงานตามนโยบาย
และจดุ เนนของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษา
ปทุมธานี เขต ๑ ในภาพรวมพบวา สว นใหญอ ยใู นระดบั ดีมาก เม่ือพจิ ารณาเปนรายดาน พบวา

การดำเนินงานความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา มจี ำนวนโรงเรียนท่ีมผี ลการปฏบิ ัติระดับดมี าก
คิดเปนรอ ยละ 93.14 ระดบั ปานกลาง คิดเปน รอ ยละ 3.92 และระดบั ปรับปรุง คิดเปน รอ ยละ 2.94 ท้ังนี้
รายการพิจารณาที่โรงเรียนปฏบิ ัตมิ ากที่สุด คือ การจัดทำแผนความปลอดภัยของสถานศึกษา คดิ เปนรอยละ
100 และรายการที่ปฏิบตั ินอยทีส่ ดุ คือ การเสริมสรา งความปลอดภัยในสถานศกึ ษา คดิ เปนรอ ยละ 94.12

39

รายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

การพัฒนาผูเรียนสูฐานสมรรถนะดวยการจัดการเรียนรูร ูปแบบ Active Learning พบวา มีจำนวน
โรงเรียนทีม่ ผี ลการปฏิบตั ริ ะดบั ดมี าก คดิ เปนรอยละ 90.20 ระดับปานกลาง คดิ เปน รอ ยละ 4.90 และระดบั
ปรบั ปรงุ คิดเปนรอยละ 4.90 ทั้งน้ีรายการพิจารณาที่โรงเรียนปฏิบตั ิมากที่สดุ คอื การสรางความรคู วามเขา ใจ
แกครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา คิดเปนรอยละ 100 และรายการที่ปฏบิ ตั นิ อยทส่ี ดุ คือ การวดั และประเมินผล
คิดเปนรอ ยละ 93.14

การฟนฟภู าวะถดถอยทางการเรยี นรู (Learning Loss Recovery) พบวา มจี ำนวนโรงเรียนทม่ี ี
ผลการปฏิบัติระดับดีมาก คิดเปนรอยละ 93.14 ระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 4.90 และระดับปรบั ปรุง
คิดเปน รอ ยละ 1.96 ทง้ั น้ีรายการพิจารณาทโี่ รงเรียนปฏบิ ัตมิ ากทีส่ ุด คอื การจัดทำขอ มลู และวางแผน
การฟนฟภู าวะถดถอยทางการเรียนรใู นสถานศึกษา คดิ เปน รอ ยละ 98.04 และรายการที่ปฏบิ ัตินอ ยที่สุด คอื
การติดตาม ปรับปรงุ และผลสะทอ นกลับ คดิ เปนรอ ยละ 90.20

การใชเทคโนโลยดี ิจิทัลเพือ่ การเรียนรูทุกระดับพบวา มจี ำนวนโรงเรยี นท่ีมีผลการปฏิบตั ิระดบั ดีมาก
คิดเปนรอ ยละ 95.10 ระดับปานกลาง คิดเปนรอ ยละ 3.92 และระดับปรบั ปรงุ คิดเปนรอ ยละ 0.98 ทั้งนี้
รายการพิจารณาทีโ่ รงเรียนปฏิบัติมากที่สดุ คอื การจัดการเรียนรูและสงเสรมิ การเรียนรูดว ยเทคโนโลยดี ิจิทัล
คิดเปนรอยละ 100 และรายการที่ปฏิบัตินอยที่สุด คือ การพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมการเรียนรูดวยเทคโนโลยี
ดิจทิ ัล คดิ เปนรอ ยละ 95.10

การสงเสริมผูเ รียน 1 ดนตรี 1 กีฬา 1 อาชพี พบวา มีจำนวนโรงเรยี นทีม่ ีผลการปฏิบัติระดับดีมาก
คิดเปนรอยละ 88.24 ระดับปานกลาง คิดเปน รอยละ 2.94 และระดับปรับปรุง คิดเปนรอยละ 8.82 ทั้งน้ี
รายการพิจารณาที่โรงเรียนปฏิบัติมากที่สุด คือ การดำเนินงานสง เสรมิ ผูเ รียนดานดนตรี และการดำเนินงาน
สงเสริมผูเรียนดานอาชีพ คิดเปนรอยละ 92.16 และรายการที่ปฏิบัตินอยที่สุด คือ การดำเนินงานสงเสริม
ผูเ รียนดา นกีฬา คดิ เปน รอ ยละ 91.18

การปฏิบตั งิ านทเ่ี ปนเลิศของสถานศึกษา พบวา มีจำนวนโรงเรียนท่มี ีผลการปฏบิ ัติระดบั ดีมาก 94 โรง
คิดเปนรอยละ 92.16 ระดับดี 3 โรง คิดเปนรอยละ 2.94 ระดับพอใช 1 โรง คิดเปนรอยละ 0.98 และ
ระดับปรับปรงุ 4 โรง คิดเปนรอยละ 3.92 ทั้งน้ีรายการพิจารณาที่โรงเรียนปฏิบัติมากที่สุด คอื ความเปนมา
สภาพปญหา และแนวทางแกป ญหา คดิ เปนรอยละ 100 และรายการท่ีปฏิบัตินอยที่สุด คือ การเผยแพรและ
การไดรับการยอมรับ คดิ เปน รอ ยละ 74.51

ขอเสนอแนะ

จากผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ประจำป 2565 สามารถนำมาใชเปนขอมูลในการวางแผนพฒั นาคุณภาพการ
บรหิ ารงานทงั้ ในระดบั สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาและระดบั โรงเรยี น ดงั นี้

1. ดา นการบริหารจัดการงาน 4 ดาน ผูที่เกี่ยวของควรเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการ
ปฏบิ ตั ิงานตางในโรงเรียน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการปฏิบัตงิ านใหส มบูรณ ครบถว น ในเรือ่ งตอ ไปนี้

1.1 ดานการบริหารทั่วไป ไดแก การใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
ขอ มลู สารสนเทศภายในสถานศึกษา และเชอ่ื มโยงกับภายนอกสถานศกึ ษา และการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน
4 ดาน รวมถงึ การพัฒนาระบบการประเมินมาตรฐานการปฏิบตั ิงานในสถานศกึ ษา

1.2 ดานการบรหิ ารงานบุคคล ไดแก การใหความรแู ละการเสริมสรา งวินยั คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ใหแ กครแู ละบุคลากรในสถานศกึ ษา

40

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

1.3 ดา นงบประมาณ ไดแก การตรวจสอบภายในอยางเปนระบบ และการจัดทำแผนการ
ตรวจสอบ ตดิ ตามการเบกิ จายงบประมาณตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำป

1.4 ดา นวิชาการ ไดแก การพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา และ การศกึ ษาวิจัยเกยี่ วกับ
การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา การประเมินผลการใชหลักสูตร และการปรับปรุงพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา

2. การดำเนนิ งานตามนโยบายและจุดเนน ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
และสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา

ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ควรเสริมสรางความเขา ใจที่ชัดเจน เกี่ยวกับนโยบายและจุดเนน
ตางๆ ทั้งดานความรู วิธีการ และแนวทางการนำสูการปฏิบัติใหสำเร็จในโรงเรียน เพื่อใหโรงเรียนสามารถ
ดำเนินงานไดบรรลุตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กำหนด เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนนโยบายและจุดเนน
ของหนว ยงานตน สงั กัดในทกุ ป

ระดับสถานศึกษา ควรศึกษาและวางแผนการดำเนินงาน กำหนดใหมีผูรับผิดชอบชัดเจน
และควรบรู ณาการกับหนวยงานทีเ่ กยี่ วของ เพื่อสรา งศักยภาพในการทำงาน และใหเห็นผลลัพธที่เกิดขึ้นอยาง
เปนรูปธรรม

41

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา สพป.ปทุมธานี เขต 1 ประจำป 2565

ภาคผนวก

43

รายงานผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศกึ ษา สพป.ปทมุ ธานี เขต 1 ประจำป 2565