นามปากกาของรัชกาลที่6ทั้งหมด

คุณวิลาศ  เคยทำงานเป็นบรรณาธิการอยู่ที่หนังสือ ชาวกรุง คู่กับคุณรัตนะ  ยาวะประภาษ   โดยท่านรับหน้าที่เขียนบทความในคอลัมน์  ญี่ปุ่นพูด   จากนั้น ๑ ปี  ท่านก็ไปอเมริกา  แต่ก็ยังได้เขียนบทความมาลงในสยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ให้คุณประมูล  อุณหธูปลงและได้พิมพ์เป็นเล่มภายหลัง  ในชื่อ การเมืองเรื่องสนุก

พระนามแฝงของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ตั้งกระทู้ใหม่

ตั้งกระทู้ใหม่



พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งพระนามแฝงมากกว่า 100 พระนาม พระราชประสงค์ในการทรงใช้พระนามแฝงนั้น มิใช่เพื่อการปกปิดแต่ประการใด เพราะพระนามแฝงเป็นจำนวนมากเป็นที่ทราบกันดีว่าเป็นของผู้ใด

พระนามแฝงภาษาไทย สำหรับบทละครทรงใช้ พระขรรค์เพชร ศรีอยุธยา นายกท.ป.ส.(ทวีปัญญาสโมสร) ไก่เขียว เจ้าเงอะ(2พระนามแฝงหลังใช้สำหรับละครร้องสลับพูด)

ส่วนบทละครภาษาอังกฤษที่ทรงแปลจากบทละครภาษาไทยของพระองค์ ทรงใช้พระนามแฝงว่า Sri Ayudhya, Sri Ayoothya, Phra Khan Bejra


พระนามแฝงที่ทรงใช้สำหรับบทความได้แก่ อัศวพาหุ Asvabhahu รามวชิราวุธป.ร.รามวชิราวุธ รามพันธ์ รามจิต รามสูร ราม ร. ราม ณ กรุงเทพ วชิราวุธ วชิราวุธโธ วชิราวุธป.ร. ว.ป.ร. มงกุฎเกล้า ม.ว. ม.ว.ร. ว.ร. ร.ร.
M.V. V. V.R.

รามจิตติ เป็นพระนามแฝงที่ทรงใช้เมื่อทรงพระราชนิพนธ์นิทานเรื่องยาวที่ทรงแปลจากภาษาอังกฤษ บางครั้งทรงใช้ย่อว่า ร.จ.

พันแหลม เป็นพระนามแฝงสำหรับเรื่องเกี่ยวกับทหารเรือ และสุครีพ ทรงใช้สำหรับนิทานเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับทหารเรือ

พระนามแฝงที่มักทรงใช้ในหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิตได้แก่ จุลสมิต มหาสมิต วรสมิต วิริยสมิต วิภาสสมิต วรรณะสมิต และโสตสมิต

นอกจากนี้ยังทรงมีพระนามแฝงอื่น ๆ เช่น คอแดง คอยุโรป น.พ.ส. ความเห็นเอกชน ไทยอีกคนหนึ่ง ไทยศรีวิลัย นักเรียนเก่า นักเรียนคนหนึ่ง น.ภ. เนติบัณฑิตไทยผู้หนึ่ง น.ร. พรานบุญ พาลี พันตา ศ.ธนญชัย ศารทูล เสือเหลือง สภานายก อุบาสก เอกชน ศรีธนญชัย สารจิตต์ สุริยงส่องฟ้า โสต หัตถชัย หนานแก้วเมืองบูรณ์ อัญชัญ Khon Thai Sri Dhanya และ Oxonian

นามปากกาของรัชกาลที่6ทั้งหมด

mootunsaki

30 ม.ค. 51 เวลา 20:53 น.

9

like

3,546

views

Facebook Twitter

รายชื่อผู้ถูกใจกระทู้นี้ คน

ยกเลิก

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้งพระนามแฝง มากกว่า 100 พระนาม พระราชประสงค์ในการทรงใช้พระนามแฝงนั้น มิใช่เพื่อการปกปิดแต่ประการใด เพราะพระนามแฝงเป็นจำนวนมากเป็นที่ทราบกันดีว่าเป็นของผู้ใด


พระนามแฝงภาษาไทย สำหรับบทละครทรงใช้ พระขรรค์เพชร ศรีอยุธยา นายกท.ป.ส.(ทวีปัญญาสโมสร) ไก่เขียว เจ้าเงอะ (2พระนามแฝงหลังใช้สำหรับละครร้องสลับพูด)

ส่วนบทละครภาษาอังกฤษที่ทรงแปลจากบทละครภาษาไทยของพระองค์ ทรงใช้พระนามแฝงว่า Sri Ayudhya, Sri Ayoothya, Phra Khan Bejra

พระนามแฝงที่ทรงใช้สำหรับบทความ ได้แก่  อัศวพาหุ Asvabhahu รามวชิราวุธป.ร.รามวชิราวุธ รามพันธ์ รามจิต รามสูร ราม ร. ราม ณ กรุงเทพ วชิราวุธ วชิราวุธโธ วชิราวุธป.ร. ว.ป.ร. มงกุฎเกล้า ม.ว. ม.ว.ร. ว.ร. ร.ร. M.V. V. V.R.

รามจิตติ เป็นพระนามแฝงที่ทรงใช้เมื่อทรงพระราชนิพนธ์นิทานเรื่องยาวที่ทรงแปลจากภาษาอังกฤษ บางครั้งทรงใช้ย่อว่า ร.จ.

พันแหลม เป็นพระนามแฝงสำหรับเรื่องเกี่ยวกับทหารเรือ และสุครีพ ทรงใช้สำหรับนิทานเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับทหารเรือ

พระนามแฝงที่มักทรงใช้ในหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิตได้แก่ จุลสมิต มหาสมิต วรสมิต วิริยสมิต วิภาสสมิต วรรณะสมิต และโสตสมิต

นอกจากนี้ยังทรงมีพระนามแฝงอื่น ๆ เช่น คอแดง คอยุโรป น.พ.ส. ความเห็นเอกชน ไทยอีกคนหนึ่ง ไทยศรีวิลัย นักเรียนเก่า นักเรียนคนหนึ่ง น.ภ. เนติบัณฑิตไทยผู้หนึ่ง น.ร. พรานบุญ พาลี พันตา ศ.ธนญชัย ศารทูล เสือเหลือง สภานายก อุบาสก เอกชน ศรีธนญชัย สารจิตต์ สุริยงส่องฟ้า โสต หัตถชัย หนานแก้วเมืองบูรณ์ อัญชัญ Khon Thai Sri Dhanya และ Oxonian

ผลงานของรัชกาลที่ 6 มีอะไรบ้าง

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ไว้หลายด้าน อาทิ ประเภทวรรณคดี - พระนลคำหลวง นารายณ์สิบปาง ศกุนตลา มัทนะพาธา ฯลฯ ประเภทบทละคร - หัวใจนักรบ พระร่วง โรมิโอและจูเลียต ตามใจท่าน เวนิชวาณิช ฯลฯ ประเภทธรรมะ - เทศนาเสือป่า พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร พระบรมราโชวาทในงานวิสาขบูชา ฯลฯ

รัชกาลที่ 6 ใช้นามปากกาอัศวพาหุในงานเขียนประเภทใด

17 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เวลา 19:53 น. "เมืองไทยจงตื่นเถิด" และ "ลัทธิเอาอย่าง" เป็นบทพระราชนิพนธ์ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ขึ้น โดยใช้นามแฝงว่า "อัศวพาหุ" เพื่อปลุกใจคนไทยให้สำนึกในภัยของชนต่างชาติในประเทศไทย และให้ คนไทยพยายามปรับตัวเพื่อให้ประเทศพึ่งตัวเองและเลี้ยงตัวเองได้

รัชกาลที่ ๖ ทรงใช้พระนามแฝงใดในการแต่งเรื่องมัทนพาธา

สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราวุธ arrow_back.

อัศวพาหุ นามแฝงของใคร

ส่วนชื่อ “อัศวพาหุ” นั้นเป็นนามปากกาของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้แสดงความคิดเห็น ซึ่งตีพิมพ์ใน สมุทสาร ฉบับปีที่ 2 ฉบับที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2485 ของราชนาวีสมาคมแห่งกรุงสยาม ในประเด็นต่างๆ คือ