เขียนอีเมลแนะนําตัว ภาษาไทย

ไม่ว่าบริษัทไหน ๆ จะไทยหรือต่างชาติ การส่งอีเมล์สมัครงานในรูปแบบของภาษาอังกฤษก็ดูจะเป็นเรื่องพื้นฐานที่เราต้องเจออยู่เสมอ ส่วนหนึ่งก็เพื่อดูว่าผู้สมัครสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้เหมาะสมมากน้อยแค่ไหน

แต่สำหรับใครที่ยังใช้ภาษาอังกฤษไม่คล่อง และไม่มั่นใจเวลาที่ต้องเขียนอีเมล์แบบทางการ โพสต์นี้ Globish มี How To แบบง่าย ๆ สำหรับการเขียนอีเมลสมัครงานภาษาอังกฤษ แบบที่เพื่อน ๆ วัยทำงานจะไม่เสี่ยงโดน HR ปัดตกตั้งแต่รอบแรก มาฝากกันค่ะ

ถ้าอยากเก่งอังกฤษยิ่งขึ้นไปอีก สามารถดูวิธีการพัฒนาภาษาได้ที่ คลิก

เขียนอีเมลแนะนําตัว ภาษาไทย

1) ระบุชื่ออีเมล์ให้ชัดเจน ให้รู้ว่าส่งมาเพื่อสมัครงาน

เช่น Apply for (ชื่อตำแหน่ง) Position - (ชื่อ-นามสกุล)

หรือ Job Application: (ชื่อตำแหน่ง) - (ชื่อผู้สมัคร)

2) ใส่ชื่อผู้รับ ตำแหน่ง และบริษัทให้ถูกต้อง

เช่น Mr./Mrs./Ms. (ชื่อ-นามสกุล)
Human Resources Manager
XYZ Company

3) เปิดประโยคให้สุภาพ (Dear Mr. / Mrs. / Ms. (ชื่อผู้รับ)

อย่าใช้ Hello / Hi หรือ Good Morning

4) เขียนแนะนำตัวคร่าว ๆ ให้ดูน่าสนใจ

เช่น
เหตุผลที่สมัครตำแหน่งนี้, คุณสมบัติตัวเองแบบสั้น ๆ เช่น I am writing to apply for the (ชื่อตำแหน่ง) position advertised in the JobsDB. The opportunity presented in this job description is very interesting, and I believe that my experience and my educational background will make me a very competitive candidate for this position.

5) ก่อนจบอีเมล อย่าลืมบอกช่องทางการติดต่อกลับ

เช่น I can be reached anytime via email at [email protected] or my cell phone, 099-123-4567.

6) ลงชื่อจบให้เหมาะสม เช่น Best regards, หรือ Yours sincerely,

(ไม่ควรใช้ Thank you)
จากนั้นลงท้ายด้วยชื่อ-นามสกุลของคุณ
เช่น Best regards,
(ชื่อ-นามสกุล)⠀
ใช้ชื่ออีเมล์ที่เป็นทางการ (อาจเป็นชื่อตัวคุณเอง)
เพื่อเพิ่มความเป็นมืออาชีพ จะได้ไม่เสี่ยงโดนปัดตก!

เรียนภาษาอังกฤษเพิ่มความโปร พูดโฟลว์ได้อย่างมั่นใจ ได้ที่ Globish คอร์สเรียนภาษาอังกฤษที่ดีที่สุดสำหรับวัยทำงาน พิสูจน์แล้วจากผู้เรียนกว่า 10,000 คน ว่าพูดได้จริง ไม่ใช่แค่ท่องจำ

การเขียนจดหมาย หรือหนังสือแนะนำตัว เพื่อยื่นสมัครเรียน หรือสมัครงาน เป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่จะทำให้มหาลัย และบริษัท สนใจในตัวคุณ ตั้งแต่ยังไม่ได้สัมภาษณ์คุณ อีกทั้งยังสามารถสร้างความประทับใจให้กับมหาลัย และบริษัทได้อีกด้วย ดังนั้น ในบทความนี้เราจึงจะมาแนะนำหลักการเขียนจดหมาย หรือหนังสือแนะนำตัว ภาษาไทย เพื่อยื่นสมัครเรียน หรือสมัครงานที่ถูกต้องมาให้เพื่อน ๆ นำไปใช้กันค่ะ

เขียนอีเมลแนะนําตัว ภาษาไทย

แนะนำหลักการเขียนจดหมาย หรือหนังสือแนะนำตัว ภาษาไทย

จดหมายแนะนำ หรือจดหมายสมัครงาน เป็นสิ่งที่จะแนะนำให้แผนกบุคคลพิจารณา ถึงคุณสมบัติของบุคคลนั้น ๆ ว่ามีความเหมาะสมกับตำแหน่งงานในบริษัทมากน้อยเพียงไร ดังนั้น จดหมายแนะนำจึงต้องกระทัดรัด ชัดเจน และสามารถกระตุ้นความสนใจจากผู้อ่านให้ได้

ความยาวของจดหมายแนะนำตัว ควรจะมีความยาวประมาณ 400-600 ตัวอักษร แบ่งเป็น 4-5 ย่อหน้า ขนาดกระดาษ A4 สำหรับการสมัครเข้าเรียนต่อในระดับสูงกว่าปริญญาตรี และปริญญาโทนั้น จดหมายแนะนำตัวจะมีความยาวอยู่ที่ประมาณ 1,500 ตัวอักษร แต่ทั้งนี้ควรศึกษาให้ดีว่าแต่ละมหาวิทยาลัยนั้นกำหนดความยาวของจดหมายแนะนำตัวไว้อย่างไร โดยสามารถเข้าไปเช็คในเว็บไซต์ของแต่ละมหาวิทยาลัยได้

อ่านเพิ่ม  กรุ๊ปเลือดไหน ควรกินอะไร ถึงจะดีต่อสุขภาพ ?

ข้อแนะนำเพิ่มเติมสำหรับเขียนจดหมายแนะนำตัว สมัครเรียน

  • ใช้ฟอนต์ Arial หรือ Times New Roman
  • ใช้ฟอนต์ขนาด 11 หรือ 12
  • เขียนโดยแบ่งเป็น 4-5 ย่อหน้า
  • เขียนถึงเหตุผลที่เลือกมหาวิทยาลัยนั้น ๆ
  • ไม่เขียนถึงข้อมูลทางด้านลบ
  • ไม่เขียนข้อความซ้ำกับสิ่งที่เขียนไว้ในเรซูเม่
  • ใช้กระดาษขนาด A4 โดยทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของแต่ละมหาวิทยาลัย

ข้อแนะนำเพิ่มเติมสำหรับเขียนจดหมายแนะนำตัว สมัครงาน

  • พิมพ์ให้สะอาดเรียบร้อยด้วยกระดาษพิมพ์ขนาดสั้น (8×1/2″ x 11″) ทุกครั้ง แต่ถ้าในประกาศรับสมัครระบุให้เขียนด้วยลายมือตนเอง ก็ควรเขียนตัวบรรจง ให้อ่านง่ายสะอาดเรียบร้อย และสวยงาม
  • มีความยาวจำกัดเพียง 1 หน้ากระดาษ
  • ใช้ฟอร์มการเขียนแบบจดดหมายธุรกิจ และต้องปราศจากข้อผิดพลาดใด ๆ ทั้งสิ้น
  • เจาะจงนามบุคคลแทนการกล่าวตำแหน่งหรือผู้เกี่ยวข้อง แต่ถ้าไม่แน่ใจว่าจะสามารถสะกด ชื่อ-นามสกุล ได้อย่างถูกต้อง หรือไม่ทราบแน่ชัดว่าเป็นใครก็ควรจะใช้ “ผู้จัดการฝ่ายบุคคล” หรืออื่น ๆ ที่ประกาศรับสมัครงานระบุไว้
  • ต้องส่งพร้อม RESUME ทุกครั้ง ข้อมูลที่ปรากฏอยู่บนจดหมายแนะนำหรือจดหมายสมัครงานควรที่จะทำให้นายจ้างหรือแผนกบุคคลสนใจและเรียกตัวเข้าสัมภาษณ์ ข้อมูลที่กล่าวนี้อาจแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
    1. คุณเป็นใคร และทำไมคุณจึงเขียนจดหมายส่งไปยังบริษัท
    2. กล่าวถึงความสามารถของคุณที่คาดว่าจะมีคุณค่าต่อบริษัท
    3. กล่าวถึงความสนใจของคุณที่มีต่อบริษัทโดยการพูดถึงสิ่งที่เด่นเป็นเอกลักษณ์ของบริษัท เพื่อแสดงให้เห็นว่าคุณได้สละเวลาศึกษาค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับบริษัท

อ่านเพิ่ม  วิธีทำความสะอาดเครื่องเงินที่ดำ ให้กลับมาสวยเงาวับอีกครั้ง

ตัวอย่างการหนังสือแนะนำตัว 

เขียนอีเมลแนะนําตัว ภาษาไทย

การเขียนจดหมาย หรือหนังสือแนะนำตัว ไม่ว่าจะยื่นสมัครเรียน หรือสมัครงาน สิ่งที่ห้ามลืมก่อนส่ง คือ การตรวจทานการสะกดคำ และเช็คความถูกต้องตามหลักไวยกรณ์ นอกจากนี้ควรส่งจดหมายแนะนำตัว และใบสมัครก่อนเวลา ไม่ควรส่งกระชั้นชิดหรือในวันสุดท้ายของกำหนดการ ทั้งนี้เพื่อเป็นการแสดงความกระตือรือร้น และแสดงถึงสนใจที่อยากจะเรียน หรือทำงานที่นี่จริง ๆ ดังนั้น การเขียนจดหมาย หรือหนังสือแนะนำตัว จึงต้องใส่ใจ และให้ความสำคัญในทุก ๆ รายละเอียดค่ะ

รูปภาพ: https://www.mediabistro.com

  • Facebook iconfacebook
  • Twitter icontwitter
  • LINE iconline

เขียนอีเมลแนะนําตัว ภาษาไทย
ในยุคที่คนตกงานมีให้เห็นทุกวัน!! แนะนำ 3 ขั้นตอนวิธีขึ้นทะเบียน-รายงานตัวว่างงานผ่านเน็ต

เขียนอีเมลแนะนําตัว ภาษาไทย
เช็กกันหน่อย.. ทรงผมสั้นแบบไหนเข้ากับรูปหน้าเรามากที่สุด?

เขียนอีเมลแนะนําตัว ภาษาไทย
ไม้ด่างคืออะไร? ทำความรู้จักกับ 10 ไม้ด่างที่นิยมในปี 2021

เขียนอีเมลแนะนําตัว ภาษาไทย
แนะนำงานออกแบบ ปฏิทินตั้งโต๊ะ 2565 ฟรี สามารถดาวน์โหลดใช้งานได้ทันที

ติดตามเพจ

Follow @DigitalMoreco

การเขียนจดหมาย ยืนสมัครเรียน สมัครงาน หนังสือแนะนำตัว หลักการเขียนจดหมาย

เขียนอีเมลแนะนําตัว ภาษาไทย

Donya Petchyodsri

ดนยา เพชรยอดศรี ชื่อเล่น มาย เป็นหนึ่งในทีมเขียนคอนเทนต์ของเว็บไซต์ digitalmore.co อาชีพหลักเป็นพนักงานประจำ เขียนคอนเทนต์ออนไลน์ ชอบถ่ายรูป ชอบดูอนิเมะ ชอบฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ชอบสีเขียว ชอบน้องหมาน้องแมว มีความสุขได้ง่าย ๆ กับสิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่เกิดขึ้นใน ณ ขณะนั้น