พระมหากษัตริย์พระองค์ใดทรงผนวกอาณาจักรสุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา

สำหรับสุโขทัย ในความหมายอื่น ดูที่สุโขทัย (แก้ความกำกวม)

This page has some issuesอาณาจักรสุโขทัยราชอาณาจักร← 
พ.ศ. 1792–พ.ศ. 2126→

ตราแผ่นดิน

แผนที่อาณาจักรสุโขทัยช่วงพ่อขุนรามคำแหงมหาราช

เมืองหลวงสุโขทัย
พิษณุโลก และ อุตรดิตถ์ส่วนหนึ่งภาษาภาษาไทยรัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบศักดินากษัตริย์ – ผู้ก่อตั้งพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ – สิ้นสุดสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประวัติศาสตร์ – สถาปนาพ.ศ. 1792 – เป็นรัฐร่วมประมุขกับกรุงศรีอยุธยาพ.ศ. 1981 – ถูกผนวกเข้ากับกรุงศรีอยุธยาแล้วสิ้นสุดลงพ.ศ. 2126ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทย

อาณาจักรสุโขทัย หรือ รัฐสุโขทัย(อังกฤษ: Kingdom of Sukhothai) เป็นอาณาจักร หรือรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม เป็นชุมชนโบราณมาตั้งแต่ยุคเหล็กตอนปลาย จนกระทั่งสถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพงซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้สุโขทัยเป็นรัฐอิสระ และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที่สุด
ที่ตั้งและอาณาเขตEdit

อาณาจักรสุโขทัย ตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าผ่านคาบสมุทรระหว่างอ่าวเมาะตะมะและที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง มีอาณาเขตดังนี้[1]

ทิศเหนือ มีเมืองเวียงโกศัย (ปัจจุบันคือแพร่ทิศใต้ มีเมืองพระบาง (ปัจจุบันคือนครสวรรค์ทิศตะวันตก มีเมืองฉอด (ปัจจุบันคือแม่สอด) เป็นเมืองชายแดนที่จะติดต่อเข้าไปยังอาณาจักรมอญทิศตะวันออก ถึงเมืองสะค้าใกล้แม่น้ำโขงในเขตภาคอีสานตอนเหนือการแทรกแซงจากอยุธยา

ประวัติศาสตร์ไทย

ยุคก่อนประวัติศาสตร์บ้านเชียง ประมาณ 2500 ปีก่อน พ.ศ.บ้านเก่า ประมาณ 2000 ปีก่อน พ.ศ.ยุคอาณาจักรสุวรรณภูมิ
ก่อนพุทธศตวรรษที่ 3- พุทธศตวรรษที่ 5โจฬะ
พุทธศตวรรษที่ 2-17สุวรรณโคมคำ
พุทธศตวรรษที่4-5ทวารวดี-นครชัยศรี-ศรีจนาศะ
ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 5-15โยนกนาคพันธุ์
พ.ศ. 638-1088คันธุลี
พ.ศ. 994-1202 เวียงปรึกษา
1090-1181ศรีวิชัย
พ.ศ. 1202-1758 ละโว้
1191 -1470หิรัญเงินยางฯ
1181 – 1805 หริภุญชัย
1206-1835 สงครามสามนคร พ.ศ. 1467-1470 สุพรรณภูมิ
ละโว้
ตามพรลิงค์
ลังกาสุกะ พริบพรี
นครศรีธรรมราช สุโขทัย
1792-1981พะเยา
1190-2011เชียงราย
1805-1835ล้านนา
1835-2101อยุธยา (1)พ.ศ. 1893-2112   สค.ตะเบ็งชเวตี้   สค.ช้างเผือก
  เสียกรุงครั้งที่ 1
   พ.ศ. 2112พิษณุโลก
2106-2112ล้านนาของพม่า
2101-2317
  แคว้นล้านนา
  แคว้นเชียงใหม่กรุงศรีอยุธยา (2)
พ.ศ. 2112-2310เสียกรุงครั้งที่ 2สภาพจลาจลกรุงธนบุรี
พ.ศ. 2310-2325ล้านนาของสยาม
2317-2442
  นครเชียงใหม่

     กรุงรัตนโกสินทร์
พ.ศ. 2325-ปัจจุบัน
  สงครามเก้าทัพ
  อานามสยามยุทธ
  การเสียดินแดน
  มณฑลเทศาภิบาล
  สงครามโลก: ครั้งที่ 1 – ครั้งที่ 2 ยุครัฐประชาชาติประเทศไทย

ที่ตั้งและอาณาเขตEdit

อาณาจักรสุโขทัย ตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าผ่านคาบสมุทรระหว่างอ่าวเมาะตะมะและที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง มีอาณาเขตดังนี้[1]

ทิศเหนือ มีเมืองเวียงโกศัย (ปัจจุบันคือแพร่ทิศใต้ มีเมืองพระบาง (ปัจจุบันคือนครสวรรค์ทิศตะวันตก มีเมืองฉอด (ปัจจุบันคือแม่สอด) เป็นเมืองชายแดนที่จะติดต่อเข้าไปยังอาณาจักรมอญทิศตะวันออก ถึงเมืองสะค้าใกล้แม่น้ำโขงในเขตภาคอีสานตอนเหนือการแทรกแซงจากอยุธยา

ประวัติศาสตร์ไทย

ยุคก่อนประวัติศาสตร์บ้านเชียง ประมาณ 2500 ปีก่อน พ.ศ.บ้านเก่า ประมาณ 2000 ปีก่อน พ.ศ.ยุคอาณาจักรสุวรรณภูมิ
ก่อนพุทธศตวรรษที่ 3- พุทธศตวรรษที่ 5โจฬะ
พุทธศตวรรษที่ 2-17สุวรรณโคมคำ
พุทธศตวรรษที่4-5ทวารวดี-นครชัยศรี-ศรีจนาศะ
ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 5-15โยนกนาคพันธุ์
พ.ศ. 638-1088คันธุลี
พ.ศ. 994-1202 เวียงปรึกษา
1090-1181ศรีวิชัย
พ.ศ. 1202-1758 ละโว้
1191 -1470หิรัญเงินยางฯ
1181 – 1805 หริภุญชัย
1206-1835 สงครามสามนคร พ.ศ. 1467-1470 สุพรรณภูมิ
ละโว้
ตามพรลิงค์
ลังกาสุกะ พริบพรี
นครศรีธรรมราช สุโขทัย
1792-1981พะเยา
1190-2011เชียงราย
1805-1835ล้านนา
1835-2101อยุธยา (1)พ.ศ. 1893-2112   สค.ตะเบ็งชเวตี้   สค.ช้างเผือก
  เสียกรุงครั้งที่ 1
   พ.ศ. 2112พิษณุโลก
2106-2112ล้านนาของพม่า
2101-2317
  แคว้นล้านนา
  แคว้นเชียงใหม่กรุงศรีอยุธยา (2)
พ.ศ. 2112-2310เสียกรุงครั้งที่ 2สภาพจลาจลกรุงธนบุรี
พ.ศ. 2310-2325ล้านนาของสยาม
2317-2442
  นครเชียงใหม่

     กรุงรัตนโกสินทร์
พ.ศ. 2325-ปัจจุบัน
  สงครามเก้าทัพ
  อานามสยามยุทธ
  การเสียดินแดน
  มณฑลเทศาภิบาล
  สงครามโลก: ครั้งที่ 1 – ครั้งที่ 2 ยุครัฐประชาชาติประเทศไทย
  ปฏิวัติ พ.ศ. 2475
  เปลี่ยนแปลงชื่อประเทศ
  พ.ศ. 2475–2516
  พ.ศ. 2516–ปัจจุบันสหรัฐไทยเดิม
พ.ศ. 2485-2489

จัดการ: แม่แบบ • พูดคุย • แก้ไข

หลังจากพ่อขุนรามคำแหงสวรรคตแล้ว เมืองต่างๆเริ่มแข็งเมือง ส่งผลให้ในรัชกาลพญาเลอไท และรัชกาลพญาไสลือไท ต้องส่งกองทัพไปปราบหลายครั้งแต่มักไม่เป็นผลสำเร็จ และการปรากฏตัวขึ้นของอาณาจักรอยุธยาทางตอนใต้ซึ่งกระทบกระเทือนเสถียรภาพของสุโขทัยจนในท้ายที่สุดก็ถูกแทรกแทรงจากอยุธยา จนมีฐานะเป็นหัวเมืองของอยุธยาไปในที่สุด โดยมี พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) เป็นผู้ปกครองสุโขทัยในฐานะรัฐอิสระพระองค์สุดท้าย โดยขณะนั้น ด้วยการแทรกแซงของอยุธยา รัฐสุโขทัยจึงถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ

เมืองสรวงสองแคว (พิษณุโลก) อันเป็นเมืองเอก มีพระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) เป็นผู้ปกครอง

หลังสิ้นรัชกาลพระมหาธรรมราชาที่ 4(บรมบาล) พระยายุทธิษฐิระซึ่งเดิมทีอยู่ศรีสัชนาลัย ได้เข้ามาครองเมืองสองแคว (พิษณุโลก) และเมื่อแรกที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จขึ้นผ่านพิภพ เป็นพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยา ปรากฏว่าขณะนั้น พระยายุทธิษฐิระ เกิดความน้อยเนื้อต่ำใจ ที่ได้เพียงตำแหน่งพระยาสองแคว เนื่องด้วย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเคยดำริไว้สมัยทรงพระเยาว์ว่า หากได้ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ จะชุบเลี้ยงพระยายุทธิษฐิระให้ได้เป็นพระร่วงเจ้าสุโขทัย พ.ศ. 2011พระยายุทธิษฐิระจึงเอาใจออกห่างจากสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ไปขึ้นกับ พระยาติโลกราช กษัตริย์ล้านนาในขณะนั้น เหตุการณ์นี้ส่งผลให้เกิดการเฉลิมพระนามกษัตริย์ล้านนา จากพระยา เป็น พระเจ้า เพื่อให้เสมอศักดิ์ด้วยกรุงศรีอยุธยา พระนามพระยาติโลกราช จึงได้รับการเฉลิมเป็นพระเจ้าติโลกราช

หลังจากที่พระยายุทธิษฐิระ นำสุโขทัยออกจากอยุธยาไปขึ้นกับล้านนา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงเสด็จจากกรุงศรีอยุธยา กลับมาพำนัก ณ เมืองสรลวงสองแคว พร้อมทั้งสร้างกำแพงและค่ายคู ประตู หอรบ แล้วจึงสถาปนาขึ้นเป็นเมือง พระพิษณุโลกสองแคว เป็นราชธานีฝ่ายเหนือของอาณาจักรแทนสุโขทัย ในเวลาเจ็ดปีให้หลัง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงทรงตีเอาสุโขทัยคืนได้ แต่เหตุการณ์ทางเมืองเหนือยังไม่เข้าสู่ภาวะที่น่าไว้วางใจ จึงทรงตัดสินพระทัยพำนักยังนครพระพิษณุโลกสองแควต่อจนสิ้นรัชกาล ส่วนทางอยุธยานั้น ทรงได้สถาปนาสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3พระราชโอรส เป็นพระมหาอุปราช ดูแลอยุธยาและหัวเมืองฝ่ายใต้

ด้วยความที่เป็นคนละประเทศมาก่อน และมีสงครามอยู่ด้วยกัน ชาวบ้านระหว่างสุโขทัยและอยุธยา จึงมิได้ปรองดองเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน จึงต้องแยกปกครอง โดยพระมหากษัตริย์อยุธยา จะทรงสถาปนาพระราชโอรส หรือพระอนุชา หรือพระญาติ อันมีเชื้อสายสุโขทัย ปกครองพิษณุโลกในฐานะราชธานีฝ่ายเหนือ และควบคุมหัวเมืองเหนือทั้งหมด

การสิ้นสุดของของอาณาจักรสุโขทัย

พ.ศ. 2127 หลังจากชนะศึกที่แม่น้ำสะโตงแล้ว พระนเรศวรโปรดให้เทครัวเมืองเหนือทั้งปวง (เมืองพระพิษณุโลกสองแคว เมืองสุโขทัย เมืองพิชัย เมืองสวรรคโลก เมืองกำแพงเพชร เมืองพิจิตร และเมืองพระบาง [2]) ลงมาไว้ที่อยุธยา เพื่อเตรียมรับศึกใหญ่ พิษณุโลกและหัวเมืองเหนือทั้งหมดจึงกลายเป็นเมืองร้าง หลังจากเทครัวไปเมืองใต้ จึงสิ้นสุดการแบ่งแยกระหว่างชาวเมืองเหนือ กับชาวเมืองใต้ และถือเป็นการสิ้นสุดของรัฐสุโขทัยโดยสมบูรณ์ เพราะหลังจากนี้ 8 ปี พิษณุโลกได้ถูกฟื้นฟูอีกครั้ง แต่ถือเป็นเมืองเอกในราชอาณาจักร มิใช่ราชธานีฝ่ายเหนือ

ในด้านวิชาการ มีนักวิชาการหลายท่านได้เสนอเพิ่มว่า เหตุการณ์อีกประการ อันทำให้ต้องเทครัวเมืองเหนือทั้งปวงโดยเฉพาะพิษณุโลกนั้น อยู่ที่เหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ บนรอยเลื่อนวังเจ้า ในราวพุทธศักราช 2127 แผ่นดินไหวครั้งนี้ส่งผลให้ตัวเมืองพิษณุโลกราพณาสูญ แม้แต่แม่น้ำแควน้อย ก็เปลี่ยนเส้นทางไม่ผ่านเมืองพิษณุโลก แต่ไปบรรจบกับแม่น้ำโพ (ปัจจุบันคือแม่น้ำน่าน) ที่เหนือเมืองพิษณุโลกขึ้นไป และยังส่งผลให้พระศรีรัตนมหาธาตุพิษณุโลก หักพังทลายในลักษณะที่บูรณะคืนได้ยาก ในการฟื้นฟูจึงกลายเป็นการสร้างพระปรางค์แบบอยุธยาครอบทับลงไปแทน ทั้งหมด

ความเจริญรุ่งเรืองEdit

ด้านเศรษฐกิจ

สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ดังข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกหลักที่ 1 “…ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงินค้า ทองค้า ” และ “…เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลาในนามีข้าว…” ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยระบบการเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ เช่นสังคมไทยส่วนใหญ่ในชนบทปัจจุบัน และ ส่งออกเครื่องถ้วยชามสังคโลก.

ด้านสังคมและศาสนา

การใช้ชีวิตของผู้คนในสมัยสุโขทัยมีความอิสรเสรี มีเสรีภาพอย่างมากเนื่องจากผู้ปกครองรัฐให้อิสระแก่ไพร่ฟ้า และปกครองผู้ใต้ปกครองแบบพ่อกับลูก ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกว่า “…ด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน…”

ด้านความเชื่อและศาสนา สังคมยุคสุโขทัยประชาชนมีความเชื่อทั้งเรื่องวิญญาณนิยม (Animism) ไสยศาสตร์ ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และพุทธศาสนา ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 ด้านที่ 3 ว่า “…เบื้องหัวนอนเมืองสุโขทัยนี้มีกุฎิวิหารปู่ครูอยู่ มีสรีดพงส์ มีป่าพร้าว ป่าลาง ป่าม่วง ป่าขาม มีน้ำโคก มีพระขระพุงผี เทพยาดาในเขาอันนั้นเป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ขุนผู้ใดถือเมืองสุโขทัยนี้แล้ว ไหว้ดีพลีถูก เมืองนี้เที่ยว เมืองนี้ดี ผิไหว้บ่ดี พลีบ่ถูก ผีในเขาอันนั้นบ่คุ้มบ่เกรง เมืองนี้หาย…”

ส่วนด้านศาสนา ได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์จากนครศรีธรรมราช ในวันพระ จะมีภิกษุเทศนาสั่งสอน ณ ลานธรรมในสวนตาล โดยใช้พระแท่นมนังคศิลาอาสน์เป็นอาสนะสงฆ์ ในการบรรยายธรรมให้ประชาชนฟัง ยังผลให้ประชาชนในยุคนี้นิยมปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม มีการถือศีลโอยทานกันเป็นปกติวิสัย ทำให้สังคมโดยรวมมีความสงบสุขร่มเย็น

ด้านการปกครอง

อาณาจักรสุโขทัยปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ระยะ

1.แบบพ่อปกครองลูก โปรดให้สร้างกระดิ่งแขวนไว้ที่หน้าประตูพระราชวัง เมื่อประชาชนมีเรื่องเดือดร้อนก็ให้ไปสั่นกระดิ่งร้องเรียน พระองค์ก็จะเสด็จมารับเรื่องราวร้องทุกข์ และโปรดให้สร้างพระแท่นมนังคศิลาอาสน์ได้กลางดงตาล ในวันพระจะนิมนต์พระสงฆ์มาเทศน์สั่งสอนประชาชน หากเป็นวันธรรมดาพระองค์จะเสด็จออกให้ประชาชนเข้าเฝ้าและตัดสินคดีความด้วยพระองค์เอง การปกครองแบบนี้ปรากฏในสมัยกรุงสุโขทัยตอนต้น2.แบบธรรมราชา มีกำลังทหารที่ไม่เข้มแข็ง ประกอบกับอาณาจักรอยุธยาที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ได้แผ่อิทธิพลมากขึ้น พระองค์ทรงเกรงภัยอันตรายจะบังเกิดแก่อาณาจักรสุโขทัย หากใช้กำลังทหารเพียงอย่างเดียว พระองค์จึงทรงนำหลักธรรมมาใช้ในการปกครอง โดยพระองค์ทรงเป็น แบบอย่างในด้านการปฏิบัติธรรม ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา นอกจากนั้นพระมหาธรรมราชาที่ ๑ ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมเรื่อง ไตรภูมิพระร่วง ที่ปรากฏแนวคิดแบบธรรมราชาไว้ด้วย การปกครองแบบนี้ใช้ในสมัยกรุงสุโขทัยตอนปลาย ตั้งแต่พระมหาธรรมราชาที่ ๑ – ๔

ด้านการปกครองส่วนย่อยสามารถแยกกล่าวเป็น 2 แนว ดังนี้

ในแนวราบพ่อขุน เป็นชนชั้นผู้ปกครอง อาจเรียกชื่ออย่างอื่น เช่น เจ้าเมือง พระมหาธรรมราชา หากมีโอรสก็จะเรียก “ลูกเจ้า”ลูกขุน เป็นข้าราชบริพาร ข้าราชการที่มีตำแหน่งหน้าที่ช่วงปกครองเมืองหลวงหัวเมืองใหญ่น้อย และภายในราชสำนักเป็นกลุ่มคนที่ใกล้ชิดและได้รับการไว้วางใจจากเจ้าเมืองให้ปฏิบัติหน้าที่บำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ไพร่ฟ้าไพร่หรือสามัญชน ได้แก่ราษฎรทั่วไปที่อยู่ในราชอาณาจักร (ไพร่ฟ้า)ทาส ได้แก่ชนชั้นที่ไม่มีอิสระในการดำรงชีวิตอย่างสามัญชนหรือไพร่ (อย่างไรก็ตามประเด็นทาสนี้ยังคงถกเถียงกันอยู่ว่ามีหรือไม่)

รูปภาพEdit

มณฑปพระอัจนะ วัดศรีชุม แสดงถึงความรุ่งเรืองของอาณาจักรสุโขทัยในยุคแรก ๆ

วัดเขาพระบาทน้อย และพระเจดีย์ (ไม้เครื่องบนบางส่วนหลงเหลืออยู่)

วิหารหลวง (จำลอง) ศิลปะสมัยสุโขทัยในเมืองโบราณ

รายพระนามและรายนามผู้ปกครองEdit

รัฐอิสระลำดับพระนาม/นามตำแหน่งราชวงศ์ช่วงเวลา-พระยาพาลีราชเจ้าเมืองสุโขทัย-พ.ศ. 1043[3]-
ไม่ทราบปี- ตำนานกล่าวว่า พ.ศ. 1043 พระยาพาลีราชแห่งอาณาจักรละโว้เป็นผู้ก่อตั้งเมืองสุโขทัย[4]-พระยาอภัย[5]เจ้าเมืองสุโขทัย-ไม่ทราบปี-พระอรุณกุมาร[6]เจ้าเมืองศรีสัชนาลัย-ไม่ทราบปี-พระยาพสุจราช[7]เจ้าเมืองศรีสัชนาลัย-ไม่ทราบปี-พระยาธรรมไตรโลก[8]เจ้าเมืองศรีสัชนาลัย-ไม่ทราบปี-พระยาศรีจันทราธิบดี[9]พระร่วงเจ้าสุโขทัย(อดีตภิกษุ)พ.ศ. 1502[10]- ไม่ทราบปี1พ่อขุนศรีนาวนำถุมพระร่วงเจ้าสุโขทัยนำถมไม่ทราบปี – พ.ศ. 17242ขอมสบาดโขลญลำพงพระร่วงเจ้าสุโขทัย-ไม่ทราบปี – พ.ศ. 17803พ่อขุนศรีอินทราทิตย์พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1780 – ประมาณ พ.ศ. 18014พ่อขุนบานเมืองพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงประมาณ พ.ศ. 1801 -พ.ศ. 18225พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1822 -18426พญาไสสงครามพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 18427พญาเลอไทพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1842 -18668พญางั่วนำถุมพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1866 -18909พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท)พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1890 -191310พระมหาธรรมราชาที่ 2 (ลือไท)พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1913 -1921รัฐบรรณาการอาณาจักรอยุธยาลำดับพระนาม/นามตำแหน่งราชวงศ์ช่วงเวลา10พระมหาธรรมราชาที่ 2 (ลือไท)พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1921-193111พระมหาธรรมราชาที่ 3 (ไสลือไท)พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1931-196212พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล)พระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 1962-198913พระราเมศวรพระร่วงเจ้าสุโขทัยสุพรรณภูมิพ.ศ. 1989-1991-ว่าง–พ.ศ. 1991-2011รัฐบรรณาการอาณาจักรล้านนาลำดับพระนาม/นามตำแหน่งราชวงศ์ช่วงเวลา14พระยายุทธิษฐิระพระร่วงเจ้าสุโขทัยพระร่วงพ.ศ. 2011-2017

สำหรับรัชกาลต่อจากนี้ ดูเพิ่มที่ พระพิษณุโลกสองแคว

พระยายุทธิษฐิระ (พ.ศ. 1991 – พ.ศ. 2011) (เป็นประเทศราชล้านนาในปี พ.ศ. 2011

[11] [12]

ราชวงศ์สุพรรณภูมิ (พ.ศ. 2011 – พ.ศ. 2031พระเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2031 – พ.ศ. 2034พระอาทิตยวงศ์ (พระหน่อพุทธางกูร)(พ.ศ. 2034 – พ.ศ. 2072พระไชยราชา (พ.ศ. 2072 – พ.ศ. 2077ราชวงศ์สุโขทัย – พ.ศ. 2111พระนเรศวร (หลังเสด็จกลับจากหงสาวดี พ.ศ. 2115 – พ.ศ. 2133) (ตำแหน่งพระมหาอุปราชของอยุธยา)[13]พระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2133 – พ.ศ. 2148ลำดับพระร่วงเจ้า พระมหาธรรมราชา ผู้ครองผู้ครองเมืองสุโขทัยและเมืองพิษณุโลกสองแคว

พระมหากษัตริย์พระองค์ใดเป็นผู้ผนวกอาณาจักรสุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา

สมัยพญาปาลราช หรือพระมหาธรรมราชาที่ 4 โอรสของพระมหาธรรมราชาที่ 3 ครองราชย์อยู่ที่เมืองสองแคว (เมืองพิษณุโลก) ใน พ.ศ. 1962 – 1981 เป็นสมัยที่กรุงสุโขทัยตกเป็นเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยาแล้ว จึงไม่มีเหตุการณ์อะไรสำคัญ และเมื่อสิ้นสมัยพญาปาลราช กรุงสุโขทัยก็ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา

สุโขทัยถูกผนวกเข้ากับกรุงศรีอยุธยาในสมัยใด

อาณาจักรสุโขทัย
ประวัติศาสตร์
• สถาปนา
พ.ศ. 1792
• เป็นรัฐร่วมประมุขกับกรุงศรีอยุธยา
พ.ศ. 1981
• ถูกผนวกเข้ากับกรุงศรีอยุธยาแล้วสิ้นสุดลง
พ.ศ. 1981
อาณาจักรสุโขทัย - วิกิพีเดียth.wikipedia.org › wiki › อาณาจักรสุโขทัยnull

พระมหากษัตริย์พระองค์ใดเป็นผู้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัย

พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของไทยคือ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ หรือ พ่อขุนบางกลางหาว องค์ปฐมบรมกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ทรงเป็นพระราชบิดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ทรงพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 1740 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 1792 และเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 1822 (พระชนมายุ 82 พรรษา) ทรงอยู่ในราชสมบัติ 30 ปี

อาณาจักรสุโขทัยมีความเป็นปึกแผ่นเข้มแข็งมากในสมัยใด

ในสมัยของพระมหาธรรมราชาลิไทเมืองสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาก พระองค์ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์พุทธศาสนาที่ยิ่งใหญ่ ได้อาราธนาพระมหาสามีสังฆราชจากนครพัน อันเป็นเมืองหนึ่งทางตอนใต้ของพม่า ขณะนั้นพุทธศาสนาจากลังกากำลังเจริญอยู่ที่นั่น ด้วยความเลื่อมใสในพุทธศาสนา พระมหาธรรมราชาลิไทได้ออกผนวชและจำพรรษาอยู่ที่วัดป่ามะม่วง ทาง ...