ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร

 869 total views,  8 views today

แชร์ข้อมูลหน้านี้ให้เพื่อน

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

สถิติการเข้าชม

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Users Today : 660

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Users Yesterday : 508

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Total Users : 201702

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Views Today : 1821

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Views This Month : 25429

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Views This Year : 211523

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง

สถิติการเข้าชม

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Users Today : 660

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Users Yesterday : 508

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Total Users : 201702

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Views Today : 1821

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Views This Month : 25429

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร
Views This Year : 211523

หลักสูตรวิชาชีพการแพทย์แผนไทย

หลักสูตรวิชาชีพการแพทย์แผนไทย

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร

สภาการแพทย์แผนไทย อาคาร 1 ชั้น 4
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000

095-6613213 (งานบริหาร)
065-8737403 (งานทะเบียน ใบอนุญาต และบัตรสมาชิก)
096-3187367 (งานวิชาการ)
081-2964424 (งานกฎหมาย)

,

โทรศัพท์ฝ่ายอื่น

โทร. 02-5801157-8, 02-5800104
- งานบริหาร ต่อ 17
- งานทะเบียน ใบอนุญาต และบัตรสมาชิก ต่อ 15
- งานวิชาการ ต่อ 16
- งานการเงิน ต่อ 13
- งานจัดอบรมฯ ต่อ 12

หลักสูตรวิชาชีพการแพทย์แผนไทย

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพ.ศ2522คือใคร

สภาการแพทย์แผนไทยอาคาร 1 ชั้น 4 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณะสุข ถ.ติวานนท์ จ.นนทบุรี 11000

095-6613213 (งานบริหาร)
065-8737403 (งานทะเบียน ใบอนุญาต และบัตรสมาชิก)
096-3187367 (งานวิชาการ)
081-2964424 (งานกฎหมาย)

,

โทรศัพท์ฝ่ายอื่น

โทร. 02-5801157-8, 02-5800104- งานบริหาร ต่อ 17- งานทะเบียน ใบอนุญาต และบัตรสมาชิก ต่อ 15- งานวิชาการ ต่อ 16- งานการเงิน ต่อ 13- งานจัดอบรมฯ ต่อ 12

หลักสูตรวิชาชีพการแพทย์แผนไทย

Copyright 2020, All Rights Reserved | www.thaimed.or.th

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

ฉบับเต็ม  คลิกที่นี่

           พระราชบัญญัติฉบับนี้ มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดให้โทษโดยมีมาตราที่สำคัญ ดังนี้

           มาตรา 7  ยาเสพติดให้โทษแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ

           (1) ประเภท 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอีน (Heroin)

           (2) ประเภท 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น มอร์ฟีน (Morphine) โคคาอีน (Cocaine) โคเดอีน (Codeine) ฝิ่นยา (Medicinal Opium)

           (3) ประเภท 3 ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็นตำรับยา และมียาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ผสมอยู่ด้วย ตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา

           (4) ประเภท 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือประเภท 2 เช่น อาเซติคแอนไฮไดรด์ (Acetic Anhydride) อาเซติลคลอไรด์ (Acetyl Chloride)

           (5) ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เช่น กัญชา พืชกระท่อม

           ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศระบุชื่อยาเสพติดให้โทษตามมาตรา 8(1)

           เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ คำว่า ฝิ่นยา (Medicinal Opium) หมายถึง ฝิ่นที่ได้ผ่านกรรมวิธีปรุงแต่งโดยมีความมุ่งหมายเพื่อใช้ในทางยา

             มาตรา 15 ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 เว้นแต่รัฐมนตรีได้อนุญาตเฉพาะในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ

             การขออนุญาตและการอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง

             การผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ตามปริมาณดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าเป็นการผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย

             (1) เด็กซ์โตรไลเซอร์ไยด์ หรือ แอล เอส ดี มีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ศูนย์จุดเจ็ดห้ามิลลิกรัมขึ้นไป หรือมียาเสพติดที่มีสารดังกล่าวผสมอยู่จำนวนสิบห้าหน่วยการใช้ขึ้นไปหรือมีน้ำหนักสุทธิตั้งแต่สามร้อยมิลลิกรัมขึ้นไป

             (2) แอมเฟตามีนหรืออนุพันธ์แอมเฟตามีน มีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่สามร้อยเจ็ดสิบห้ามิลลิกรัมขึ้นไป หรือมียาเสพติดที่มีสารดังกล่าวผสมอยู่จำนวนสิบห้าหน่วยการใช้ขึ้นไป หรือมีน้ำหนักสุทธิตั้งแต่หนึ่งจุดห้ากรัมขึ้นไป

             (3) ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 นอกจาก (1) และ (2) มีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่สามกรัมขึ้นไป

             มาตรา 17  ห้ามมิให้ผู้ใดจำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต

             การมียาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ไว้ในครอบครองคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ได้ตั้งแต่หนึ่งร้อยกรัมขึ้นไปให้ถือว่ามีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย

             การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง

             มาตรา 43 ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 จะผลิตหรือนำเข้าซึ่งยาเสพติดให้โทษดังกล่าว ต้องนำตำรับยาเสพติดให้โทษนั้นมาขอขึ้นทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อน และเมื่อได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษแล้ว จึงจะผลิตหรือนำเข้าซึ่งยาเสพติดให้โทษนั้นได้

              การขอขึ้นทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 และการออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง

              การพิจารณาออกใบสำคัญตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ขอขึ้นทะเบียนตำรับยาเสพติดให้โทษเป็นผู้รับผิดชอบชำระค่าใช้จ่ายในการตรวจวิเคราะห์หรือประเมินเอกสารทางวิชาการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

              มาตรา 48 ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณายาเสพติดให้โทษ เว้นแต่

              (1) เป็นการโฆษณายาเสพติดให้โทษในประเภท 2 หรือประเภท 3 ซึ่งกระทำโดยตรงต่อผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง หรือ

              (2) เป็นฉลากหรือเอกสารกำกับยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ประเภท 3 หรือประเภท 4 ที่ภาชนะหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ประเภท 3 หรือประเภท 4

              โฆษณาตามวรรคหนึ่งที่เป็นเอกสาร ภาพ ภาพยนตร์ การบันทึกเสียงหรือภาพต้องได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาตก่อนจึงจะใช้โฆษณาได้

              การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง

           มาตรา 57 ห้ามมิให้ผู้ใดเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 หรือประเภท 5

            มาตรา 58 ห้าม มิให้ผู้ใดเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 เว้นแต่การเสพนั้นเป็นการเสพเพื่อการรักษาโรคตามคำสั่งของผู้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรมหรือผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันชั้นหนึ่งในสาขาทันตกรรมที่ได้รับ ใบอนุญาตตามมาตรา 17

               มาตรา 66 ผู้ใดจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 โดยไม่ได้รับอนุญาตและมีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ หรือมีจำนวนหน่วยการใช้ หรือมีน้ำหนักสุทธิไม่ถึงปริมาณที่กำหนดตามมาตรา 15 วรรคสาม ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สี่ปีถึงสิบห้าปี หรือปรับตั้งแต่แปดหมื่นบาทถึงสามแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

               ถ้ายาเสพติดให้โทษตามวรรคหนึ่งมีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ปริมาณที่กำหนดตามมาตรา 15 วรรคสาม แต่ไม่เกินยี่สิบกรัม ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สี่ปีถึงจำคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแต่สี่แสนบาทถึงห้าล้านบาท

               ถ้า ยาเสพติดให้โทษตามวรรคหนึ่งมีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์เกินยี่สิบกรัม ขึ้นไปต้องระวางโทษจำคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแต่หนึ่งล้านบาทถึงห้าล้านบาท หรือประหารชีวิต

               มาตรา 67 ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 โดยไม่ได้รับอนุญาตและมีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ หรือมีจำนวนหน่วยการใช้ หรือมีน้ำหนักสุทธิไม่ถึงปริมาณที่กำหนดตามมาตรา 15 วรรคสาม ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

                มาตรา 69 ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 17 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

                ผู้ใดจำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 17 ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

                 ถ้ายาเสพติดให้โทษซึ่งเป็นวัตถุแห่งการกระทำความผิดตามวรรคสองเป็นมอร์ฟีน ฝิ่น หรือโคคาอีน มีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ไม่ถึงหนึ่งร้อยกรัม ผู้นั้นต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามปีถึงยี่สิบปี หรือปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสี่แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ แต่ถ้ามอร์ฟีน ฝิ่น หรือโคคาอีนนั้นมีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ตั้งแต่หนึ่งร้อยกรัมขึ้นไป ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงจำคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแต่ห้าแสนบาทถึงห้าล้านบาท

                 ถ้าผู้ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา 17 กระทำการฝ่าฝืนตามวรรคหนึ่ง วรรคสองหรือวรรคสาม ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท

ใครคือผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522

มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอ ํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ ออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราตาม ๘ มาตรา ๔ นิยามคําวา “เภสัชกร” แกไขโดยพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ (ฉบับที่ ๕) .. ๒๕๔๕

ผู้อนุญาตในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษพศ 2522 หมายถึงอะไร

"ผู้อนุญาต" หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา "คณะกรรมการ" หมายความว่า คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษตามพระราชบัญญัตินี้ "พนักงานเจ้าหน้าที่" หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

พรบ.ยาเสพติดให้โทษเกิดขึ้นในพ.ศ.ใด

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.. ๒๕๒๒”

โทษทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 กรณี เสพ คือข้อใด

มาตรา 67 ผู้ใดมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 โดยไม่ได้รับอนุญาตและมีปริมาณคำนวณเป็นสารบริสุทธิ์ หรือมีจำนวนหน่วยการใช้ หรือมีน้ำหนักสุทธิไม่ถึงปริมาณที่กำหนดตามมาตรา 15 วรรคสาม ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ