กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาคือใคร

          พระราชวังเมืองละโว้หรือลพบุรี ปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ กรมศิลปากร จัดแสดงโบราณวัตถุที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ โบราณคดีของจังหวัดลพบุรี โดยเฉพาะพระที่นั่งจันทรพิศาล จัดแสดงนิทรรศการถาวรเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภาพประวัติศาสตร์เหตุการณ์สำคัญ และโบราณวัตถุในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อาทิ ภาพวาดสมเด็จพระนารายณ์มหาราชรับพระราชสาสน์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14, เหรียญที่ระลึกในโอกาสราชทูตสยามเข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 14, ธรรมาสน์ไม้ มีจารึกระบุศักราชการสร้างในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็นต้น

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือพระเจ้าอู่ทอง ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีเมื่อ พ.ศ.1893 กรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางของประเทศสยามสืบต่อยาวนานถึง 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครอง 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ คือ ราชวงศ์อู่ทอง ราชวงศ์สุพรรณภูมิ ราชวงศ์สุโขทัย ราชวงศ์ปราสาททอง และราชวงศ์บ้านพลูหลวง สูญเสียเอกราชแก่พม่า 2 ครั้ง ครั้งแรกใน พ.ศ. 2112 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกู้เอกราชคืนมาได้ใน พ.ศ. 2127 และเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงกอบกู้เอกราชได้ในปลายปีเดียวกัน แล้วทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่ กวาดต้อนผู้คนจากกรุงศรีอยุธยาไปยังกรุงธนบุรีเพื่อสร้างบ้านเมืองแห่งใหม่ให้มั่นคง แต่กรุงศรีอยุธยาก็ไม่ได้กลายเป็นเมืองร้าง ยังมีคนที่รักถิ่นฐานบ้านเดิมอาศัยอยู่ และมีราษฎรที่หลบหนีไปอยู่ตามป่ากลับเข้ามาอาศัยอยู่รอบๆเมือง รวมกันเข้าเป็นเมือง จนทางการยกเป็นเมืองจัตวาเรียกว่า "เมืองกรุงเก่า"

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงยกเมืองกรุงเก่าขึ้นเป็นหัวเมืองจัตวา เช่นเดียวกับในสมัยกรุงธนบุรี หลังจากนั้น สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้จัดการปฏิรูปการปกครองส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยการปกครอง ส่วนภูมินั้นโปรดให้จัดการปกครองแบบเทศาภิบาลขึ้น โดยให้รวมเมืองที่อยู่ใกล้เคียงกัน 3 - 4 เมือง ขึ้นเป็นมณฑล มีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง โดยในปี พ.ศ. 2438 ทรงโปรดให้จัดตั้งกรุงเก่าขึ้น ประกอบด้วยหัวเมืองต่างๆ คือ กรุงเก่าหรือ อยุธยา อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี หรหมบุรี อินทร์บุรี และสิงห์บุรี ต่อมาโปรดให้รวมเมืองอินทร์และเมืองพรหมเข้ากับเมืองสิงห์บุรี ตั้งที่ว่าการมณฑลที่อยุธยา และในปี พ.ศ. 2469 เปลี่ยนชื่อมณฑลกรุงเก่าเป็นมณฑลอยุธยา ซึ่งจากการตั้งมณฑลอยุธยามีผลให้อยุธยามีความสำคัญทางการบริหารการปกครองมากขึ้น การสร้างสิ่งสาธารณูปโภคหลายหย่างมีผลต่อการพัฒนาเมืองอยุธยาในเวลาต่อมา จนเมื่อยกเลิก การปกครองระบบเทศาภิบาลภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยุธยาจึงเปลี่ยนฐานะเป็นจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจนถึงปัจจุบัน


  • กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาคือใคร

    ในปีพุทธศักราช 1893 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงย้ายพระนครมาสร้างเมืองใหม่ ทรงเห็นว่าตำบลหนองโสนอยู่ในชัยภูมิที่เหมาะสม เพราะมีน้ำล้อมรอบ จึงทรงกะเขตปักราชวัตรฉัตรธง ตั้งศาลเพียงตา ชีพ่อพราหมณ์ได้ฤกษ์กระทำพิธีกลบบาตสุมเพลิง (ชื่อพิธีอย่างหนึ่ง ทำเพื่อแก้เสนียด) แล้วให้พนักงานขุดดินทั่วบริเวณ เพื่อสร้างพระราชวัง เมื่อขุดมาได้ถึงบริเวณต้นหมัน พนักงานพบสังข์ทักษิณาวัตรสีขาวบริสุทธิ์ 1 ขอน พระเจ้าอู่ทองทรงโสมนัสในศุภนิมิตรนั้นยิ่งนัก จึงทรงโปรดให้สร้างปราสาทน้อยขึ้นเป็นที่ประดิษฐานสังข์ดังกล่าว ทางราชการจึงถือว่า "สังข์" ซึ่งประดิษฐานบนพานทองภายในปราสาทใต้ต้นหมัน เป็นตราประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (จากหนังสือ "กรุงศรีอยุธยา ราชธานีไทย")

    1.������ҸԺ�շ�� 1 (���������ͧ)

    ������ʢͧͧ���� 1

    ���駷�� 1 �.�.1912-1913
    ���駷�� 2 �.�.1931-1938

    3.��к���ҪҸ��Ҫ��� 1 (�ع��ǧ�Ч���)

    ������ʢͧͧ���� 3

    �.�.1931 (��ͧ�Ҫ�� 7 �ѹ)

    ������ʢͧͧ���� 2

    6.����Թ�ҪҸ��Ҫ��� 1 (��й���Թ���)

    ����Ҫ�Ѵ�Ңͧͧ���� 3

    7.��к���Ҫҷ�� 2 (�����������)

    ������ʢͧͧ���� 6

    ������ʢͧͧ���� 7

    9.��к���ҪҸ��Ҫ��� 3 (�Թ��ҪҸ��Ҫ��� 2)

    ������ʢͧͧ���� 8

    10.������ҸԺ�շ�� 2

    ���͹تҢͧͧ���� 9

    ������ʢͧͧ���� 10

    12.����ѯ�Ҹ��Ҫ����� (�����ɮ��)

    ������ʢͧͧ���� 11

    ������ʢͧͧ���� 10

    14.����ʹ��� (�����ǿ��)

    ������ʢͧͧ���� 13

    �.�.2091 (2 ��͹)

    ���͹تҢͧͧ���� 13

    ������ʢͧͧ���� 16

    ������ʢͧͧ���� 18

    ���͹تҢͧͧ���� 19

    ������ʢͧͧ���� 20

    ������ʢͧͧ���� 20

    ������ʢͧͧ���� 22

    ���͹تҢͧͧ���� 23

    ������ʢͧͧ���� 25

    �.�.2199 (2 �ѹ)

    ���͹تҢͧͧ���� 25

    �.�.2199 (2 ��͹ 18 �ѹ)

    ���͹تҢͧͧ���� 26

    ������ʢͧͧ���� 29

    ������ʢͧͧ���� 30

    ���͹تҢͧͧ���� 31

    33.�������ط���� (�ع��ǧ���Ѵ)

    ������ʢͧͧ���� 32

    ����ɰҢͧͧ���� 33

    ตลอดระยะเวลา 417 ปี ที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทย ได้มีพระมหากษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมา 5 ราชวงศ์ 

    1. พระราชวงศ์อู่ทอง
            - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระจ้าอู่ทอง) ครองราชย์ พ.ศ. 1893 - 1912
            - สมเด็จพระราเมศวร ครองราชย์ พ.ศ. 1912 - 1913 และ พ.ศ. 1931 - 1938
            - สมเด็จพระรามราชาธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 1938 - 1952

            - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพ่องั่ว) ครองราชย์ พ.ศ. 1913 - 1931
            - สมเด็จพระเจ้าทองลัน (ทองจันทร์) ครองราชย์ พ.ศ. 1931 - 1931
            - สมเด็จพระอินทราธิราช (เจ้านครอินทร์) ครองราชย์ พ.ศ. 1952 - 1967
            - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ครองราชย์ พ.ศ. 1967 - 1991
            - สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ครองราชย์ พ.ศ. 1991 - 2031
            - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 ครองราชย์ พ.ศ. 2031 - 2034
            - สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ครองราชย์ พ.ศ. 2034 - 2072
            - สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (หน่อพุทธางกูรหรือพระอาทิตยวงศ์) ครองราชย์ พ.ศ. 2072 - 2076
            - สมเด็จาพระรัษฎาธิราชราชกุมาร ครองราชย์ พ.ศ. 2076 - 2077
            - สมเด็จพระไขยราชาธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 2077 - 2089
            - สมเด็จพระยอดฟ้า (พระแก้วฟ้า) ครองราชย์ พ.ศ. 2089 - 2091
            - สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ครองราชย์ พ.ศ. 2091 - 2111
            - สมเด็จพระมหินทราธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 2111 - 2112

    3. สุโขทัย
            - สมเด็จพระมหาธรรมราชา ครองราชย์ พ.ศ. 2112 - 2133
            - สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ครองราชย์ พ.ศ. 2133 - 2148
            - สมเด็จพระเอกาทศรถ ครองราชย์ พ.ศ. 2148 - 2163
            - สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์ ครองราชย์ พ.ศ. 2163 - 2163
            - สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ครองราชย์ พ.ศ. 2163 - 2173
            - สมเด็จพระเชษฐาธิราช ครองราชย์ พ.ศ. 2171 - 2173
            - สมเด็จพระอาทิตยวงศ์ ครองราชย์ พ.ศ. 2173 - 2173

     4. ปราสาททอง
            - สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ครองราชย์ พ.ศ. 2173 - 2198
            - สมเด็จเจ้าฟ้าไชย ครองราชย์ พ.ศ. 2198 - 2199
            - สมเด็จพระสุธรรมราชา ครองราชย์ พ.ศ. 2199 - 2199
            - สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ครองราชย์ พ.ศ. 2199 - 2231

    5. บ้านพลูหลวง
            - สมเด็จพระเพทราชา ครองราชย์ พ.ศ. 2231 - 2245
            - สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) ครองราชย์ พ.ศ. 2245 - 2252
            - สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 (พระเจ้าท้ายสระ) ครองราชย์ พ.ศ. 2252 - 2275
            - สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ครองราชย์ พ.ศ. 2275 - 2301
            - สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) ครองราชย์ พ.ศ. 2301 - 2301
            - สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ครองราชย์ พ.ศ. 2301 - 2310

    พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยามีใครบ้าง

    ปีครองราชย์.
    พระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ต้นราชวงศ์อู่ทอง - ... .
    พระราเมศวร อู่ทอง ... .
    พระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) ต้นราชวงศ์สุพรรณภูมิ ... .
    พระเจ้าทองลัน สุพรรณภูมิ ... .
    พระรามราชาธิราช อู่ทอง ... .
    พระอินทาชาธิราชที่ 1 (พระนครอินทร์) สุพรรณภูมิ ... .
    พระบรมราชาที่ 2 (เจ้าสามพระยา) สุพรรณภูมิ ... .
    พระบรมไตรโลกนาถ สุพรรณภูมิ.

    ปฐมกษัตริย์แห่กรุงศรีอยุธยา คือข้อใด.

    ทั้งนี้ พระเจ้าอู่ทอง เป็นปฐมกษัตริย์ ผู้ทรงสถาปนาแผ่นดินกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี เมื่อ ปี พ.ศ. 1893 โดยกรุงศรีอยุธยา เป็นศูนย์กลางของภูมิภาค ในด้านการปกครอง การเมือง การทหาร เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม เป็นราชธานียาวนานถึง 417 ปี จนกระทั่งเสียกรุงเมื่อปี พ.ศ.2310 โดยรวมแล้วมีพระมหากษัตริย์ปกครอง 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ คือ ...

    พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์ใดที่ครองกรุงศรีอยุธยานานที่สุด

    ราชวงศ์สุพรรณภูมิได้ครองกรุงศรีอยุธยาเป็นราชวงศ์ที่สองต่อจากราชวงศ์อู่ทอง และเป็นราชวงศ์ที่ได้ครองกรุงศรีอยุธยายาวนานที่สุด ชื่อราชวงศ์สุพรรณภูมิมาจากชื่อเมืองสุพรรณภูมิ ซึ่งสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ หรือขุนหลวงพ่องั่ว กษัตริย์ลำดับที่ ๓ ของกรุงศรีอยุธยาเคยปกครองมาก่อน

    พระมหากษัตริย์องศ์สุดท้ายของกรุงศรีอยุธยามีพระนามว่าอย่างไร

    พระเจ้าเอกทัศ กษัตริย์พระองค์สุดท้ายของกรุงศรีฯ ในเอกสารฝ่ายพม่า