วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

การเรียนการสอนดนตรีไทยในโรงเรียนอัสสัมชัญ (แผนกมัธยม)

ดนตรีไทย เป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย, จีน, มาเลเซีย และอื่น ๆ เครื่องดนตรีมี 4 ประเภท ดีด สี ตี เป่า

เล่น วรรณคดี "ไตรภูมิพระร่วง" กล่าวถึงเครื่องดนตรี ได้แก่ ฆ้อง กลอง ฉิ่ง ฉาบ บัณเฑาะว์ พิณ ซอ ปี่ไฉน ระฆัง กรับ

สมัยกรุงศรีอยุธยา มีวงปี่พาทย์ที่ยังคงรูปแบบปี่พาทย์เครื่องห้าเหมือนเช่นสมัยกรุงสุโขทัย แต่เพิ่มระนาดเอกเข้าไป นับแต่นั้นวงปี่พาทย์จึงประกอบด้วย ระนาดเอก ปี่ใน ฆ้องวงใหญ่ กลองทัด ตะโพน ฉิ่ง ส่วนวงมโหรีพัฒนาจากวงมโหรีเครื่องสี่ เป็นมโหรีเครื่องหก เพิ่มขลุ่ย และรำมะนา รวมเป็นมี ซอสามสาย กระจับปี่ ทับ (โทน) รำมะนา ขลุ่ย และกรับพวง

ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เริ่มจากรัชกาลที่ 1 เพิ่มกลองทัดเข้าวงปี่พาทย์อีก 1 ลูก รวมเป็น 2 ลูก ตัวผู้เสียงสูง ตัวเมียเสียงต่ำ รัชกาลที่ 2 ทรงพระปรีชาสามารถการดนตรี ทรงซอสามสาย คู่พระหัตถ์คือซอสายฟ้าฟาด และทรงพระราชนิพนธ์เพลงไทย บุหลันลอยเลื่อน รัชสมัยนี้เกิดกลองสองหน้าพัฒนามาจากเปิงมางของมอญ พอในรัชกาลที่ 3 พัฒนาเป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่ มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้มคู่กับระนาดเอก และฆ้องวงเล็กให้คู่กับฆ้องวงใหญ่

รัชกาลที่ 4 เกิดวงปี่พาทย์เครื่องใหญ่พร้อมการประดิษฐ์ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุ้มเหล็ก รัชกาลที่ 5 สมเด็จฯ กรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ทรงคิดค้นวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ประกอบการแสดงละครดึกดำบรรพ์ ในรัชกาลที่ 6 นำวงดนตรีของมอญเข้าผสมเรียกวงปี่พาทย์มอญโดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) มีการนำอังกะลุงเข้ามาเผยแพร่เป็นครั้งแรก และนำเครื่องดนตรีต่างชาติ เช่น ขิม ออร์แกนของฝรั่งมาผสมเป็นวงเครื่องสายผสม แล้วจึงเป็นดนตรีไทยที่เราได้เห็นจนถึงปัจจุบันนี้ ทั้งความแตกต่างระหว่างวงต่าง ๆ ผู้ประพันธ์ท่าน

เครื่องดนตรีไทย[แก้]

ดูบทความหลักที่: เครื่องดนตรีไทย

เครื่องดนตรีไทยแบ่งตามลักษณะการทำให้เกิดเสียงได้เป็น 4 ประเภท คือ เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี และเครื่องเป่า

เครื่องดีด[แก้]

  • จะเข้
  • กระจับปี่
  • พิณ ได้แก่ พิณเปี๊ยะ พิณน้ำเต้า พิณอีสาน
  • ซึง

เครื่องสี[แก้]

  • ซอด้วง
  • ซอสามสาย
  • ซออู้
  • สะล้อ
  • ซอแฝด
  • รือบับ
  • ซอกันตรึม

เครื่องตี[แก้]

  • กรับ ได้แก่ กรับพวงและกรับเสภา
  • ระนาด ได้แก่ ระนาดเอก, ระนาดทุ้ม, ระนาดเอกมโหรี, ระนาดทุ้มมโหรี, ระนาดเอกเหล็ก, ระนาดทุ้มเหล็ก, ระนาดแก้ว
  • ฆ้อง ได้แก่ ฆ้องมโหรี, ฆ้องมอญ, ฆ้องวงใหญ่, ฆ้องวงเล็ก, ฆ้องโหม่ง, ฆ้องกระแต, ฆ้องระเบ็ง
  • ขิม
  • ฉาบ
  • ฉิ่ง
  • กลอง ได้แก่ กลองแขก, กลองมลายู, ตะโพน, ตะโพนมอญ, กลองทัด, กลองตุ๊ก, กลองยาว, มโหระทึก, บัณเฑาะว์, โทน, รำมะนา, โทนชาตรี, กลองสองหน้า, เปิงมางคอก, กลองมังคละ

เครื่องเป่า[แก้]

  • ขลุ่ย ได้แก่ ขลุ่ยหลิบ, ขลุ่ยเพียงออ, ขลุ่ยอู้
  • ปี่ ได้แก่ ปี่ใน, ปี่นอก, ปี่ไฉน, ปี่ชวา, ปี่มอญ, ปี่จุม

เพลงดนตรีไทย[แก้]

แบ่งได้เป็น 4 ประเภท

  • เพลงหน้าพาทย์ ได้แก่เพลงที่บรรเลงประกอบเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งของมนุษย์ ของสัตว์ ของวัตถุต่าง ๆ และอื่น ๆ
  • เพลงขับร้อง ที่เรียกว่าเพลงขับเก่งร้องก็ด้วยบรรเลงรับจากการร้อง คือ เมื่อคนร้องได้ร้องจบไปแล้วแต่ละท่อน ดนตรีก็ต้องบรรเลงรับในท่อนนั้น ๆ โดยบังโฟมมักเป็นเพลงอัตรา 3 ชั้นและเพลงเถา เช่น เพลงจระเข้หางยาว 3 ชั้น เพลงสี่บท 3 ชั้น และเพลงบุหลันเถา เพลงสิบสองภาษา เป็นต้น
  • เพลงละคร หมายถึงเพลงที่บรรเลงประกอบการแสดงโขน ละคร และมหรสพต่าง ๆ ซึ่งหมายเฉพาะเพลงที่มีรัองและดนตรีรับเท่า นั้น เพลงละครได้แก่เพลงอัตรา 2 ชั้น เช่น เพลงเวสสุกรรม เพลงพญาโศก หรือชั้นเดียว เช่น เพลงนาคราช เพลงตะลุ่มโปง เป็นต้น
  • เพลงเบ็ดเตล็ด ได้แก่ เพลงเล็ก ๆ สั้น ๆ สำหรับใช้บรรเลงเป็นพิเศษ เช่น บรรเลงต่อท้ายเพลงใหญ่เป็นเพลงลูกบท หรือเพลงภาษา ต่าง ๆ ซึ่งบรรเลงเพื่อสนุกสนาน

อ้างอิง[แก้]

  • ประเภทของดนตรีไทย Archived 2007-06-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • ดนตรีไทยในวัฒนธรรมไทย
  • ดนตรีไทย สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม 1
  • ดนตรีไทย Archived 2005-11-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน คอลัมน์ รู้ไปโม้ด

ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี

           ดนตรีมีอยู่ในสังคมมนุษย์ทุกชาติและมีบทบาทที่สำคัญต่อวิถีชีวิตของมนุษย์  ซึ่งมนุษย์ใช้ดนตรีในกิจกรรมที่หลากหลาย ดังนั้น ดนตรีที่ดำรงอยู่นั้น  จึงมีที่มาด้วยเหตุปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มชนหรือกลุ่มวัฒนธรรม ซึ่งปัจจัยต่างๆ มีดังต่อไปนี้

       1. ความเชื่อ   อยู่คู่กับมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ  ซึ่งในปัจจุบันมนุษย์ก็ยังคงมีความเชื่อในสิ่งที่เหนือธรรมชาติ (Supernatural) เช่น การนับถือบูชาผีสาง  เทวดา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ดังนั้น จึงมีการประกอบพิธีกรรมเพื่อแสดงถึงความเคารพบูชา  องค์ประกอบต่างๆของการนำมาประกอบพิธีกรรมนั้น ส่วนหนึ่งจะเป็นเครื่องเซ่นไหว้ เช่น พวงมาลัย  อาหาร และสิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ก็คือ ดนตรี ซึ่งต้องเป็นดนตรีที่มีคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์ ดนตรีที่เกิดขึ้นจากความเชื่อจึงทำหน้าที่เป็นองค์ประกอบในพิธีกรรมหรือเรียกว่า ดนตรีพิธีกรรม (Ritual music) เช่น การประกอบพิธีไหว้ครูดนตรีและนาฏศิลป์ เป็นต้น

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

2.ศาสนา  นับเป็นสิ่งหนึ่งที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ ซึ่งนอกจากความเชื่อในการนับถือสิ่งเหนือธรรมชาติแล้ว  มนุษย์ยังมีความเชื่อและศรัทธาในศาสนา ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาก็มีการสร้างสรรค์เพื่อนำมาใช้ประกอบพิธีกรรม เช่น ในศาสนาคริสต์ได้นำเพลงสวดมาขับร้องเพื่อใช้ในขั้นตอนต่างๆของพิธีแมส (Mass) หรือพิธีมิสซา (Missa) เป็นต้น ในส่วนศาสนาพุทธก็มีการดนตรีในการบรรเลงประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เช่น งานบวช  งานศพ งานเทศน์มหาชาติ เป็นต้น

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

3.วิถีชีวิต  มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ดนตรีเป็นอย่างมาก  ดนตรีที่สร้างสรรค์ขึ้นจากวิถีชีวิตของมนุษย์ในทางวิชาการเรียกว่า  ดนตรีฆราวาสหรือดนตรีชาวบ้าน ( Secula Music)  ซึ่งเกิดขึ้นมาตั้งแต่ก่อนยุคกรีกโบราณ  

ดนตรีที่สร้างสรรค์จากวิถีชีวิตของมนุษย์เกิดจากความต้องการที่จะบรรยาย พรรณนาเรื่องราว ถ่ายทอดอารมณ์  ความรู้สึกผ่านบทเพลง หรือเพื่อเป็นการนันทนาการ  ผ่อนคลายความเครียดและให้ความบันเทิงแก่ผู้คน เช่น การแสดงอุปรากร (Opera) ของชาวยุโรป การแสดงโขนของไทย  ลาว และกัมพูชา การแสดงละครคาบูกิ (Kabuki) ของชาวญี่ปุ่น

นอกจากนี้ ยังมีการสร้างสรรค์ดนตรีเพื่อปลุกใจให้ความฮึกเฮิม  เป็นการสร้างกำลังใจในการออกรบ ซึ่งอาจมีการเต้นออกท่าทางลักษณะข่มขู่ศัตรูร่วมด้วย เช่น การเต้นรำปิเลา  ปิเลา (pilou-pilou dance) ของชาวคานัค (Kanak) ในแถบหมู่เกาะทางตะวันออกของประเทศนิวซีแลนด์ ที่มีการเต้นด้วยการก้าวเท้าแบบกระทืบ พร้อมกับการเคาะกระบอกไม้ไผ่เป็นจังหวะประกอบกับการโห่ร้องและเป่าปากหวีดเสียง โดยกลุ่มของนักรบนับร้อยคนจะเต้นรำพร้อมถืออาวุธในท่วงท่าเดียวกันอย่างพร้อมเพรียง

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี
การแสดงคาบูกิ
วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี
การแสดง อุปรากร (opera)
วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี
การแสดงโขน

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี
การเต้นรำ ปิเลา

4.เทคโนโลยี   เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ดนตรีได้รับการสร้างสรรค์และพัฒนา การพัฒนาเทคโนโลยีส่งผลต่อการพัฒนาดนตรี และในทางกลับกันดนตรีก็ทำให้เทคโนโลยีปรับตัวตามไปด้วย  เทคโนโลยีช่วยทำให้เกิดการพัฒนาในดนตรีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เห็นได้ชัดจากการนำเอาวิธีคิดของ พีทาโกรัส (Pythagoras) นักปราชญ์ชาวกรีก มาช่วยในการปรับปรุงระบบการตั้งบันไดเสียงในดนตรีสากล  โดยการนำไปประยุกต์พัฒนาวิธีการปรับปรุงบันไดเสียงให้ได้ตามที่เทคนิคและรูปแบบของดนตรีที่เปลี่ยนไป  นอกจากนี้ ยังมีการปรับตั้งระบบบันไดเสียงของเครื่องดนตรี โดยมีการเกลี่ยเสียงย่อย 12 เสียง ใน 1 ช่วงทบของบันไดเสียงดนตรีสากลให้มีระยะห่างเท่ากันทั้ง 12 เสียง เรียกว่า ระบบอีควล (Equal  Temperment)  ซึ่งดำเนินการเช่นนี้ต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วย  เพื่อให้ดนตรีเป็นไปตามความต้องการของนักประพันธ์
               ในด้านเทคโนโลยีการบันทึกเสียง  ก็ได้รับการพัฒนาให้คุณภาพเสียงมีความใกล้เคัยงเสียงดนตรีจริง จนไม่สามารถแยกแยะข้อแตกต่างได้ ส่งผลให้มีการทำซ้ำและเผยแพร่ออกไปสู่มวลชนได้รวดเร็ว  เป็นการกระตุ้นให้นักประพันธ์ดนตรีสร้างสรรค์งานในรูปแบบใหม่ๆ ออกมาจำนวนมาก โดยฌแพาะดนตรีสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในเชิงพาณิชย์  ทำให้ดนตรีมีการเปลี่ยนแปลงพัฒนารูปแบบออกไปในช่วงเวลาที่สั้นลงกว่าในสมัยก่อน  โดยมีการเปลี่ยนแปลงประมาณทุก 2-5 ปี อน่างที่เรามีคำศัพท์เรียกรูปแบบดนตรีเพลงที่ได้รับความนิยมในช่วงหนึ่งเป็นทศวรรษ เช่น ดนตรีสมัย 60s (Sixties) หรือ 70s (Seventies)

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี


วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี
ตัวอย่าง ห้องบันทึกเสียงในปัจจุบัน
     

เมื่อเข้าสู่ยุคคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักประพันธ์ได้เริ่มมีการให้ความสนใจกับการสร้างสรรค์ดนตรีด้วยวิธีการทางไฟฟ้า  ประพันธ์ดนตรีโดยการใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องสังเคราะห์เสียง (Synthesizer) ทำให้เกิดดนตรีอิลเ็กทรอนิกส์ขึ้น 2 ชนิด คือ ชนิดแรกเป็นการนำเอาเสียงต่างๆในธรรมชาติมาบันทึก เช่น เสียงคนพูด  เสียงน้ำไหล เสียงนกหวีดเป็นต้น  จากนั้นนำมาเปลี่ยนแปลงน้ำเสียงทางไฟฟ้าด้วยวิธีต่างๆ เช่น เปลี่ยนความเร็วของเส้นเทปให้เร็วขึ้นหรือช้าลง แล้วจึงนำมาปะติดปะต่อกัน

ส่วนชนิดที่สอง คือการสร้างดนตรีที่ประกอบด้วยน้ำเสียงขึ้นมาใหม่จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์หรือเครื่องสังเคราะห์เสียง ทำให้เกิดเสียงใหม่ๆ และระดับเสียงในขนาดระยะห่างที่เป็นไมโครโทน (Micro  tone) หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สร้างเสียงให้เหมือนกับเสียงของเครื่องดนตรีที่เกิดจากเสียงธรรมชาติ

โลกของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับดนตรีมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีการทดลองสิ่งใหม่ๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา และการดนตรีที่เกี่ยวข้องเทคโนโลยีก็พัฒนาต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี


วง ดนตรี ใน ข้อใด คือ วง ที่ เกิด จากการสร้างสรรค์งานดนตรี

ตัวอย่างวีดิโอ เครื่องสังเคราะห์เสียง (SynthesiZer)

ที่มา   หนังสือเรียน ดนตรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6   อจท.

https://www.youtube.com/watch?v=bcnJ6_FzBE0