ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

วิธีตัดเย็บเสื้อยืดคอกลม​

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

การตัดเย็บเสื้อยืดคอกลม สามารถจัดไว้ในระดับพื้นฐานของงานเย็บจักร หรืการเย็บผ้าในงานอุตสาหกรรมอย่างหนึ่ง โดยมีขั้นตอนการตัดเย็บที่ต้องรู้ และแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้ หลังจากที่เราตัดชิ้นผ้าเพื่อการเย็บเป็นลำตัวด้านหน้าของเสื้อยืดได้ 1 ชิ้น, ลำตัวด้านหลัง 1 ชิ้น, แขน 2 ชิ้นซ้าย และขวา รวมทั้งชิ้นที่จะเย็บเป็นคอเสื้อ 1 ชิ้น เรียบร้อยแล้ว วิธีการเย็บต้องเริ่มดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ให้เริ่มเย็บบริเวณไหล่ทั้ง 2 ข้าง โดยใช้ชิ้นส่วนด้านหน้า และด้านหลัง ของเสื้อยืดมาประกบติดกันให้เรียบร้อย

ขั้นตอนที่ 2 คือ การเย็บชิ้นคอเสื้อยืด ซึ่งต้องเย็บเตรียมพร้อมไว้ก่อน ขึ้นอยู่ที่ความถนัดของช่างเย็บผ้าแต่ละคน หากเป็นงานในโรงงานอุตสาหกรรมที่ต้องแข่งกับเวลา หรือคิดค่าจ้างเป็นจำนวนชิ้น ก็ต้องเตรียมชิ้นคอไว้ให้เรียบร้อยเพื่อความรวมเร็วในการนำมาประกอบเป็นตัวเสื้อยืด ส่วนเรื่องวัสดุหรือผ้าที่ใช้ทำชิ้นคอนั้น จะมีให้เลือกหลายอย่างแล้วแต่การออกแบบตามลักษณะงาน อาจใช้เป็นผ้ายืด หรือผ้าเนื้อเดียวกับตัวเสื้อก็ได้ เย็บชิ้นคอให้ติดกับตัวเสื้อ กลับเสื้อจากด้านในออกมา เพื่อเตรียมให้พร้อมในการทำงานขั้นต่อไป

ขั้นตอนที่ 3 เย็บคิ้วรอบคอเสื้อ ให้เข้ารูปเรียบร้อยตามแนวคอเสื้อ และเพื่อความทนทานในการใช้งาน เป็นขั้นตอนที่พิเศษ และเป็นเคล็ดลับในการเย็บเสื้อยืดของช่างแต่ละคน เพราะช่างบางคนก็ทำ บางคนก็ไม่ทำเนื่องจากอาจเสียเวลาในการเย็บไปบ้าง เป็นขั้นตอนที่ไม่บังคับ และไม่ตายตัวในการเย็บ

ขั้นตอนที่ 4 เย็บโพ้งลาลูกโซ่บริเวณส่วนคอเสื้อ ซึ่งอาจจะทำหรือไม่ก็ได้ หากต้องการลดต้นทุนและเวลาในการเย็บก็ไม่ต้องทำ แต่ส่วนใหญ่มักจะทำเพื่อความสวยงาม เรียบร้อย และคงทน การเย็บส่วนนี้ควรใช้จักรเข็มคู่ หรือที่เรียกว่าจักรโพ้ง 3 เข็ม เพื่อกันไม่ให้เศษผ้าหลุดลุ่ยภายหลัง

ขั้นตอนที่ 5 การเย็บแขนเสื้อทั้งซ้าย และขวาเพื่อให้ติดกับตัวเสื้อ โดยเริ่มจากการเย็บแขนเสื้อก่อนด้วยการพับปลายแขน โดยอาจใช้จักรเฉพาะงาน เช่น จักรลาโรยหรือลาชาย เย็บแขนเสื้อให้ติดกับลำตัวเสื้อ โดยการประกบชิ้นแขนทั้ง 2 ข้างให้เข้ากับส่วนลำตัว โดยให้ด้านหน้าตัวเสื้อประกบกับด้านหน้าอีกข้างหนึ่งแล้วจึงทำการเย็บให้เรียบร้อย เมื่อได้ด้านหนึ่งแล้ว ให้เริ่มต้นใหม่กับอีกด้านหนึ่งทำเหมือนกัน  

ขั้นตอนที่ 6 เย็บโพ้งด้านข้าง ไล่ลงมาตั้งแต่ปลายแขนเสื้อผ่านไปทางตะเข็บด้านข้าง ลงมาจนสุดความยาวของลำตัว ด้วยจักรโพ้งอุตสาหกรรม

ขั้นตอนที่ 7 กลับมาที่จักรลาอีกครั้งหนึ่ง เพื่อลาชายเสื้อยืดทั้งตัวให้เรียบร้อย เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการเย็บเสื้อยืดแบบย่อ ๆ

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

ใครกำลังเริ่มหัดเย็บผ้า ต้องถูกใจแน่นอนค่ะ เพราะ my home เอาใจสาวๆ ที่กำลังหัดปัก หัดเย็บ ด้วย 7 วิธี เย็บผ้าขั้นพื้นฐาน ค่ะ ทำตามได้

รูปแบบการเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน ที่ควรรู้

1.การสอยซ่อนด้าย เย็บผ้าขั้นพื้นฐาน

การสอยซ่อนด้าย เป็นการเย็บผ้าสองชิ้นให้ติดกัน โดยที่ไม่ให้มองเห็นด้ายค่ะ ดังนั้นเราควรเลือกด้ายที่สีใกล้เคียงกับผ้าที่สุดนะคะ วิธีคือการพับปลายผ้าสองชิ้น แล้วประกบกัน จากนั้นก็ปักเข็มขึ้นจากด้านล่างของผ้าชิ้นแรก แล้วปักลงตรงรอยพับ ซึ่งตรงกับจุดเดิมของผ้าที่เพิ่งปักขึ้นมา แล้วก็ปักขึ้นมาโดยเว้นระยะห่างประมาณ 1 เซนติเมตรของผ้าชิ้นเดิม แล้วก็ปักลงชิ้นตรงข้ามค่ะ ทำแบบนี้วนไปจนจบชิ้นงาน ก็จะได้ผ้าสองชิ้นที่ติดกัน โดยที่ไม่เห็นด้ายเลยค่ะ

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

2. ปักทึบ

คือการปักไหมให้เต็ม ตามแบบที่เราต้องการเลยค่ะ คือการวาดแบบขึ้นมาก่อน เช่น เสื้อ หรือใบไม้ กลีบดอกไม้ จากนั้นก็ปักขึ้น ลง ให้ไหมติดกัน ยากตรงที่กะระยะให้เรียบ ไหมไม่ซ้อนกัน แล้วก็ตรงจุดที่เราวาด เหมือนการระบายสีให้กับรูปวาด แต่แทนสีด้วยไหมต่างๆ นั่นเองค่ะ

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

3. เนา

การเนาคือการเย็บแบบหลวมๆ ให้ผ้าติดกันก่อนจะเย็บจริง เป็นการเย็บไกด์ไว้เฉยๆ ค่ะ เพื่อความสะดวกก็เว้นระยะห่างมากๆ หน่อย จะได้ดึงด้ายออกง่ายๆ เวลาเย็บเสร็จแล้ว หรือหากเย็บขอบทั่วๆไป แต่ต้องการความแข็งแรง ไม่ใช่แค่เย็บไกด์ ก็สามารถเย็บให้ถี่ขึ้นได้ค่ะ

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

4. ตะเข็บเย็บหุ้ม

เป็นการเย็บขอบผ้า ให้ผ้าสองชิ้นติดกันค่ะ คล้ายการเย็บแบบสอย แต่จะเห็นด้ายเยอะกว่า แล้วก็เย็บง่ายกว่าค่ะ วิธีก็คือ ซ่อนปมไว้ในรอยพับของผ้า แล้วก็ปักขึ้นมาตรงรอยพับของผ้าชิ้นเดิม ไม่ต้องห่างจากปมมากนะคะ จากนั้นก็ปักให้ผ้าชิ้นที่สองติดกับผ้าชิ้นแรก เว้นระยะห่างให้เท่ากันในแต่ละครั้ง แล้วก็พยายามเย็บให้ชิดขอบที่สุดค่ะ

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

5. ด้นถอยหลัง

การเย็บด้นถอยหลัง เป็นการเย็บที่นิยมมากเพราะง่าย สวยงาม ใช้ได้กับหลายรูปแบบ แล้วก็แข็งแรงค่ะ วิธีการก็คือ ปักเข็มขึ้นมา แล้วเว้นระยะห่างให้ได้ตามต้องการ ยิ่งสั้น ก็จะยิ่งแน่นค่ะ จากนั้นก็ปักขึ้นมา โดยเว้นระยะห่างเท่าเดิม ผ้าด้านถูกก็จะมีช่องว่างระหว่างด้ายใช่ไหมคะ นั่นแหละค่ะ ปักลงไปตรงจัดเดิม เหมือนเติมช่องให้เต็ม จากนั้นก็ปักขึ้นมาโดยเว้นระยะห่างเท่าเดิม วนแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนจบงานค่ะ เราสามารถใช้วิธีการปักแบบนี้ได้เป็นรูปตามที่เราวาดได้เลยนะคะ

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

6. ปมฝรั่งเศส

การปักปมฝรั่งเศส ซึ่งจะมีรูปร่างเป็นปมเล็กๆ แบบนี้ การปักก็คือปักเข็มขึ้นมา แล้วก็ใช้ไหมพันรอบเข็ม 2-3 รอบ แล้วก็ปักลงไปจุดเดิมค่ะ ง่าย และน่ารัก ส่วนมากจะใช้ตกแต่งงานปักทั้งหลาย หรือจะใช้เป็นเกสรดอกไม้ค่ะ

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

7. ลายปักริมผ้าห่ม

เหมือนจะยาก แต่ง่ายมากและสวยด้วย วิธีก็คือปักเข็มขึ้นมา แล้วปักลงทำมุมเฉียงค่ะ ก่อนจะดึงด้ายนั้น ให้ปักขึ้นมาตรงกับสองจุดแรก ทำมุมเป็นรูปสามเหลี่ยม แล้วสอดเข็มขึ้นมาระหว่างด้ายท่ยังไม่ตึง แล้วก็ดึงให้ตึงเลย ก็จะได้เป็นรูปมุมฉากแล้ว จากนั้นก็ปักทำมุมเฉียงเหมือนเดิมค่ะ ก่อนจะดึงด้าย ก็ให้ปักขึ้นมาแล้วก็สอดเข็มเข้าไปก่อนดึงให้ตึง ทำวนไปเรื่อยๆ ก็จะได้รูปแบบนี้ ความสูงต่ำของด้าย คุณสามารถกำหนดได้เองเลยนะคะ

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

วิธีนี้สามารถเย็บเก็บมุมผ้าก็ได้ ทำให้ผ้าติดกันแบบสวยๆ ก็ได้เช่นกันจ้า

ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการเตรียมผ้าสำหรับตัดเย็บ

Tips เย็บผ้าขั้นพื้นฐาน

  • ควรรู้ก่อนว่างานที่จะปักเป็นงานประเภทใด ขนาดใด ลายที่เลือกไม่ควรมีขนาดใหญ่ หรือเล็กเกินไป เช่น ลายที่มุมผ้ารองแก้ว รองจาน ผ้าเช็ดปาก หรือผ้าเช็ดหน้า ควรเลือกลายเล็กๆ กระจุ๋มกระจิ๋ม หากเป็นผ้าคลุมเตียงควรเลือกลายขนาดใหญ่
  • คำนึงถึงความเหมาะสมของวัสดุหรือผ้าที่ใช้ เช่น ผ้าเนื้อบางควรเลือกลายขนาดเล็ก ถ้าเป็นผ้าเนื้อหนาควรเลือกลายที่ดูมีน้ำหนักให้สมดุลกัน
  • ควรมีเข็มเตรียมไว้หลายขนาดเพื่อเลือกใช้ตามลักษณะของเนื้อผ้า
  • เวลาปักต้องดึงไหมให้พอดี ไม่ตึงหรือหย่อนเกินไป งานปักจึงจะเรียบและสวยงาม
  • สะดึงมี2 ชนิด คือ แบบกลมซึ่งมีหลายขนาด เหมาะสำหรับผ้าผืนเล็กๆ และสะดึงแบบกรอบสี่เหลี่ยมเหมาะสำหรับผ้าผืนใหญ่ๆ และการปักลายไทย
  • เข็มปักผ้ามีหลายเบอร์หลายขนาด ผ้าเนื้อหนาใช้เบอร์ 8 เนื้อบางใช้เบอร์11 

Story : Jaranya Lw

ขอบคุณภาพจาก คลังภาพบ้านและสวน
http://www.apartmenttherapy.com/how-to-sew-basic-stitches-221433 https://www.thespruce.com/stitches-every-embroiderer-should-know-4122123?utm_source=pinterest&utm_me

อ่านต่อ : มารู้จัก “ตีนผี” แต่ละประเภทกันเถอะ จะได้ใช้อย่างถูกต้อง


เป็นเพื่อนกันเราได้ใน [email protected] : https://line.me/R/ti/p/%40slo7204x

ไอเดียการเย็บผ้าขนหนูเป็นของใช้ ให้ทำได้มากกว่าการเช็ดทำความสะอาด

เย็บผ้าคลุมโซฟาใช้เอง 

เลือกซื้อ จักรเย็บผ้า ยี่ห้ออะไรดี ให้คุ้มค่า และตรงกับการใช้งาน

ขั้นตอนแรกของการเย็บผ้าคืออะไร

1. เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ 5. เย็บกันลุ่ยริมผ้า 2. วัดตัวและสร้างแบบตัด 6. เนาและลองสวมใส่ 3. วางแบบตัดและทำรอยเผื่อเย็บ 7. เย็บเสื้อกั๊กตามลำดับขั้นตอน 4. ตัดผ้าและทำเครื่องหมายบนผ้า 8. ตรวจสอบความเรียบร้อยของผลงาน

การเตรียมผ้าก่อนการตัดเย็บมีวิธีการอย่างไร

ก่อนนำผ้าฝ้ายไปตัดเย็บนั้น ควรจะมีการเตรียมเนื้อผ้าให้อยู่ในสภาพที่พร้อมสำหรับการตัดเย็บ เนื่องจากผ้าฝ้ายมักจะหดลงเมื่อซัก ดังนั้นควรแช่ผ้าฝ้ายในน้ำสะอาดท่วมผืนผ้าเพื่อให้เนื้อผ้าอ่อนตัวและกระชับแน่นเข้าจนหดตัว ระยะเวลาที่แช่นั้นควรแช่ค้างคืน หรือแช่ ๓๐-๖๐ นาที แล้วเปลี่ยนน้ำใหม่ ใส่เกลือและน้ำส้มสายชูประมาณ ๑ ช้อนโต๊ะ ...

ขั้นตอนการเย็บผ้ามีอะไรบ้าง

1. ขั้นตอนแรกใช้เข็มร้อยด้ายยาวพอสมควรผูกปมที่ปลายด้ายข้างใดข้างหนึ่งให้เป็นปม 2. ทำเครื่องหมายบนผ้าตามแบบที่ต้องการเย็บ จะใช้ชอล์กขีดผ้าหรือดินสอก็ได้ 3. เย็บโดยการแทงเข็มขึ้นและลงบนผ้าให้ระยะการแทงเข็มห่างเสมอกันเป็นแนวตรง 4. ดึงด้ายขึ้นแล้วเย็บต่อไปเหมือนเดิมจนเสร็จ

อุปกรณ์การเย็บผ้าเบื้องต้น มีอะไรบ้าง

วัสดุ-อุปกรณ์ ตัดเย็บ, งานควิลท์.
เข็มเนา, เข็มสอย, เข็มกลัด, เข็มหมุด.
เข็มจักรเล็ก, จักรอุตสาหรกรรม.
ชิปและอุปกรณ์.
ยางยืด.
กระดุม.
ผ้ากาว.
ผ้ากุ๊น.