สังข์ทองตอนกำเนิดพระสังข์ในตอนใด

การถอดคำประพันธ์ เป็นการถอดภาษาของบทร้อยกรองต่าง ๆ เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ของกวีออกมาเป็นภาษาร้อยแก้ว ซึ่งต้องอาศัยความสามารถในการเข้าใจคำ รู้ความหมายของคำ การเรียบเรียงถ้อยคำ จึงจะทำให้เข้าใจความหมายของบทร้อยกรอง และเกิดความซาบซึ้งประทับใจ  

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด    

 ท ๑.๑ ป.๕/๒ อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความที่เป็นการบรรยายและการพรรณนา                    

ท ๑.๑ ป.๕/๘ มีมารยาทในการอ่าน

จุดประสงค์                                                                                                                  

 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)                                                                                                        

๑. บอกหลักการถอดคำประพันธ์ได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)                                                                                                          

 ๒. ถอดคำประพันธ์จากเรื่อง สังข์ทอง ตอน กำเนิดพระสังข์ได้

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)                                                                                                   

��ó���� �����Ե ��ͤԴ �Ӥ� �ӹǹ ����� >>

���Ң�ҹ��鹻�ж��֡�һշ�� � � �

����͹�� ����ѧ���͹�����������
������任�����ҨԳ 㹨Ե�Դ���ŷء����
������͡���¾�������� ʧ��ü�ҹ������˹ѡ˹�
�˹�����ҡ�Ӻҡ���� ��Ѻ�Ҩ�������������
�������١��������»� �����٪��Դ������
��Фس���ź���� ���͡�����繵�ǡ���ǡ��
���Ҿҽ٧�ҡԹ���� �ͧ��������������ǩҹ
���������������·�駴Թ�ҹ �����ô�����繨������
�������ʹ�ʹ�ٷ�駫��¢�� ���������ҡ������
�͡�ҡ�ѧ���ѹ�ѹ� ��¨Ѻ���������
�ͺ�红���ˡ��赡�Թ �ѹ�Թ����Ѻ��Ѻ˹�
�����Ǵټ�餹���� ��˹�����ѧ��Ӻѧ��
�ا�����һ���������� ���ŨѴᨧ�ء���˹
���¢Ѻ���һ���Ҩ� ����ǹ��蹾�ҧ�����ҧ��

����оѹ�� - ��кҷ���稾�оط��������ҹ�����

<< ��͹��Ѻ | ˹�ҶѴ�>>

สังข์ทองตอนกำเนิดพระสังข์ในตอนใด
สังข์ทองตอนกำเนิดพระสังข์ในตอนใด
สังข์ทองตอนกำเนิดพระสังข์ในตอนใด
สังข์ทองตอนกำเนิดพระสังข์ในตอนใด

        พระสังข์ทองนำพระมารดากลับไปอยู่ที่เมืองพาราณสี พระสังข์ทอง ปกครองเมืองพาราณสีจนเจริญรุ่งเรือง กิติศัพท์แพร่ไปยังนครอื่น ๆจนถึงเมืองพรหมนคร ชาวเมืองพรหมนครก็อพยพมาอยู่เมืองพาราณสี เสนาอำมาตย์เมืองพรหมนครจึงทูลเสนอพระเจ้าพรหมทัตว่าพระสังข์ทองพระราชโอรสครองเมืองพาราณสีมีความสามารถทำให้รุ่งเรืองจึงเห็นสมควรที่จะอัญเชิญพระสังข์ทองมาครองเมืองพรหมนครเพื่อสร้างความเจริญ พระเจ้าพรหมทัตเมื่อทรงทราบว่าพระโอรสยังมีชีวิตอยู่และมีความสามารถก็ยินดี และสำนึกผิดให้อำมาตย์ผู้ใหญ่ไปเมืองพาราณสีและทูลเชิญพระสังข์ทองและพระนางจันทราเทวีกลับเมืองพรหมนคร พระสังข์ทองสงสารพระบิดาจึงอ้อนวอนพระมารดาให้อภัยพระเจ้าพรหมทัตและเดินทางกลับเมืองพรหมนคร พระเจ้าพรหมทัตก็มอบราชสมบัติให้พระสังข์ทองปกครองบ้าน เมืองเป็นสุขสืบมา

ตัวละครในเรื่องสังข์ทองตอนกำเนิดพระสังข์มีอะไรบ้าง

1. ท้าวยศวิมล (พ่อของพระสังข์) 2. นางจันท์เทวี (พระมเหสีท้าวยศวิมล, แม่ของพระสังข์) 3. นางจันทา (พระสนมท้าวยศวิมล) 18. (พระสน 4. พระสงฆ์ (วัยเด็ก) 5. พระสังข์ (วัยหนุ่ม) เลย 7. นางพันธุรัต (นางยักษ์ BBB เจ้าเงาะ (พระสังข์ในร่างเจ้าเงาะ)

สังข์ทองตอนกำเนิดพระสังข์เป็นกลอนประเภทใด

1.1.เป็นกลอนบทละคร บทหนึ่งมี 4 วรรค วรรคละ 6 คำ หนึ่งบทมี 2บาท เรียกว่าบาทเอกและบาทโท 1 บาท เท่ากับ 1 คำกลอน 2.คำขึ้นต้นบท กลอนบทละครมีคำขึ้นต้นหลายแบบ และคำขึ้นต้นนั้นไม่จำเป็นต้องมีจำนวนเท่ากับวรรคสดับ อาจจะมีเพียง 2 คำก็ได้ บทละครพระราชนิพนธ์เรื่อง สังข์ทอง มี 9 ตอน คือ กำเนิดพระสังข์

สังข์ทองมีตอนไหนบ้าง

เนื้อเรื่องของบทละครนอกเรื่องสังข์ทองแบ่งเป็นตอน ๆ รวมทั้งหมด 9 ตอน คือ กำเนิดพระสังข์ ถ่วงพระสังข์ นางพันธุรัตเลี้ยงพระสังข์ พระสังข์หนีนางพันธุรัต ท้าวสามนต์ให้นางทั้งเจ็ดเลือกคู่ พระสังข์ได้นางรจนา ท้าวสามนต์ให้ลูกเขยหาเนื้อหาปลา พระสังข์ตีคลี และท้าวยศวิมลตามพระสังข์

สังข์ทอง แต่งขึ้นเมื่อใด

บทละครนอกสังข์ทองสำนวนนี้ ไม่ปรากฏนามผู้แต่งและสมัยที่แต่ง แต่เชื่อว่าเป็นบทละครครั้งกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าคงจะแต่งเมื่อราวในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ...