สงครามครั้งสำคัญที่สุดในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นระหว่างไทยกับพม่าคือข้อใด *

ไทย-พม่ารบกันมากว่า ๓๐๐ ปี สั่งเสียครั้งสุดท้ายสมัย ร.๔! ตีเชียงตุงหวังได้สิบสองปันนา!!

เผยแพร่: 26 ก.ค. 2562 11:14   โดย: โรม บุนนาค


ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เป็นยุคที่เราเปิดประเทศต้อนรับตะวันตกทุกชาติ แต่กระนั้นก็ยังมีสงครามระหว่างไทย-พม่าอีกจนได้ ซึ่งเป็นสงครามเดียวในรัชกาลนี้ เป็นสงครามครั้งที่ ๔๔ ระหว่างไทยกับพม่า และเป็นครั้งสุดท้ายที่รบราฆ่าฟันกันตลอดมากว่า ๓๐๐ ปี

สงครามครั้งนี้ไม่ใช่พม่าเป็นฝ่ายบุกเข้ามาเหมือนส่วนใหญ่ที่รบกัน แต่ไทยบุกขึ้นไปเหนือสุดจนถึงเมืองเชียงตุง ตามคำขอของราชวงศ์เชียงรุ้งที่อพยพหนีพม่ามาขอความช่วยเหลือจากไทยในสมัยรัชกาลที่ ๓ ครั้งนั้นประเทศราชในมณฑลพายัพพากันอาสาไปตีเชียงตุง จึงโปรดให้กองทัพเชียงใหม่ ลำปาง และลำพูนยกขึ้นไปในปี ๒๓๙๒ แต่ยกไปไม่พร้อมกันทั้งยังขาดเสบียงจึงต้องเลิกทัพกลับมา จนพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯเสด็จสวรรคต เรื่องตีเมืองเชียงตุงจึงค้างอยู่
เมื่อขึ้นรัชกาลที่ ๔ เจ้าฟ้าแสนหวีได้มีสาส์นมากราบทูลว่า การจลาจลวุ่นวายในเมืองเชียงรุ้งนั้นสงบลงแล้ว ขอพระราชทานอนุญาตให้เจ้านายเชียงรุ้งที่มารอฟังข่าวอยู่ที่กรุงเทพฯถึง ๓ ปี และมีครอบครัวมาคอยอยู่ที่เมืองน่านและเมืองหลวงพระบางซึ่งอยู่ในความปกครองของไทยก็มีมาก ให้กลับคืนบ้านเมือง และเจ้าเมืองเชียงรุ้งจะถวายเครื่องราชบรรณาการ ๓ ปีครั้งอย่างประเทศราชอื่นต่อไป

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯมีพระราชดำรัสว่า ราชวงศ์เชียงรุ้งกับบริวารหนีภัยมาพึ่ง เมื่อบ้านเมืองเรียบร้อยแล้วใครประสงค์จะกลับไปก็ตามใจสมัคร ส่วนการจะตีเมืองเชียงตุงและเรื่องที่จะผูกพันกับเชียงรุ้งต่อไปอย่างไรนั้น ก็โปรดฯให้เสนาบดีปรึกษาหารือกันนำความขึ้นกราบบังคมทูล ซึ่งเหตุที่พระองค์ไม่ทรงบัญชาเรื่องนี้ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเห็นว่า การทำศึกสงครามเป็นวิชาที่พระองค์ไม่มีโอกาสได้ทรงศึกษามาเลย

ส่วนเรื่องเมืองเชียงรุ้งนั้น คงทรงเห็นเหมือนพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโหล ซึ่งเคยมีพระราชดำริมาก่อนว่า เมืองลื้อสิบสองปันนาเคยขึ้นกับพม่าและจีน และอาศัยไทยเป็นที่พึ่งเมื่อถูกพม่าหรือจีนเบียดเบียน แต่ก็ยากที่ไทยจะไปช่วยได้ เพราะหนทางไกลกันและกันดารมาก แต่จะทรงปฏิเสธก็ยาก

เผอิญในตอนนั้นอังกฤษตีเมืองพม่าเป็นครั้งที่ ๒ เห็นว่าพม่าคงจะมาช่วยเชียงตุงไม่ได้ เสนาบดีทั้งหลายจึงกราบทูลให้ถือโอกาสไปตีเชียงตุง เมื่อได้เชียงตุงแล้วก็จะได้สิบสองปันนาด้วยไม่ยาก แต่การตีครั้งนี้ควรให้มีกองทัพกรุงเทพฯขึ้นไปควบคุมกองทัพมณฑลพายัพด้วย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯจึงทรงบัญชาตามมติคณะเสนาบดี ให้เกณฑ์คนหัวเมืองพายัพ ๑๐,๐๐๐ จัดเป็น ๒ ทัพ ให้เจ้าพระยายมราช (นุช บุณยรัตพันธ์) คุมทัพหน้าไปทางเชียงใหม่ ๑ กองทัพ กับกรมหลวงวงศาธิราชสนิท เป็นจอมพล คุมทัพหลวงไปทางเมืองน่านอีกทาง สมทบกันเข้าตีเชียงตุง กองทัพที่ยกไปครั้งนี้ตีหัวเมืองรายทางได้ตลอด จนเข้าล้อมเมืองเชียงตุง แต่ก็ฝ่ากำแพงเมืองเข้าไปไม่ได้ จนขาดแคลนเสียงอาหาร ต้องถอยทัพกลับมาตั้งหลักที่เชียงแสน

ในขณะนั้นได้มีการจัดทัพแบบยุโรปขึ้นในกรุงเทพฯแล้ว คณะเสนาบดีเห็นว่าเชียงตุงอ่อนกำลังลงแล้ว ควรจะเพิ่มกำลังทัพพร้อมอาวุธยุทโธปกรณ์เข้าตีเชียงตุงให้ได้ในฤดูแล้งปี ๒๓๙๖ แต่ตอนนั้นพม่าสงบศึกกับอังกฤษแล้วจึงส่งกำลังมาเสริมทางเชียงตุง แต่ฝ่ายไทยไม่รู้ อีกทั้งกองทัพเจ้าพระยายมราชยังยกไปไม่ทันกำหนด กองทัพของกรมหลวงวงศาธิราชสนิทเลยต้องเผชิญกับกองทัพพม่าที่มีกำลังมากกว่า ต้องถอยทัพกลับมา สงครามไทย-พม่าที่ยืดเยื้อมากว่า ๓๐๐ ปีจึงสิ้นสุดลงในครั้งนี้

กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงให้ความเห็นที่ไทยตีเมืองเชียงตุงไม่สำเร็จ ก็เพราะไปทำสงครามในดินแดนของข้าศึก ซึ่งไทยไม่รู้จักภูมิประเทศ ทั้งยังประมาทไม่ขวนขวายในการสืบสวนหาข้อมูลให้สมกับกระบวนพิชัยสงคราม แต่ถึงแม้จะตีเมืองเชียงตุงได้ก็คงรักษาไว้ไม่อยู่ ด้วยเป็นดินแดนที่ห่างไทยแต่ใกล้พม่ามากกว่านั่นเอง

สงครามครั้งสำคัญที่สุดในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นระหว่างไทยกับพม่าคือข้อใด *


คะแนนเต็ม 30 คะแนน ข้อสอบมี 30 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน

1.คุณสมบัติพื้นฐานสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์คือข้อใด *

มีความรู้ทางประวัติศาสตร์.

มีจิตนาการต่อเรื่องราวต่างๆ

2.การวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักฐานชิ้นหนึ่งกับหลักฐานชิ้นอื่น มีจุดประสงค์เพื่ออะไร *

เพื่อพิจารณาความน่าเชื่อถือของหลักฐาน

เพื่อพิจารณาว่าเป็นหลักฐานปลอมหรือไม่

เพื่อพิจารณาว่าหลักฐานใดคือหลักฐานชั้นต้น

เพื่อจัดหมวดหมู่หลักฐานที่สอดคล้องกันเข้าไว้ด้วยกัน

3.ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการวิเคราะห์เรื่องราว หรือเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ *

ทำให้ได้รับการยกย่องจากคนในสังคม

ทำให้มีความคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล

ทำให้สามารถแยกแยะเรื่องราวต่างๆ ได้ดี

ทำให้มีความสามารถในการรวบรวมข้อมูล

4.จากคำกล่าวที่ว่า "รูปแบบการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น จำลองมาจากสมัยอยุธยาตอนปลาย" นักเรียนสามารถทราบได้จากอะไร *

การดำเนินชีวิตของราษฎรทั่วไป

5.รายได้หลักของราชการไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้มาจากอะไร *

6.สินค้าในข้อใดจัดเป็นสินค้าต้องห้ามในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ซึ่งห้ามนำเข้ามาจำหน่ายในราชอาณาจักร *

7.ชนชั้นใดที่เป็นเจ้าชีวิตและได้รับการยกย่องจากราษฎร ว่ามีลักษณะเป็นสมมุติเทพ และธรรมราชา *

8.ระบบศักดินาส่งผลต่อสังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ในข้อใดมากที่สุด *

เกิดระบบชนชั้นในสังคมมากที่สุด

เกิดการแบ่งอำนาจการปกครองที่ชัดเจน

เกิดการกระจายการถือกรรมสิทธิ์ในที่ดิน

ทำให้คนในสังคมมีฐานะและอภิสิทธิ์ที่เท่าเทียมกัน

9.ไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเตรียมรับศึกพม่าในสงครามเก้าทัพ แตกต่างจากสงครามครั้งก่อนๆ อย่างไร *

ยกทัพใหญ่ไปตั้งรับข้าศึกถึงชายแดน

10.ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นกับประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ถูกต้อง *

ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของการทำสงคราม

จะเป็นการค้าขายแบบถ้อยทีถ้อยอาศัย

ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมักมีชาวตะวันตกเข้ามาแทรกแซง

ไทยต้องเข้าไปช่วยไกล่เกลี่ยเพื่อยุติสงครามภายในเป็นบางครั้ง

11.การจัดตั้งสภาที่ปรึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ใด *

12.ถ้านักเรียนต้องรับผิดชอบในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตให้กับชาติตะวันตก ในสมัยรัชกาลที่ 5 ควรต้องทำตามข้อใด *

ตัดสัมพันธ์กับชาติตะวันตก

13.หัวใจสำคัญของการปฎิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 คืออะไร *

การตั้งหน่วยงานให้เหมาะสมกับบ้านเมือง

14.สนธิสัญญาบราว์ริงมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของไทยข้อใดมากที่สุด *

15.ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของการปฎิรูปการศึกษาของไทย สมัยรัชกาลที่ 5 *

เพื่อเอาใจชาติตะวันตกที่พัฒนาแล้ว

รองรับแรงงานที่กำลังขยายตัว

ให้ไทยมีความทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ

สร้างบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถเพื่อรับราชการ

16.การวางระเบียบปฎิบัติให้กับพระสงฆ์ธรรมยุตินิกาย ของสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎ เมื่อครั้งทรงผนวช ก่อให้เกิดผลสำคัญอย่างไร *

ทำให้คนไทยนิยมบวชเป็นพระสงฆ์มากขึ้น

เกิดความแตกแยกระหว่างพระสงฆ์สองนิกาย

พระสงฆ์เข้าไปมีบทบาทในการปกครองอาณาจักร

เกิดการปรับปรุงข้อวัตรปฎิบัติให้รัดกุมยิ่งขึ้นในหมู่พระสงฆ์มหานิกาย

17.ข้อใดเป็นผลจากการตราพระราชบัญญัติเกณฑ์ทหาร ร.ศ.124 *

ยกเลิกระบบไพร่โดยสิ้นเชิง

ทำให้รู้กำลังพลได้อย่างถูกต้อง

การเข้ารับราชการเป็นระบบมากขึ้น

ป้องกันผู้ที่หลบเลี่ยงการเป็นทหารได้

18.ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของสนธิสัญญาบราว์ริง *

ให้มีการเปิดเสรีทางการค้า

ไทยเก็บภาษาีสินค้าขาเข้าได้เพียงร้อยละ 3

พ่อค้าและผู้ซื้อสามารถขายสินค้าทุกชนิดได้ทั่วประเทศ

ชาวอังกฤษและคนในบังคับอังกฤษต้องขึ้นศาลกงศุลอังกฤษ

19.การที่ไทยเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ส่งผลดีต่อประเทศไทยอย่างไร *

ได้ดินแดนที่เคยเสียไปกลับคืน

ได้แก้ไขสนธิสัญญาที่เสียเปรียบ

สามารถขยายตลาดการค้าได้กว้างขวาง

ได้เงินกู้จากต่างประเทศเพื่อนำมาพัฒนาประเทศ

20.ดร.ฟรานซิส บี แซร์ เป็นผู้แทนไทยในการเจรจากับต่างประเทศในเรื่องใด *

ต่อรองลดราคาค่าปฎิกรรมสงคราม

แก่ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค

ขอปรับปรุงเส้นเขตแดนกับฝรั่งเศษ

21.สาเหตุสำคัญที่ทำให้คณะราษฎ์ ยึดอำนาจเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 คือข้อใด *

ความกลัวจะเสียอำนาจของขุนนาง

22.การจัดตั้งขบวนการเสรีไทยของคนไทยผู้รักชาติ ส่งผลดีต่อชาวไทย ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงอย่างไร *

23เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงต้องมีการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ *

เป็นแนวทางการบริหารงานของรัฐบาล

เป็นแนวทางสำหรับการลงทุนในอนาคต

เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบ

เป็นแนวทางในการจัดสรรและใช้ทรัพยากรให่เกิดประโยชน์สูงสุด

24.ข้อใดเป็นพื้นฐานทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย *

พระมหากษัตริย์ ประชาธิปไตย

25.จากพระราชนิพนธ์ เรื่องพระมหาชนก คนไทยสามารถนำเรื่องใดไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน *

26.ทุกข้อกล่าวถึงที่ตั้งของทวีปยุโรบได้ถูกต้อง ยกเว้นข้อใด *

27.ความพยายามที่จะล้มเลิกระบบเก่าก่อนการปฎิวัติฝรั่งเศษ กระทำขึ้นเพื่อเหตุผลในข้อใด *

เพื่อจัดกฎหมายให้เป็นระบบ

เพื่อความเสมอภาคทางสังคมและการเมือง

เพื่อลดอำนาจความขัดแย้งของสภาฐานันดร

28.การสำรวจทางทะเลและการแสงหาอาณานิคม ส่งผลดีต่อการปฎิวัติอุตสาหกรรมในลักษณะใด *

มีแหล่งวัตถุดิบและตลาดสินค้ามาก

มีการคมนาคมติดต่อถึงกันทั่วโลก

มีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างทวีปยุโรบกับทวีปเอเชีย

29.สงครามกลางเมืองอเมริกัน คศ.1861-1865 มีสาเหตุสำคัญมาจากอะไร *

การแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติ

ความไม่พอใจเรื่องสีผิวและเชื้อชาติ

30."มูลาตโต" เป็นคำที่ใช้เรียกพวกที่มีเชื้อชาติผสมระหว่างข้อใด *

ห้ามส่งรหัสผ่านใน Google ฟอร์ม

สงครามครั้งสำคัญที่สุดในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นระหว่างไทยกับพม่าคือข้อใด

สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น อยู่ในลักษณะทำสงครามสู้รบกัน โดยไทยทำสงครามกับพม่ารวมทั้งสิ้น 10 ครั้ง สงครามครั้งที่มีความสำคัญที่สุดคือ สงครามเก้าทัพ ใน พ.ศ. 2328 แต่เมื่อพม่าเผชิญหน้ากับการคุกคามของลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก คือ ประเทศอังกฤษ ในเวลาต่อมาก็ไม่ได้ยกทัพมาสู้รบกับไทยอีก

สงครามครั้งสำคัญที่สุดระหว่างไทยกับพม่า คือสงครามใด

“ถ้าหากจะพูดถึงบรรดาสงครามที่กองทัพไทยต้องสู้รบกับกองทัพพม่า ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ สงคราม ๙ ทัพ นับว่าเป็นศึกที่ยิ่งใหญ่และถูกล่าวถึงมากที่สุดครั้งหนึ่ง…

สงครามครั้งสำคัญช่วงต้นสมัยรัตนโกสินทร์มีชื่อว่าอะไร

ภาคที่ 1 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก -- สงครามครั้งแรกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ สงคราม 9 ทัพ -- ครั้งที่ 2 ยึดปัตตานี สงครามต่อเนื่องจากคราศึกเก้าทัพ -- ครั้งที่ 3 พม่ากลับมาใหม่ในสงคราม "ท่าดินแดง" -- ครั้งที่ 4 รบพม่าที่ลำปางและป่าซาง -- ครั้งที่ 5 ไทยรุกพม่าที่เมืองทวาย -- ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2334 ปราบกบฏรายา ...

สงครามสำคัญในสมัยรัชกาลที่ 3 ที่รัตนโกสินทร์ส่งกองทัพไปตีเมืองประเทศราชคือข้อใด

สงครามตีเมืองทวาย (สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3) สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 เสด็จไปตีเมืองทวายซึ่งตั้งแข็งเมืองต่อกรุงศรีอยุธยาและทรงได้รับชัยชนะ