จุดมุ่งหมายที่ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยอยุธยาในระยะแรกนั้นคือเรื่องใด

                         ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรอยุธยากับชาติตะวันตก

จุดมุ่งหมายที่ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยอยุธยาในระยะแรกนั้นคือเรื่องใด

     1. โปรตุเกส ส่งทูตมาเจรจาทำสัญญาฉบับแรกกับกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. 2059 ตรงกับสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทำให้ชาวโปรตุเกส ได้สิทธิพิเศษด้านการค้า การตั้งถิ่นฐานในกรุงศรีอยุธยา การทำสัญญาดังกล่าวทำให้การค้าระหว่างกรุงศรีอยุธยากับโปรตุเกสเฟื่องฟูขึ้น จนกรุงศรีอยุธยากลายเป็นแหล่งสินค้าสำคัญสำหรับพ่อค้าโปรตุเกส  

จุดมุ่งหมายที่ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยอยุธยาในระยะแรกนั้นคือเรื่องใด

        2. สเปน ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับสเปนเริ่มต้นในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ได้มีทูตของสเปนเดินทางมายังกรุงศรีอยุธยาเพื่อทำสัญญาสัมพันธไมตรีและการค้า โดยฝ่ายกรุงศรีอยุธยาอนุญาตให้สเปนตั้งสถานีการค้าบนฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา แต่การค้าระหว่างกรุงศรีอยุธยากับสเปน 

จุดมุ่งหมายที่ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยอยุธยาในระยะแรกนั้นคือเรื่องใด

   3. ฮอลันดา พ.ศ. 2146 ฮอลันดาได้เข้ามาตั้งสถานีการค้าที่ปัตตานี ซึ่งเป็นเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ฮอลันดาจึงส่งทูตเข้ามาติดต่อกับกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อขอตั้งสถานีการค้า แต่การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับฮอลันดาในระยะหลัง ไม่ค่อยราบรื่นนัก ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับฮอลันดาเสื่อมลงตามลำดับ จนฮอลันดาต้องปิดสถานีการค้าไปในที่สุด 

จุดมุ่งหมายที่ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยอยุธยาในระยะแรกนั้นคือเรื่องใด

     4. อังกฤษ อังกฤษเริ่มเข้ามาติดต่อกับกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. 2155 ตรงกับสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม โดยต้องการเจริญสัมพันธไมตรีและการค้ากับไทย แต่การค้าของอังกฤษไม่ค่อยประสบผลสำเร็จมากนัก ถึงแม้ว่าสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจะทรงให้อังกฤษเข้ามาค้าขายเพื่อถ่วงดุลอำนาจของฮอลันดาก็ตาม ในปลายสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อังกฤษมีเรื่องบาดหมางกับไทย เพราะอังกฤษไม่พอใจออกญาวิไชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ขุนนางไทยเชื้อสายกรีก จึงมีอำนาจควบคุมพระคลังสินค้า อังกฤษกล่าวหาว่าออกญาวิไชเยนทร์ทำการค้าแข่งกับอังกฤษ ในที่สุดเกิดสงครามระหว่างไทยกับอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2230 ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับอังกฤษจึงยุติลง 

จุดมุ่งหมายที่ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยอยุธยาในระยะแรกนั้นคือเรื่องใด

     5. ฝรั่งเศส สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงต้องการให้ฝรั่งเศสเป็นพันธมิตรกับกรุงศรีอยุธยา เพื่อถ่วงดุลอำนาจของฮอลันดา ซึ่งมีท่าทีคุกคามไทย จึงมีการติดต่อทางการค้าและทางการทูตกัน พ่อค้าฝรั่งเศสได้เข้ามาตั้งสถานีการค้าในอยุธยาเป็นครั้งแรก ทางฝรั่งเศสได้จัดส่งคณะทูตชุดใหญ่ ซึ่งมี เชอวาเลีย เดอ โชมองต์ เป็นหัวหน้าเดินทางมาเยือนกรุงศรีอยุธยา ต่อมาภายหลังกรุงศรีอยุธยาได้ส่งออกพระวิสุทธสุนทร (โกษาปาน) ราชทูตไทย ไปเจริญสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศสและได้เข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ที่พระราชวังแวร์ซายส์ เมื่อเดินทางกลับกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2230 ฝรั่งเศสได้จัดส่งกองทหารมาประจำที่เมืองมะริดและบางกอก มีจุดประสงค์ที่จะยึดเมืองทั้งสองไว้ แต่สมเด็จพระเพทราชาได้ทำการต่อต้านจนมีการสู้รบกับทหารของฝรั่งเศส ต่อมามีการเจรจาสงบศึกกันได้โดยทหารและชาวฝรั่งเศสต้องออกไปนอกอาณาจักร 

จุดมุ่งหมายที่ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยอยุธยาในระยะแรกนั้นคือเรื่องใด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จุดมุ่งหมายที่ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยอยุธยาในระยะแรกนั้นคือเรื่องใด

ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ (ฝรั่งเศส: Simon de La Loubère; 21 เมษายน พ.ศ. 2185-26 มีนาคม พ.ศ. 2272) เป็นราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ได้เดินทางมาประเทศไทยในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับไทย โดยเดินทางมาที่กรุงศรีอยุธยาพร้อมกับเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) และทหารของฝรั่งเศสจำนวนประมาณ 600 คน

เดอ ลา ลูแบร์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะทูตฝรั่งเศสร่วมกับโกลด เซเบอแร ดูว์ บูแล (Claude Céberet du Boullay) เดินทางมาอยุธยาเพื่อเจรจาเรื่องศาสนาและการค้าของฝรั่งเศสในอาณาจักรอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2230 ในการเจรจานั้นอยุธยาไม่สู้จักยินยอมรับข้อเสนอของฝรั่งเศส ทำให้เสียเวลาในการเจรจาหลายสัปดาห์ ในที่สุดฝ่ายไทยก็ยินยอมรับข้อเสนอตามความประสงค์ของฝรั่งเศสและทั้งสองฝ่ายได้ลงนามในสัญญาการค้าที่เมืองลพบุรีเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม

นอกจากจะเป็นหัวหน้าคณะทูตจากฝรั่งเศสแล้ว เดอ ลา ลูแบร์ ยังได้รับคำสั่งให้สังเกตเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับอาณาจักรอยุธยาและบันทึกข้อสังเกตทั้งหลายเหล่านั้นกลับไปรายงานให้ราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ได้รับทราบด้วย จดหมายเหตุเหล่านี้ได้กลายเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีคุณค่าต่อแวดวงวิชาประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา เพราะกล่าวถึงชีวิตความเป็นอยู่ สังคม ประเพณี ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม หลายสิ่งหลายอย่างของคนในสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงนับได้ว่าเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีจารึกเป็นลายลักษณ์อักษร

ผลงาน[แก้]

  • Du Royaume de Siam, 1691 ลิงก์
  • Traité de l'origine des jeux floraux de Toulouse (1715)
  • De la Résolution des équations, ou de l'Extraction de leurs racines, 1732 ลิงก์

อ้างอิง[แก้]

  • จุดประกาย Archived 2007-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน กรุงเทพธุรกิจ
  • Simon de La Loubère Archived 2007-08-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Du Royaume de Siam, 1691 Full text
  • Traité de l'origine des jeux floraux de Toulouse (1715)
  • De la Résolution des équations, ou de l'Extraction de leurs racines, 1732 Full text

ข้อใดเป็นจุดมุ่งหมายหลักของฝรั่งเศสในการเจริญราชไมตรีกับไทยในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

ปานได้บรรดาศักดิ์ ออกพระวิสุทธสุนทร และได้รับแต่งตั้งเป็นทูตออกไปเจริญสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศส ในสมัยดังกล่าว ฝรั่งเศสมีอิทธิพลในราชสำนักของพระนารายณ์มาก จุดประสงค์ของฝรั่งเศสคือเผยแพร่คริสต์ศาสนา และพยายามให้พระนารายณ์เข้ารีตเป็นคริสตชน รวมทั้งพยายามมีอำนาจทางการเมืองในอยุธยาด้วยการเจรจาขอตั้งกำลังทหารของตนที่เมือง ...

จุดประสงค์แรกที่ฮอลันดาเข้ามาติดต่อกับอยุธยาคืออะไร

15. จุดประสงค์แรกที่ฮอลันดาเข้ามาติดต่อกับอยุธยา คืออะไร เป็นไมตรีและตั้งสถานีการค้าที่เมืองปัตตานี และใช้ไทยเป็นสะพานติดต่อกับจีนและอินเดีย 16. สมเด็จพระนารายณ์ทรงดำเนินนโยบายอย่างไรต่อการกระทำของฮอลันดาที่มีต่อความมั่นคงและ ปลอดภัยของอยุธยา

ลาลูแบร์เดินทางเข้ามาในอยุธยาด้วยจุดประสงค์ใด

เดอ ลา ลูแบร์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะทูตฝรั่งเศสร่วมกับโกลด เซเบอแร ดูว์ บูแล (Claude Céberet du Boullay) เดินทางมาอยุธยาเพื่อเจรจาเรื่องศาสนาและการค้าของฝรั่งเศสในอาณาจักรอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2230 ในการเจรจานั้นอยุธยาไม่สู้จักยินยอมรับข้อเสนอของฝรั่งเศส ทำให้เสียเวลาในการเจรจาหลายสัปดาห์ ในที่สุดฝ่ายไทยก็ยินยอม ...

อยุธยากับฝรั่งเศสมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับฝรั่งเศสเริ่มขึ้นจากการเผยแผ่ศาสนาคริสต์ ซึ่งฝรั่งเศสในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ได้สนับสนุนให้มีการส่งคณะผู้สอนศาสนาเดินทางไปเผยแผ่ศาสนาคริสต์ในเอเชีย ซึ่งชุดแรกได้มาถึงกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2205 (ค.ศ. 1662) ต้นรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช “สังฆราช” เอลิโอโปลิสและ “สังฆราช” เดอ บริธ ได้เฝ้า ...

ข้อใดเป็นจุดมุ่งหมายหลักของฝรั่งเศสในการเจริญราชไมตรีกับไทยในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จุดประสงค์แรกที่ฮอลันดาเข้ามาติดต่อกับอยุธยาคืออะไร ลาลูแบร์เดินทางเข้ามาในอยุธยาด้วยจุดประสงค์ใด อยุธยากับฝรั่งเศสมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ลาลูแบร์ เดินทางเข้ามาอยุธยาด้วยจุดประสงค์ด้านใด ความสัมพันธ์ไทย-ฝรั่งเศสสมัยอยุธยา ชาวต่างชาติที่เข้ามาในสมัยอยุธยา ได้แก่ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์สัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศสต้องการคานอำนาจชาติใด เปรียบเทียบ การปกครอง ไทยกับฝรั่งเศส ชาวตะวันตกชาติแรกที่เข้ามาติดต่อค้าขายกับอยุธยา คือชาติใด