ผู้แต่งเรื่อง อิศรญาณภาษิต ทรงผนวชที่วัดใด

ใครทราบประวัติของ หม่อมเจ้าอิศรญาณบ้าง

ตั้งกระทู้ใหม่

ตั้งกระทู้ใหม่

  • ·
  • ·
  • ·
  • ·
  • ·
  • ·

คือเราเรียนอยู่ม.3 อาจารย์เค้าให้หาประวัติน่ะ


แต่มาหาทางเนตละ ไม่เหนมีเลยอ่ะ

ถ้าใครรู้ก็ช่วยบอกด้วยละกันน้ะค่ะ

ขอบคุนจร้า

ผู้แต่งเรื่อง อิศรญาณภาษิต ทรงผนวชที่วัดใด

ตั่งโอ๋

7 พ.ย. 51 เวลา 23:25 น.

0

like

2,054

views

Facebook Twitter

รายชื่อผู้ถูกใจกระทู้นี้ คน

ยกเลิก

ฟ้าใสกะแป้งดำ 20 พ.ย. 51 เวลา 11:28 น. 3

อิศรญาณภาษิต

ความเป็นมา

อิศรญาณภาษิตเรียกอีกอย่างว่า “เพลงยาวอิศรญาณ” เป็นพระนิพนธ์ของหม่อมเจ้าอิศร
ญาณ ซึ่งเล่ากันว่าเป็นผู้มีพระจริตไม่ปกติ ครั้งหนึ่งพระองค์ได้ทำสิ่งวิปริตไปแล้วพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสบริภาษว่าเป็นบ้า ทำให้ใครๆ ก็พากันเห็นด้วยกับพระราชดำรัสนั้น ด้วยความน้อยพระทัยของหม่อมเจ้าอิศรญาณจึงทรงนิพนธ์เพลงยาวฉบับนี้ขึ้น

ประวัติผู้แต่ง
หม่อมเจ้าอิศรญาณ (ไม่ทราบพระนามเดิม) เป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวง
มหิศวรินทรามเรศ พระองค์ทรงผนวชที่วัดบวรนิเวศ ได้พระนามฉายาว่า อิสสรญาโณ มีพระชนม์ชีพ
อยู่ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

เรื่องย่อ
อิศรญาณภาษิตมีเนื้อหาที่เป็นคำสั่งสอนแบบเตือนสติ และแนะนำเกี่ยวกับการประพฤติ
ปฏิบัติให้เป็นที่พอใจของผู้อื่น โดยเฉพาะผู้ที่มีอำนาจมากกว่า สอนว่าควรจะทำอย่างไรจึงจะอยู่ใน
สังคมได้โดยปราศจากภัยแก่ตน ทำอย่างไรจึงจะประสบความสำเร็จสมหวัง บางตอนก็เน้นเรื่องการ
เห็นคุณค่าและความสำคัญของผู้อื่น โดยไม่สบประมาทหรือดูแคลนกัน โดยทั้งนี้ การสอนบางครั้ง
อาจเป็นการบอกตรงๆ หรือบางครั้งก็สอนโดยคำประชดประชันเหน็บแนม

ลักษณะคำประพันธ์
เรื่องอิศรญาณภาษิตนี้แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภท กลอนเพลงยาว ซึ่งมีลักษณะบังคับ
เหมือนกลอนสุภาพ แต่จะขึ้นบทแรกด้วยวรรครับ&nbsp และจบด้วยคำว่า เอย ดังนี้

๏ อิศรญาณชาญกลอนอักษรสาร
เทศนาคำไทยให้เป็นทาน&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp โดยตำนานศุภอรรถสวัสดี
………………………….&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp …………………………..
แสนประเสริฐเลิศภพจบธาตรี&nbsp  ยังจรลีเข้าสู่นิพพานเอยฯ




เนื้อเรื่อง
มีผู้สันนิษฐานว่าอิศรญาณภาษิตนี้ ไม่ใช่พระนิพนธ์ของหม่อมเจ้าอิศรญาณแต่เพียงผู้เดียว
หากแต่ทรงนิพนธ์ไว้เพียงตอนแรกเท่านั้น กล่าวคือ สันนิษฐานว่าทรงนิพนธ์ถึงวรรคว่า “ปุถุชนรักกับ
ชังไม่ยั่งยืน” ซึ่งมีลีลาการแต่งไว้ด้วยน้ำเสียงเหน็บแนมประชดประชันอย่างรุนแรง ชัดเจนส่วนที่เหลือเป็นของผู้อื่นแต่งต่อ โดยเป็นการสอนเรื่องทั่วๆ ไป มีลีลาหรือท่วงทำนองแบบเรียบๆ มุ่งสั่งสอนตามปกติของผู้มีประสบการณ์ในเรื่องต่างๆ ซึ่งได้นำมาเรียบเรียงไว้ทั้งหมด เพื่อให้นักเรียนได้เปรียบเทียบสำนวนกลอนได้

0 0
ถูกใจ ตอบกลับ เมนู

  • แก้ไข
  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด

-*-* 23 ธ.ค. 51 เวลา 18:21 น. 8

อิศรญาณภาษิต

ความเป็นมา

อิศรญาณภาษิตเรียกอีกอย่างว่า “เพลงยาวอิศรญาณ” เป็นพระนิพนธ์ของหม่อมเจ้าอิศร
ญาณ ซึ่งเล่ากันว่าเป็นผู้มีพระจริตไม่ปกติ ครั้งหนึ่งพระองค์ได้ทำสิ่งวิปริตไปแล้วพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรัสบริภาษว่าเป็นบ้า ทำให้ใครๆ ก็พากันเห็นด้วยกับพระราชดำรัสนั้น ด้วยความน้อยพระทัยของหม่อมเจ้าอิศรญาณจึงทรงนิพนธ์เพลงยาวฉบับนี้ขึ้น

ประวัติผู้แต่ง
หม่อมเจ้าอิศรญาณ (ไม่ทราบพระนามเดิม) เป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวง
มหิศวรินทรามเรศ พระองค์ทรงผนวชที่วัดบวรนิเวศ ได้พระนามฉายาว่า อิสสรญาโณ มีพระชนม์ชีพ
อยู่ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

เรื่องย่อ
อิศรญาณภาษิตมีเนื้อหาที่เป็นคำสั่งสอนแบบเตือนสติ และแนะนำเกี่ยวกับการประพฤติ
ปฏิบัติให้เป็นที่พอใจของผู้อื่น โดยเฉพาะผู้ที่มีอำนาจมากกว่า สอนว่าควรจะทำอย่างไรจึงจะอยู่ใน
สังคมได้โดยปราศจากภัยแก่ตน ทำอย่างไรจึงจะประสบความสำเร็จสมหวัง บางตอนก็เน้นเรื่องการ
เห็นคุณค่าและความสำคัญของผู้อื่น โดยไม่สบประมาทหรือดูแคลนกัน โดยทั้งนี้ การสอนบางครั้ง
อาจเป็นการบอกตรงๆ หรือบางครั้งก็สอนโดยคำประชดประชันเหน็บแนม

ลักษณะคำประพันธ์
เรื่องอิศรญาณภาษิตนี้แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภท กลอนเพลงยาว ซึ่งมีลักษณะบังคับ
เหมือนกลอนสุภาพ แต่จะขึ้นบทแรกด้วยวรรครับ&nbsp และจบด้วยคำว่า เอย ดังนี้

๏ อิศรญาณชาญกลอนอักษรสาร
เทศนาคำไทยให้เป็นทาน&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp โดยตำนานศุภอรรถสวัสดี
………………………….&nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp &nbsp …………………………..
แสนประเสริฐเลิศภพจบธาตรี&nbsp  ยังจรลีเข้าสู่นิพพานเอยฯ




เนื้อเรื่อง
มีผู้สันนิษฐานว่าอิศรญาณภาษิตนี้ ไม่ใช่พระนิพนธ์ของหม่อมเจ้าอิศรญาณแต่เพียงผู้เดียว
หากแต่ทรงนิพนธ์ไว้เพียงตอนแรกเท่านั้น กล่าวคือ สันนิษฐานว่าทรงนิพนธ์ถึงวรรคว่า “ปุถุชนรักกับ
ชังไม่ยั่งยืน” ซึ่งมีลีลาการแต่งไว้ด้วยน้ำเสียงเหน็บแนมประชดประชันอย่างรุนแรง ชัดเจนส่วนที่เหลือเป็นของผู้อื่นแต่งต่อ โดยเป็นการสอนเรื่องทั่วๆ ไป มีลีลาหรือท่วงทำนองแบบเรียบๆ มุ่งสั่งสอนตามปกติของผู้มีประสบการณ์ในเรื่องต่างๆ ซึ่งได้นำมาเรียบเรียงไว้ทั้งหมด เพื่อให้นักเรียนได้เปรียบเทียบสำนวนกลอนได้

0 0
ถูกใจ ตอบกลับ เมนู

  • แก้ไข
  • แจ้งลบ
  • ปักหมุด