ความรับผิดชอบต่อผู้อื่นคืออะไร

บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำคัญในการดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม การกำกับดูแลกิจการที่ดี และยึดถือในความถูกต้อง โปร่งใส และคำนึงถึงผลประโยชน์และผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ซึ่งในปีที่ผ่านมาบริษัทฯ มุ่งเน้นในการดำเนินงานด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการธุรกิจ (CSR – in – Process) โดยครอบคลุมในเรื่องสิทธิมนุษยชน สิทธิแรงงานตามกฎหมาย การดำเนินธุรกิจที่เป็นธรรม การสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี และการดูแลความปลอดภัยให้แก่พนักงานของบริษัทฯ ไปจนถึงการพัฒนาบริการที่มีคุณภาพให้แก่ลูกค้าของบริษัทฯ ภายใต้หลักการตามแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้

1. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม
2. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน
3. การเคารพสิทธิมนุษยชน
4. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม
5. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
6. การดูแลสิ่งแวดล้อม
7. การร่วมพัฒนาชุมชนหรือสังคม

Home » ความรับผิดชอบต่อสังคม

1

การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม

บริษัทฯ มีแนวทางในการดำเนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรมโดยได้กำหนดขึ้นเป็นนโยบายหลักเกณฑ์ และมาตรฐานในการประพฤติ ปฏิบัติ ซึ่งกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนต้องถือปฏิบัติ อันได้แก่ นโยบายการกำกับดูแลกิจการ และคู่มือจริยธรรมธุรกิจ ซึ่งครอบคลุมถึงการดำเนินการดูแลผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มของบริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการบริษัท จะทำหน้าที่ในการกำกับดูแลให้บริษัทฯ มีการดำเนินงาน และปฏิบัติตามนโยบาย และคู่มือดังกล่าวอย่างเคร่งครัด

2

การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน

บริษัทฯ ยึดมั่นในการดำเนินธุรกิจอย่างถูกต้อง ตรงไปตรงมา ซื่อสัตย์ โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้ง จะไม่ปฏิบัติ หรือไม่สนับสนุนการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย และขัดต่อนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชัน

3

การเคารพสิทธิมนุษยชน

บริษัทฯ ยึดถือหลักสิทธิมนุษยชนเป็นหลักในการปฏิบัติงานร่วมกัน โดยพนักงานทุกคนจะต้องเคารพหลักสิทธิมนุษยชน โดยการปฏิบัติต่อกันอย่างเท่าเทียม และปราศจากการเลือกปฏิบัติ โดยกำหนดเป็นนโยบายและแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อให้พนักงานทุกคนยึดถือปฏิบัติ

4

การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม

บริษัทฯ ตระหนักดีว่าพนักงานเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า อันเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างความสำเร็จขององค์กร ดังนั้น บริษัทฯ จึงให้คำมั่นสัญญาว่าจะปฏิบัติต่อพนักงานตามหลักสิทธิมนุษยชน ซึ่งไม่ขัดต่อกฎหมาย โดยคำนึงถึงความต้องการ  ของพนักงาน เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะ และสร้างความมั่นคง รวมไปถึง ความก้าวหน้าในอาชีพให้แก่พนักงาน ซึ่งได้กำหนดเป็นนโยบายและแนวทางในการปฏิบัติต่อพนักงาน ได้แก่ นโยบายแนวปฏิบัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และ นโยบายและแนวปฏิบัติการสรรหา การบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการ การพัฒนาและการปฏิบัติต่อพนักงาน

5

ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค

บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะส่งมอบบริการเพื่อความพึงพอใจของ
ผู้บริโภค และประโยชน์สูงสุดของลูกค้า ผ่านการบริการที่มีประสิทธิภาพ โดยกำหนดเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อ
ผู้บริโภค ดังนี้

1-มุ่งมั่นพัฒนา และสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อให้ได้มาซึ่งการบริการที่ทันสมัยตรงตามความต้องการ

2-ต้องไม่กระทำการใดอันเป็นการหลอกลวง หรือทำให้หลงเชื่อในคุณภาพสินค้าและบริการ

3-มีระบบการจัดเก็บข้อมูลลูกค้า/ผู้ที่เกี่ยวข้อง และป้องกันความปลอดภัยในการนำข้อมูลไปใช้อย่างไม่ถูกต้อง

4-มีช่องทางในการรับข้อเสนอแนะ ให้คำปรึกษา และรับเรื่องร้องเรียน เพื่อให้ผู้บริโภคพึงพอใจ และได้รับประโยชน์สูงสุดจากการใช้บริการ

6

การดูแลสิ่งแวดล้อม

บริษัทฯ ให้ความสำคัญถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมไปถึงการ
มุ่งมั่น ที่จะส่งเสริมให้พนักงานมีจิตสำนึก และ
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม โดยกำหนดเป็น
แนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้

1-ปลูกฝังจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ ให้กับพนักงานทุกระดับ

2-สนับสนุนและส่งเสริม ให้มีการใช้วัสดุ หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

3-สนับสนุนการแบ่งปันข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งในและนอกประเทศ อันเป็นประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม

7

การร่วมพัฒนาชุมชนหรือสังคม

บริษัทฯ ให้ความสำคัญต่อความปลอดภัยของชุมชม และสังคม และมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมให้พนักงานมีจิตสำนึก และความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน พร้อมทั้ง ให้ความสำคัญต่อการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิต และความเจริญแก่ชุมชน โดยกำหนดเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังนี้

ความรับผิดชอบต่อตนเอง หมายถึง การรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง รู้จักแก้ปัญหาทุกชนิดที่ทำให้ตนเองเป็นทุกข์ เช่น การรักษาป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากอันตราย โรคภัยไข้เจ็บ รักษาร่างกายให้แข็งแรง และปฏิบัติหน้าที่การงานของตนเองให้ลุล่วงไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทันและตรงเวลา

ความรับผิดชอบต่อตนเอง หมายถึง พฤติกรรมการรู้จักระมัดระวังรักษาสุขภาพอนามัยของตนเองให้สมบูรณ์ ปลอดภัยจากอันตรายอยู่เสมอ รู้จักประพฤติปฏิบัติให้เหมาะสม ละเว้นความชั่ว รู้จักประมาณในการใช้จ่ายและมีความประหยัด สามารถจัดหาเครื่องอุปโภคบริโภคสำหรับตนเองได้อย่างเหมาะสม ถูกกาลเทศะในแต่ละวัย สำนึกในบทบาทและหน้าที่ของตน หมั่นใฝ่หาความรู้และฝึกฝนตนเองให้มีประสบการณ์ในด้านต่างๆ จนประสบความสำเร็จในการดำรงชีวิต ยอมรับผลการกระทำของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย ไม่ปัดความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองให้แก่คนอื่น ไตร่ตรองให้รอบคอบว่าสิ่งที่ทำลงไปนั้นจะเกิดผลเสียหายขึ้นหรือไม่ ปฏิบัติแต่สิ่งที่ทำให้เกิดผลดี และพร้อมที่จะปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ได้ผลดียิ่งขึ้น

การมีความรับผิดชอบต่อตนเอง หมายถึง การรับรู้บทบาทของตนเองที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม จะต้องดำรงตนให้อยู่ในฐานะที่สามารถช่วยตนเองได้ รู้ว่าอะไรผิด อะไรถูก ยอมรับผลการกระทำของตน ทั้งที่เป็นผลดี และผลเสีย

ความรับผิดชอบต่อผู้อื่นมีอะไรบ้าง

2.2 ความรับผิดชอบต่อ เพื่อน ไดแก่ การให้ค วามรัก แก่เพื่อนเปรียบเสมือนพี่น ้อ งของตน ตัก เตือนเมื่อเพื่อนกระทํา ผิดคอยแนะนํา ให้เพื่อนกระทํา ในสิ่งที่ถูก ต้อ ง ช่ว ยเพื่อนอย่า งเหมาะสมและถูกต้อง ไม่เ อารัด เอาเปรียบ ให้อภัยในกรณีที่เ กิดความผิดพลาดหรือบาดหมางกัน ใช้ถ้อยคําสุภ าพต่อ กันด้วยความอ่อ นโยน

ความรับผิดชอบมีอะไรบ้างเช่น

1. ความรับผิดชอบต่อตนเอง ได้แก่ 1.1 ความรับผิดชอบในการรักษาสุขภาพอนามัย 1.2 ความรับผิดชอบในการจัดหาเครื่องอุปโภค บริโภค 1.3 ความรับผิดชอบด้านสติปัญญาและความสามารถ 1.4 ความรับผิดชอบในด้านความประพฤติ 1.5 ความรับผิดชอบด้านมนุษยสัมพันธ์ 1.6 ความรับผิดชอบด้านเศรษฐกิจส่วนตัว 1.7 ความรับผิดชอบด้านการงานที่ได้รับมอบหมาย

ความรับผิดชอบต่อหน้าที่มีความหมายอย่างไร

Responsibility แปลตรงตามศัพท์คือความสามารถในการตอบสนอง (Response) ผู้ใหญ่สั่งฉันก็ทำ แต่จะจบท่าไหนก็ไม่รู้ล่ะ Accountability คือความตระหนักในพันธะหน้าที่ว่าต้องรับผิด และรับชอบ ในสิ่งที่กระทำไป ซึ่งตรงนี้แหล่ะที่เรามักจะไม่รับผิดในสิ่งที่ทำไป จึงเป็นที่มาของการกล่าวข้างต้น ความรับผิดชอบนั้นมีได้หลายระดับตั้งแต่

คนที่มีความรับผิดชอบมีลักษณะอย่างไร

- คนที่มีความรับผิดชอบย่อมทำงานทุกอย่างสำเร็จตามเป้าหมายได้ทันเวลา - คนมีความรับผิดชอบย่อมเป็นที่นับถือ ได้รับการยกย่อง สรรเสริญและเป็นประโยชน์ต่อตนเองและต่อสังคม - ความรับผิดชอบเป็นสิ่งเกื้อหนุนให้บุคคลปฏิบัติงานสอดคล้องกับกฎหมาย คุณธรรม จริยธรรม และหลักเกณฑ์ของสังคม โดยไม่มีการบังคับจากผู้อื่น