ขั้นตอนแรกของการทำแฟ้มสะสมผลงานคือขั้นตอนใด

ขั้นตอนแรกของการทำแฟ้มสะสมผลงานคือขั้นตอนใด

Portfolioมีอะไรบ้าง

องค์ประกอบของ Portfolio ที่ใช้ในการยื่นเข้า
มหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง?

ขั้นตอนแรกของการทำแฟ้มสะสมผลงานคือขั้นตอนใด

                Portfolio หรือ แฟ้มสะสมผลงาน ถือว่าเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยที่เราต้องเข้าเรียนนั้นได้รู้จักเรามากขึ้น เกี่ยวกับข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับตัวเรา เช่น ชื่ออะไร ที่อยู่ปัจจุบัน เรียนอยู่ที่ไหน เคยทำอะไรมาบ้าง เกรดเฉลี่ยเท่าไหร่ ถนัดอะไร เพื่อที่อาจารย์หรือคนสัมภาษณ์จะสามารถประเมินตัวเราแบบคร่าว ๆได้ ดังนั้นแฟ้มเล่มเล็ก ๆ นี่แหละจะเป็นส่วนสำคัญมากที่จะช่วยให้เราได้เข้าไปเรียนในคณะและในมหาวิทยาลัยที่เราใฝ่ฝันไว้ได้

                สำหรับ Portfolio ที่ดีนั้น ไม่ควรมีแต่ตัวหนังสือบรรยายอยู่อย่างเดียว เพราะอาจจะทำให้ Portfolio ของน้อง ๆ ไม่โดนใจคณะกรรมการของมหาวิทยาลัยได้ ส่วนกิจกรรมไหนที่เคยทำ หรือกิจกรรมไหนที่เคยเข้าร่วม หากมีภาพเหล่านั้นก็ควรใส่ลงด้วย แล้วเขียนคำอธิบายใต้ภาพว่างานนี้คือกิจกรรมอะไร เพื่อช่วยให้ Portfolio ของเรามีความน่าสนใจมากขึ้น เพื่อให้น้อง ๆ ได้รู้ว่า Portfolioมีอะไรบ้าง วันนี้เรามาลองดูกันซิว่าใน Portfolio หรือ แฟ้มสะสมผลงาน 1 แฟ้ม จะมีองค์ประกอบหลัก ๆ ที่ใช้ในการยื่นสอบเข้ามหาวิทยาลัยอะไรบ้าง

ขั้นตอนแรกของการทำแฟ้มสะสมผลงานคือขั้นตอนใด

1. หน้าปก

First Impression หรือ ความประทับใจแรก เป็นสิ่งที่สร้าง “แต้มต่อ” ให้กับตัวเราเป็นอย่างมากในรอบการสัมภาษณ์ หน้าปกถือเป็นหน้าตาด่านแรกของเรา หากใครที่ไม่ค่อยมีไอเดียบรรเจิด ก็อย่าคิดมาก เน้นทำแบบสะอาด ๆ มีระเบียบก็น่าสนใจไม่น้อย และควรเลือกแฟ้มที่สามารถเปลี่ยนแผ่นหน้าปกได้ง่าย ไม่ยุ่งยาก และแฟ้มที่ใช้ต้องมีคุณภาพ ไม่ทำให้ตัวหนังสือหลุดลอก

ขั้นตอนแรกของการทำแฟ้มสะสมผลงานคือขั้นตอนใด

2. ประวัติส่วนตัว

ในส่วนนี้จะเป็นหน้าที่จะบอกถึงตัวตนของเราได้เป็นอย่างดี สามารถใส่ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเราได้เต็มที่ ถ้าให้ดีแนะนำให้ทำเป็น 2 ภาษาไปด้วยเลย จะสามารถทำให้แฟ้มของเราดูน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยเนื้อหาที่ใส่ไปก็แนะนำตัวไปเลย ชื่อ นามสกุล วันเกิด นิสัย ความชอบ รวมถึงแนวคิด และความคาดหวังในอนาคตของเรา ซึ่งจากหน้านี้แหละกรรมการจะรู้ว่าเราเป็นคนอย่างไร

ขั้นตอนแรกของการทำแฟ้มสะสมผลงานคือขั้นตอนใด

3. ประวัติทางการศึกษา

ส่วนนี้จะแสดงศักยภาพในการเรียนของเรา โดยให้เขียนเรียงลำดับจากการศึกษาที่น้อยสุดมาจบที่ปัจจุบัน และอาจจะบอกไปด้วยก็ได้ว่า แต่ละระดับที่เราเรียนมานั้นได้เกรดเฉลี่ยรวมเท่าไหร่ แต่หากใครที่ไม่มั่นใจเว้นไว้ก็ไม่เป็นไร รายชื่อโรงเรียนก็เขียนให้ครบ ไม่ควรที่จะย่อ

ขั้นตอนแรกของการทำแฟ้มสะสมผลงานคือขั้นตอนใด

4.รางวัลและผลงานที่ได้รับ

สามารถเขียนเป็นลักษณะการเรียงลำดับ โดยกำหนดเป็นปี พ.ศ. ก็จะน่าสนใจไม่น้อย เช่น พ.ศ.2563 เรามีกิจกรรมอะไรบ้างที่เข้าร่วม หรือได้รับรางวัลอะไรมาบ้าง หากกิจกรรมที่เราเข้าร่วม มีรูปประกอบด้วยจะเพิ่มความน่าสนใจได้มากขึ้นไม่น้อย

    องค์ประกอบหลัก แฟ้มสะสมผลงาน  ก่อนที่เราจะไปดูเทคนิคการเขียน portfolio กันนั้น เรามาทำความเข้าใจถึงความแตกต่างกันระหว่าง portfolio กับ resume กันก่อนดีกว่า เพื่อง่ายต่อการเขียน จะได้ไม่งงกันนะ อย่างที่เรารู้กันอยู่แล้วนะว่า ทั้ง portfolio และ resume ต่างก็เป็นสิ่งที่สำคัญที่ใช้ในการสมัครเข้าเรียนหรือสมัครงาน โดยที่ทั้งสองอย่างเป็นตัวที่ใช้สำหรับบอกถึง ประวัติส่วนตัวของเราและผลงานที่เราเคยได้ทำมาก่อน 

    resume เป็นการเขียนบอกเล่ารายละเอียดส่วนตัว ประสบการณ์ และสิ่งต่างๆ ที่เป็นจุดเด่นของเราอย่างย่อๆ ที่มีความยาวเพียง 1-3 หน้าเท่านั้น เป็นการสรุปผลงานทั้งหมดที่เคยผ่านมานั่นเอง

     portfolio จะเป็นลักษณะของแฟ้มสะสมผลงาน หรือเป็นหนังสือสะสมผลงานอย่างเป็นระบบ มีความยาวหลายหน้า เพื่อแสดงให้เห็นถึงผลงานทั้งหมดที่ผ่านมาของเรา ตั้งแต่สมัยยังเป็นนักเรียน นักศึกษา จนถึงช่วงวัยทำงาน ซึ่งจะประกอบด้วย ตัวอย่างของผลงาน ที่แสดงให้เห็นถึงคุณภาพ และการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทักษะต่างๆ และประสบการณ์การทำงานต่างๆ

    เป็นไงบ้างคะ … พอจะแยกกันออกแล้วเนอะว่าทั้ง portfolio และ resume นั้นมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง คราวนี้เราก็มาดูเทคนิคและส่วนประกอบการเขียนแฟ้มสะสมงานกันได้เลย


องค์ประกอบหลักๆ ของแฟ้มสะสมงาน

    ควรออกแบบให้สะดุดุตา แบบเห็นปุ๊บแล้วคนหยิบขึ้นมาอ่านปั๊บเลย ถ้าหน้าตาดีก็ใส่รูปตัวเองลงไป present ตัวเองเต็มที่ เข้าใจง่าย สรุปเนื้อหาและมีรายละเอียดครบถ้วน คือ แฟ้มเป็นของใคร เรียนที่ไหน ผลงานที่เคยทำ รางวัลที่เคยได้รับ ฯลฯ 

(แต่ต้องเน้นส่วนที่เป็นตัวของเราให้ได้มากที่สุด ทำออกมาให้เป็นตัวของตัวเอง)

    นำเสนอข้อมูลตัวเองเต็มที่เลย รวมถึงประวัติทางด้านสถานศึกษาด้วย ถ้าจะให้ดีขอแนะนำว่าให้ทำเป็น 2 ชุด คือ ส่วนที่เป็นภาษาไทยและส่วนที่เป็นภาษาอังกฤษ เพื่อเป็นการแสดงถึงความสามารถของเราและความเป็นสากล  เพราะบางทีคนที่อ่านแฟ้มของเราอาจจะเป็นชาวต่างชาติก็ได้นะ แล้วยังช่วยทำให้ดูน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น

3. ประวัติทางด้านการศึกษา

    ให้เรียงลำดับจากการศึกษาระดับต่ำสุดจนกระทั่งปัจจุบัน และต้องสรุปผลการเรียนที่ได้มาครั้งล่าสุดด้วย ควรเน้นเป็นส่วนท้ายให้เห็นเด่นชัดที่สุด (อาจมีเอกสารรับรองผลการเรียนแนบมาด้วยก็ได้ จะดีมาก)

4. รางวัลและผลงานที่ได้รับ

    เขียนในลักษณะเรียงลำดับการได้รับจากปี พ.ศ. (ในส่วนนี้ไม่แนะนำว่าต้องใส่เกียรติบัตรลงไป เพราะอาจทำให้แฟ้มดูไม่มีจุดเด่นเพราะมันแย่งกันเด่นหมด ซึ่งจะทำให้คนอ่านไม่รู้ว่าควรต้องอ่านตรงไหนดีก่อน)

5. รางวัลและผลงานที่ประทับใจ

    เป็นผลงานหรือรางวัลที่ได้รับและเกิดความภาคภูมิแบบสุดๆ รางวัลแบบนี้แหละที่เป็นรางวัลแห่งชีวิตที่เราภูมิใจสุดๆ (ควรใส่หลักฐานลงไปประกอบด้วยเพื่อความน่าเชื่อถือ อาจมีรูปถ่ายประกอบมาด้วยจะดีมาก)

6. กิจกรรมที่ทำในโรงเรียน

    อาทิเช่น เป็นประธานนักเรียน กิจกรรมในชมรมหรืออย่างอื่น ใส่เพื่อให้รู้ว่าเรามีประสบการณ์การทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ รู้จักการทำงานเป็นทีม หรือตรงส่วนนี้จะใช้เป็นงานพิเศษที่กำลังทำก็ได้ หากเรียนไปด้วยทำงานไปด้วย

จะทำให้ผลงานมีคุณค่ามากขึ้น คนหยิบขึ้นมาอ่านจะเห็นคุณค่าของเราตรงนี้

    คืองานหรือรายงานที่คิดว่าภาคภูมิใจมากที่สุดจากการเรียนที่ผ่านมา เช่น โครงงานวิทยาศาสตร์ รายงานการวิจัยต่างๆ อาจจะนำเสนอ 5 รายวิชาหลักที่เราเคยทำก็ได้ เป็นต้น

    ควรโชว์ความสามารถพิเศษที่คนทั่วไปไม่มีหรือมีคนทำน้อย และต้องเป็นความสามารถพิเศษที่สอดคล้องกับคณะ ที่เราต้องการศึกษาต่อหรือถ้าไม่มีก็เป็นความสามารถพิเศษทั่วๆ ไป เช่น ร้องเพลง เล่นดนตรี กีฬา ฯลฯ

ปล. ในแต่ละหัวข้อถ้าหากมีการแสดงรูปถ่ายที่เกี่ยวข้องด้วยจะดีมากๆ ค่ะ ขอให้แฟ้มสะสมผลงานของเพื่อนๆ ออกมาน่ารักกันทุกคนนะคะ

ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการทำ “Portfolio

1.เตรียมส่วนสำคัญของ Portfolio. เตรียมส่วนสำคัญที่คาดว่าจะได้ใช้แน่นอนไว้ก่อน ส่วนไหนไม่ตรงตามมหาวิทยาลัยกำหนด ค่อยทำเพิ่มเติมทีหลัง 2.เตรียม Portfolio รูปแบบเต็ม เตรียม Portfolio ในแบบของเราไว้ก่อนได้เลย หากศึกษารายละเอียดระเบียบการแล้วมหาวิทยาลัยกำหนดรายละเอียดของ Portfolio มาให้ด้วย ก็ปรับเนื้อหาให้ตรงตามที่กำหนด

ขั้นตอนการทำแฟ้มสะสมผลงานมีอะไรบ้าง

ในการดําเนินงานนั้น อาจปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบางขั้นตอน แต่ก็มีขั้นตอนหลักๆ อยู่ 4 ขั้นตอน คือ 1. การรวบรวมผลงานหรือหลักฐาน 2. การคัดเลือกผลงาน 3. การแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึก 4. การประเมินผลงาน

การสร้าง E

การสร้าง e-portfolio.
เปิดใช้เทมเพลต โดยเข้าไปที่ gg.gg/stdeport..
เปลี่ยนชื่อไซด์.
เปลี่ยนรูปภาพและแก้ไขชื่อ.
แก้ไขข้อมูล ประวัติส่วนตัว.
แก้ไขข้อมูล ประวัติการศึกษา.
เพิ่มรายการ เว็บที่ชอบ.
เพิ่มรายการ YouTube ที่สนใจ.
สร้างอัลบัมรูปภาพ.

ข้อใดคือขั้นตอนการสร้างแฟ้มสะสมผลงานทัศนศิลป์ที่ถูกต้อง

การจัดทำแฟ้มสะสมงานทัศนศิลป์ มีส่วนประกอบที่สำคัญ ดังนี้ 1.ปก ระบุชื่อผู้เรียน เลขประจำตัว ชื่อโรงเรียน โดยออกแบบปกให้สวยงาม 2.คำนำ บอกถึงเหตุผลในการจัดทำแฟ้มสะสมงาน 3.สารบัญ เรียงหัวข้อให้เป็นระเบียบ เพื่อสะดวกในการค้นหาผลงาน