พร บ กับ ภาษี ต่างกันอย่างไร

     เชื่อว่ามีหลายๆ ท่าน น่าจะมีความเข้าใจผิดระหว่างป้ายภาษีและพ.ร.บ. ซึ่งทั้งสองอย่างอยู่ภายใต้กฎหมายที่มีข้อกำหนดให้ผู้ใช้รถทุกคนต้องจ่ายค่าภาษีและทำ พ.ร.บ. รถยนต์ ไว้ด้วย วันนี้ ยิ้มได้ประกันภัย จะมาคลายความสับสน ว่าป้ายภาษีรถยนต์ กับ พ.ร.บ. มีความแตกต่างกันอย่างไร

พ.ร.บ. รถยนต์

     พ.ร.บ. รถยนต์ คือ “ประกันภัยภาคบังคับ”  ซึ่งทางกฎหมายบังคับให้รถทุกคันต้องทำประกัน พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (พ.ศ.2535)     โดยกำหนดให้ยานพาหนะทางบกทุกประเภทที่จดทะเบียนกับกรมขนส่งทางบกต้องทำประกันภัยประเภทนี้ เพื่อให้ความคุ้มครองกับตัวบุคคลที่ได้รับผลจากอุบัติเหตุ โดยที่ไม่คำนึงถึงว่าบุคคลดังกล่าวจะเป็นผู้ที่กระทำความผิดหรือไม่ โดยทีวัตถุประสงค์ดังนี้

  1. เพื่อคุ้มครองและให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจากรถยนต์ โดยให้ได้รับการรักษาพยาบาลอย่างทันท่วงทีกรณีบาดเจ็บ หรือช่วยเป็นค่าปลงศพ กรณีเสียชีวิต
  2. เป็นหลักประกันให้โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลว่าจะได้รับค่ารักษาพยาบาลในการรักษาพยาบาลผู้ประสบภัยจากรถ
  3. เป็นสวัสดิสงเคราะห์ที่รัฐมอบให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเสียหายจากภัยรถยนต์
  4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้การประกันภัยเข้ามามีส่วนร่วมในการบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัยและครอบครัว

     ทั้งนี้ กฏหมายจะให้ความคุ้มครองต่อตัวคู่กรณีและผู้เอาประกันเมื่อเกิดอุบัติเหตุในรูปแบบของเงินชดเชยและค่ารักษาพยาบาลตามที่กฏหมายกำหนด

ความคุ้มครองเบื้องต้น

  • ค่ารักษาพยาบาล 30,000 บาท/คน
  • คนกรณีเสียชีวิต 35,000 บาท/คน

หากพิสูจน์ว่าเป็นฝ่ายถูก รับวงเงินคุ้มครองเพิ่ม

  • ค่ารักษาพยาบาลจากการบาดเจ็บ 80,000 บาท/คน
  • เสียชีวิต 500,000 บาท/คน
  • สูญเสียอวัยวะ/ทุพพลภาพอย่างถาวร หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง 200,000 - 500,000 บาท

ภาษีรถยนต์

     ภาษีรถยนต์ที่หลายท่านเรียกว่า “ป้ายวงกลม” เป็นสิ่งที่ผู้ขับขี่ต้องต่อกันเป็นประจำทุกปีตามที่กฎหมายกำหนด หากท่านใดไม่ต่อภาษีรถยนต์ติดต่อกัน 3 ปี รถยนต์ของท่านจะถูกระงับทะเบียน และต้องนำรถเข้าจดทะเบียนภาษีรถยนต์ใหม่ พร้อมกับคืนป้ายภาษีเก่า และต้องถูกเก็บค่าภาษีย้อนหลังอีกด้วย อย่างไรก็ตามผู้ขับขี่สามารถต่อภาษีรถยนต์ก่อนหมดอายุได้ไม่เกิน 3 เดือน

กฏหมายบังคับให้ติดหน้ารถเพื่อแสดงว่าชำระภาษีแล้ว

รถที่ต้องตรวจสภาพก่อน กำหนดอายุเกินกี่ปี

  • รถจักรยานยนต์เกิน 5 ปี
  • รถยนต์เกิน 7 ปี *รถติดแก๊สต้องมีใบตรวจแก๊สตัวจริง

     ทั้งนี้ผู้ขับขี่ต้องทำพ.ร.บ. รถยนต์ให้เสร็จก่อนต่อภาษีและจะได้รับป้ายภาษีสี่เหลี่ยมมาติดหน้ากระจกรถและหากเจ้าหน้าที่ตรวจสอบว่าหากรถยนต์คันใดไม่มีป้ายภาษีจะมีโทษปรับอยู่ที่ 400 – 1,000 บาท

     การต่อภาษีล่าช้าจะทำให้เสียค่าปรับในอัตราร้อยละ 1 บาทของค่าภาษีรถ แต่หากขาดการต่อภาษีรถเกิน 3 ปี ทะเบียนรถของผู้ขับขี่จะถูกระงับและจะต้องนำป้ายทะเบียนรถไปคืนที่กรมขนส่งทางบกพร้อมชำระค่าปรับที่เกิดขึ้นทั้งหมดให้ครบครับ

สำหรับท่านใดที่กำลังมองหาประกันภัยรถยนต์ หรือ พ.ร.บ.รถยนต์ สามารถทำได้ที่ ยิ้มได้ประกันภัย เพียงโทร  02-432-2345 หรือ ซื้อผ่าน www.yimdaiinsurance.com เพื่อให้คุณได้ประกันภัยที่เหมาะสมและคุ้มค่ากับความคุ้มครองดีที่สุด

ภาษี และ พรบ แตกต่างกัน อย่างไร

“พ.ร.บ.” คืออะไร แตกต่างกัน ป้ายภาษี อย่างไร

        ภาษี และ พรบ แตกต่างกัน อย่างไร ปัญหาความสับสนนี้ เป็นเรื่องปกติของผู้ขับขี่ยานยนต์บนท้องถนนกันหลายคนนะครับ ว่าป้ายภาษีหรือบางคนเรียกป้ายทะเบียน หรือ ป้ายวงกลมสีชมพู กับ พ.ร.บ. นั้นแตกต่างกันยังไง ทำไมมันถึงสำคัญ วันนี้พี่ฟูจะมาแถลงไขข้อสงสัยกันให้ทราบกันนะครับ

พร บ กับ ภาษี ต่างกันอย่างไร
ตัวอย่าง พ.ร.บ.

พ.ร.บ. คือ การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ ซึ่งกฏหมายบังคับให้ยานพาหนะทางบกทุกประเภทที่จดทะเบียนกับกรมการขนส่งทางบก ต้องทำประกัน พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ เพื่อให้ความคุ้มครองกับตัวบุคคลที่ได้รับผลจากอุบัติเหตุ ซึ่งกฎหมายจะให้ความคุ้มครองต่อตัวคู่กรณีและผู้เอาประกันเมื่อเกิดอุบัติเหตุในรูปแบบของเงินชดเชยและค่ารักษาพยาบาลตามที่กฎหมายกำหนด

แม้ป้ายภาษีรถยนต์ กับพ.ร.บ.รถยนต์ จะมีการแบ่งแยกประเภทกันอย่างชัดเจนอยู่แล้ว แต่ผู้ใช้รถมือใหม่บางคนอาจจะกำลังสับสนว่า พ.ร.บ. กับ ภาษี อันเดียวกันไหม และต่างกันอย่างไร ? ใครที่กำลังงงอยู่ ตามมาเลย ! Chobrod.com จะขอแก้ไขความสับสนให้เอง ! ป้ายภาษี คืออะไร ? พ.ร.บ. คืออะไร ? มาดูกัน ! 

พร บ กับ ภาษี ต่างกันอย่างไร

พ.ร.บ. กับภาษีอันเดียวกันไหม ?

ตอบกันตรงนี้เลยว่า ไม่ใช่แน่นอน พ.ร.บ. รถยนต์ หรือพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ คือประกันภัยภาคบังคับที่กำหนดให้รถยนต์และจักรยานยนต์ที่จดทะเบียนทุกคันจะต้องทำไว้เป็นหลักประกัน เพื่อให้ได้รับความคุ้มครองและค่ารักษาพยาบาลหากเกิดอุบัติเหตุ และเงินชดเชยกรณีเสียชีวิต 

  • ค่าเสียหายเบื้องต้น
    • กรณีบาดเจ็บ จ่ายสูงสุดไม่เกิน 30,000 บาท
    • กรณีเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพถาวร จ่ายเสียหายเบื้องต้น 35,000 บาท
    • กรณีเสียชีวิตหลังจากรักษาพยาบาล จ่ายเงินไม่เกิน 30,000 บาท ค่าปลงศพ 35,000 บาท รวมแล้วไม่เกิน 65,000 บาท
  • ค่าสินไหมทดแทน (เงินชดเชยที่ฝ่ายถูกได้รับ) 
    • ค่ารักษาพยาบาล จ่ายสูงสุดไม่เกิน 80,000 บาท
    • กรณีสูญเสียอวัยวะ ตั้งแต่ข้อมือ / เสียแขน / เท้าตั้งแต่ข้อเท้า / เสียขา / ตาบอด อย่างใดอย่างหนึ่ง รวมกัน 2 กรณีขึ้นไป ได้รับเงินชดเชยสูงสุด 300,000 บาท
    • กรณีสูญเสียมือตั้งแต่ข้อมือ / เสียแขน / เท้าตั้งแต่ข้อเท้า / เสียขา / ตาบอดถาวร / หูหนวก / เสียความสามารถในการพูด / ลิ้นขาด หรือสูญเสียอวัยวะใด ชดเชย 250,000 บาท
    • กรณีสูญเสียนิ้วตั้งแต่ข้อนิ้วขึ้นไป ชดเชย 200,000 บาท
  • ค่าชดเชยกรณีเป็นผู้ป่วยใน 200 บาทต่อวัน (ไม่เกิน 20 วัน)

พร บ กับ ภาษี ต่างกันอย่างไร

ป้ายภาษีรถยนต์ คืออะไร ?

ป้ายภาษีรถยนต์ หรือที่เรียกกันว่า ป้ายวงกลม คือสิ่งที่ผู้ขับขี่รถยนต์และรถจักรยานยนต์ต้องทำทุกปี หากขาดกันต่อภาษีรถยนต์ หรือจักรยานยนต์นานเกิน 3 ปี จะถูกระงับทะเบียนรถ และต้องนำรถไปจดทะเบียนใหม่ พร้อมจ่ายค่าภาษีย้อนหลังเพิ่มเติมด้วย หากใช้รถโดยไม่ต่อภาษี จะมีโทษปรับสูงสุด 2,000 บาท และถ้าไม่ติดใบภาษีรถยนต์รถยนต์ไว้ที่กระจกรถ จะต้องจ่ายค่าปรับตั้งแต่ 400 - 2,000 บาท

ภาษีรถยนต์ประจำปี สามารถต่ออายุได้ล่วงหน้า 3 เดือน หรือ 90 วัน ก่อนหมดอายุ รถยนต์ที่มีอายุไม่เกิน 7 ปี และมอเตอร์ไซค์ที่มีอายุ ไม่เกิน 5 ปี สามารถต่อภาษีรถยนต์ล่วงหน้าได้ตามช่องทาง ดังนี้

  • เว็บไซต์ E-Service ลิงก์ 
  • กรมการขนส่งทางบก หรือสำนักงานขนส่งทางบก
  • ที่ทำการไปรษณีย์
  • ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
  • บริการรับชำระภาษีแบบเลื่อนล้อต่อภาษี (Drive Thru for Tax)
  • ร้านค้าที่มีสัญลักษณ์เคาน์เตอร์เซอร์วิสทั่วประเทศ 
  • ห้างสรรพสินค้า โครงการ "ช้อปให้พอ แล้วต่อภาษี (Shop Thru for Tax)"
  • ห้างบิ๊กซี ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
  • ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล สาขารามอินทรา 
  • ศูนย์การค้าพาราไดซ์ พาร์ค ถนนศรีนครินทร์
  • ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์
  • ศูนย์บริการร่วมคมนาคม 

หากรถยนต์ของคุณมีอายุตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไป และจักรยานยนต์อายุ 5 ปีขึ้นไป จะต้องตรวจสภาพรถที่สถานตรวจสภาพรถเอกชน หรือ ตรอ.ก่อน แล้วค่อยนำเอกสารมายื่นต่ออายุที่กรมการขนส่งทางบกหรือสำนักงานขนส่งทางบก

พร บ กับ ภาษี ต่างกันอย่างไร

ต่อป้ายภาษี ใช้เอกสารอะไรบ้าง ?

  • ใบคู่มือจดทะเบียนรถ หรือเล่มทะเบียน 
  • ใบพ.ร.บ. หรือหลักฐานการเอาประกันภัยตาม พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ที่ยังไม่หมดอายุ
  • ใบรับรองการตรวจสภาพรถ (สำหรับรถยนต์ที่มีอายุตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไป มอเตอร์ไซค์ 5 ปีขึ้นไป)

พร บ กับ ภาษี ต่างกันอย่างไร

ค่าต่อใบภาษีรถยนต์ ราคาเท่าไหร่?

รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 ที่นั่ง

  • 600 ซีซี. แรก ราคา 0.50 บาท/ซีซี. 
  • ตั้งแต่ 601-1,800 ซีซี. ราคา 1 บาท 50 สตางค์/ซีซี.
  • เกิน 1,800 ซีซี. ราคา 4 บาท/ซีซี.

รถส่วนบุคคลเกิน 7 ที่นั่ง (รถป้ายทะเบียนขาวตัวหนังสือเขียว)

  • ตั้งแต่ 751-1000 กก. ราคา 600 บาท
  • ตั้งแต่ 1,001-1,250 กก. ราคา 750 บาท
  • ตั้งแต่ 1,251-1,500 กก. ราคา 900 บาท
  • ตั้งแต่ 1,501-1,750 กก. ราคา 1,050 บาท
  • ตั้งแต่ 1,751-1,800 กก. ราคา 1,350 บาท
  • ตั้งแต่ 1,801-2,000 กก. ราคา 1,350 บาท
  • ตั้งแต่ 2,001-2,500 กก. ราคา 1,650 บาท

รถยนต์ส่วนบุคคลเกิน 7 ที่นั่ง (รถป้ายทะเบียนพื้นขาวตัวหนังสือน้ำเงิน)

  • ตั้งแต่ 751-1,800 กก. ราคา 1,300 บาท
  • ตั้งแต่ 1,801-2,500 กก. ราคา 1,600 บาท

หากรถของคุณมีอายุการใช้งานตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป จะได้รับการการลดภาษี ดังนี้

  • อายุการใช้งานเกิน 6 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 10%
  • อายุการใช้งานเกิน 7 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 20%
  • อายุการใช้งานเกิน 8 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 30%
  • อายุการใช้งานเกิน 9 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 40%
  • อายุการใช้งานเกิน 10 ปี จะได้รับส่วนลดค่าภาษี 50%

ควรนำรถยนต์หรือจักรยานยนต์ไปต่อภาษีรถยนต์และพ.ร.บ.ให้เรียบร้อย ไม่ใช่แค่เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียค่าปรับหรือเสียเวลาต่อทะเบียนเพิ่มเติมเท่านั้น แต่เพื่อผลประโยชน์ของคุณเอง หากเกิดอุบัติเหตุไม่คาดฝันขึ้นมา

ต่อทะเบียน กับต่อภาษี ต่างกันอย่างไร

ซึ่งการเสียภาษีรถยนต์ในแต่ละปีนั้น เป็นเหมือนการต่อทะเบียนรถยนต์ไปในตัว โดยหลังจากทำเรื่องต่อภาษีรถยนต์เรียบร้อย จะได้รับป้ายภาษี หรือป้ายวงกลม (ป้ายสี่เหลี่ยม) ที่แสดงวันที่หมดอายุชัดเจน ทำให้หลายคนจึงนิยมเรียกการต่อภาษีรถยนต์ กันว่า ต่อทะเบียนรถยนต์ ไปโดยปริยาย ซึ่งทั้งสองคำนี้ต่างก็มีความหมายไปในทางเดียวกันนั่นเอง

ต่อภาษีก่อนพรบได้ไหม

ซึ่งการต่อภาษีรถยนต์ในทุกๆ ปีนั้น สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ พ.ร.. รถยนต์ เพราะถ้าหากไม่มี พ.ร.. รถยนต์ ก็จะไม่สามารถต่อภาษีรถยนต์ได้นั่นเอง ทั้งนี้ พ.ร.. รถยนต์ จะมีอายุเพียง 1 ปีเท่านั้น โดยสามารถต่อ พ.ร.. รถยนต์ ล่วงหน้าได้ไม่เกิน 3 เดือน เช่นเดียวกันกับภาษีรถยนต์ และถ้านำรถที่ไม่มี พ.ร.. รถยนต์ มาวิ่งบนถนน ก็จะมีบท ...

สําเนาป้ายภาษีคืออะไร

ป้ายภาษี คือ ป้ายสี่เหลี่ยมขนาดเล็ก เท่าฝ่ามือ สีชมพูฟ้า มี (ระบุ) ปี พ.ศ. ตัวใหญ่ โดยจะต้องทำการต่อพ.ร.บ. ให้เสร็จก่อนและนำเอกสารนี้ทำการจ่ายภาษีรถกับกรมขนส่งทางบก แล้วนำป้ายภาษีมาติดที่ตัวรถเพื่อแสดงให้รู้ว่า รถคันนี้ชำระภาษีแล้ว ซึ่งหากขาดต่อภาษี อาจทำให้ทะเบียนรถถูกระงับ กลายเป็นรถผิดกฎหมายทันที และมีค่าปรับ ดังนี้

ภาษีรถจำเป็นไหม

ดังนั้นรถทุกคันจะต้องมี ป้ายภาษีรถยนต์ และ พ.ร.บ. รถยนต์ เพื่อการประกันภัยต่อตัวรถและบุคคล และที่สำคัญทั้ง 2 อย่างนี้ จำเป็นต้องทำทุกปีตามที่กฎหมายได้ระบุไว้ เพราะถ้าหากรถคันไหนไม่มี พ.ร.บ. รถยนต์ ความคุ้มครองและการชดเชยค่าเบิกจ่ายเมื่อเกิดอุบัติเหตุก็จะไม่สามารถทำได้ และจะไม่สามารถต่อภาษีรถยนต์ได้ด้วยเช่นกัน