จังหวะการทำงานที่ถูกต้อง คือข้อใด

         นอกจากวิธีที่กล่าวมาทั้งหมดแล้ว ยังมีเทคนิคในการตั้งเป้าหมายและจัดตารางอีกมากมายซึ่งนำไปทดลองใช้ได้ทันที แต่อย่าลืมว่าทั้งหมดนี้จะมีประสิทธิภาพได้ขึ้นอยู่กับตัวคุณ ทั้งวินัยและความตั้งใจ เพราะการบริหารเวลาและจัดการแบ่งงานคือหนึ่งในทักษะที่ต้องใช้เวลาฝึกฝน ทดลองกับตัวเอง และดูว่าวีธีไหนมีประสิทธิภาพมากที่สุด 

                    เป็นอย่างไรกันบ้างครับเพื่อนๆกับสาระความรู้ดีๆเกี่ยวกับเครื่องยนต์ที่ทาง BoxzaRacing นำมาฝากกันในวันนี้ หวังว่าจะเป็นประโยชน์กับเพื่อนๆชาว BoxzaRacing ไม่มากก็น้อยนะครับ และในครั้งหน้า BoxzaRacing จะนำเกร็ดความรู้แบบไหนมาฝากกันอีกก็ต้องติดตามกันนะครับ สำหรับวันนี้คงต้องลากันไปก่อน ขอบคุณและสวัสดีครับ       ขอขอบคุณข้อมูลจาก techniccar.com      

ตามหลักการทำงานของเครื่องยนต์ส่วนใหญ่ จะเป็น เครื่องยนต์ 4 จังหวะ ซึ่งจะมีจังหวะในการทำงานของกระบอกสูบ เพื่อให้เกิดการสันดาป และส่งเป็นพลังงานภายในเครื่องยนต์ ประกอบไปด้วยจังหวะ ดูด อัด ระเบิด คาย 

หลักการทำงานของ เครื่องยนต์ 4 จังหวะ

ในการทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะนั้น จะมีรอบการทำงานเป็น Cycle โดยเพลาข้อเหวี่ยงจะหมุน 2 รอบ ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของลูกสูบขึ้นลง 4 ครั้ง โดยเคลื่อนขึ้น 2 ครั้ง ลง 2 ครั้ง การที่ลูกสูบขึ้นลง 4 ช่วงชัก ทำให้เกิดการทำงานขึ้น 4 จังหวะ โดยมีหลักการทำงานดังนี้

จังหวะ1 : ดูด (Intake)

จังหวะแรกคือ จังหวะดูด เมื่อลูกสูบเริ่มเคลื่อนที่ลงมาด้านล่าง จะดูดเอาไอดี ซึ่งก็คือส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิงกับอากาศเข้ามากระบอกสูบ (สำหรับเครื่องยนต์ดีเซลจะดูดเฉพาะอากาศไม่มีเชื้อเพลิง)  โดยผ่านลิ้นไอดีที่จะเปิดอยู่ จนดูดมาถึงปลายล่าง (ศูนย์ตายล่าง) แล้วลิ้นไอดีถึงจะปิด

จังหวะ2 : อัด (Compression)

จังวะที่สอง จังหวะอัด ลูกสูบเริ่มเลื่อนขึ้นไปข้างบน ทั้งลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียจะปิด ไอดีที่ถูกดูดเข้ามาจนเต็มกระบอกสูบนั้นจะถูกอัดเข้าไปจนใกล้ถึงข้างบน (ศูนย์ตายบน) เมื่ออัดได้ที่แล้ว อุณหภูมิของไอดีที่ถูกอัดจะสูงมาก หากเป็นเครื่องยนต์เบนซินจะถูกจุดโดยหัวเทียน ส่วนเครื่องบนต์ดีเซลจะมีการฉีดเชื้อเพลิงเข้ามาเพื่อให้เกิดการเผาไหม้

จังหวะ3: ระเบิด (ignite)

เมื่อปล่อยให้เกิดการเผาไหม้เกิดขึ้น จะถึงจังหวะระเบิด คือมีแรงดันที่เกิดจากการเผาไหม้นั้น การระเบิดนี้จะดันลูกสูบให้เลื่อนลงมาจนถึงศูนย์ตายล่าง เมื่อลูกสูบเลื่อนลงมา เพลาข้อเหวี่ยงจะเกิดการหมุนเครื่องยนต์ เกิดพลังงานขึ้น เป็นการแปลงพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล พร้อมกับลิ้นไอเสียจะเริ่มเปิดออก

จังหวะ4 : คาย (Exhaust)

จังหวะสุดท้าย จังหวะคาย จะเป็นจังหวะที่ลูกสูบเริ่มเคลื่อนตัวขึ้นด้านบน โดยเป็นการดันเอาไอเสียที่ผ่านการระเบิดแล้ว ให้ออกสู่ภายนอก โดยผ่านลิ้นไอเสียที่เปิดอยู่ จนกระทั่งลูกสูบเคลื่อนตัวผ่านศูนย์ตายบนไปแล้ว ลิ้นไอเสียจะปิด และกลับมาเริ่มกระบวนการดูดใหม่ในจังหวะแรกของ cycle

              ในเครื่องยนต์ 6 สูบ จะต้องมีการจุดระเบิดเพลาข้อเหวี่ยงหมุนไปทุกๆ 120 องศา (เพลาข้อเหวี่ยงของลูกสูบทำมุมกัน 120 องศาระหว่างกัน) เครื่องยนต์ที่การจัดกระบอกสูบเป็น แบบลูกสูบเรียงสูบที่อยู่ด้านหน้าหรอใกล้หม้อน้ำเรียกว่าสูบ 1 และสูบต่อไปจะเป็นสูบที่ 2 และเรียงลำดับไปจบถึงสูบสุดท้าย ลำดับการจุดระเบิดของเครื่องยนต์ 6 สูบ ที่ใช้กันทั่วไป คือ 1-5-3-5-2 (รูป a ) หรือ 1-4-2-6-3-5 (รูป b) ในกรณีนี้จังหวะงานะเหลื่อมกันเนื่องจากเพลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบจะมี 6 จังหวะกำลัง ภายใน 1 รอบ จะมี 2 สูบที่อยู่ในจังหวะกำลัง

ECG สามารถสื่อถึงการนำไฟฟ้าภายในกล้ามเนื้อหัวใจของเรา, อัตราการเต้นของหัวใจ, จังหวะการเต้นของหัวใจเป็นไปอย่างสม่ำเสมอหรือไม่ โดยที่ในแต่ละส่วนของกราฟไฟฟ้าหัวใจจะช่วยบอกถึงความสัมพันธ์ในการทำงานของหัวใจห้องบนและห้องล่าง อีกทั้งยังสามารถช่วยในการวินิจฉัยโรคต่าง ๆ ได้อีกมากมาย อาทิเช่น

  1. โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute Myocardial Infarction)
  2. โรคกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายหนาตัวผิดปกติจากสาเหตุต่าง ๆ  (Left Ventricular Hypertrophy)
  3. โรคของกล้ามเนื้อหัวใจชนิดต่าง ๆ  (Cardiomyopathy)
  4. โรคเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis)
  5. โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะทั้งแบบเต้นช้าผิดจังหวะ (Bradyarrhythmias) หรือแบบเต้นเร็วผิดจังหวะ (Tachyarrhythmias)
  6. โรคของเกลือแร่ที่ผิดปกติบางชนิด เช่น ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูงหรือต่ำ ภาวะแคลเซียมในเลือดสูงหรือต่ำ

นอกจากนี้ในเครื่องมือสำหรับการตรวจหัวใจประเภทอื่นล้วนมี ECG เข้าไปเกี่ยวเนื่องด้วยเสมอ เช่น การเดินสายพาน (Exercise Treadmill Stress Test), การตรวจบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมง (24 Hours Holter Monitoring), Cardiac CT Scan (เอกซเรย์คอมพิวเตอร์), Cardiac MRI (เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า), การทำหัตถการฉีดสีสวนหัวใจ (Cardiac Catheterization) และ Tilt Table Test

หรือภาวะซีด เป็นภาวะที่ร่างกายมีปริมาณเม็ดเลือดแดงในเลือดน้อยกว่าปกติ ทำให้นำออกซิเจนไปยังเซลล์และเนื้อเยื่อในอวัยวะต่าง ๆ ได้น้อยลง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการ เช่น เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย ผิวซีดหรือผิวเหลือง เป็นต้น โดยปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจางอาจมาจากการเสียเลือด การสร้างเม็ดเลือดแดงที่ลดลง หรือเม็ดเลือดแดงถูกทำลายมากขึ้น

จังหวะการทำงานที่ถูกต้อง คือข้อใด

ภายในเม็ดเลือดแดงประกอบด้วยโปรตีนชื่อ ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) เป็นองค์ประกอบหลัก มีหน้าที่ลำเลียงออกซิเจนไปยังเซลล์ในร่างกาย ซึ่งกระบวนการสร้างเม็ดเลือดแดงของผู้ใหญ่มักถูกสร้างขึ้นในไขกระดูกตามปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการในการลำเลียงออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่อต่าง ๆ ภายในร่างกาย เซลล์เม็ดเลือดแดงทั้งหมดจะถูกสร้างขึ้นจากเซลล์เม็ดเลือดแดงต้นกำเนิดก่อนเจริญเติบโตเป็นเม็ดเลือดแดงตัวอ่อนและพัฒนาจนเป็นเม็ดเลือดแดงตัวแก่ในเพียงไม่กี่วัน จากนั้นจึงถูกปล่อยเข้าสู่หลอดเลือด ซึ่งเม็ดเลือดแดงที่อยู่ในหลอดเลือดนี้จะมีอายุประมาณ 120 วัน ก่อนจะถูกกำจัดออกไปโดยม้าม ตับ และไขกระดูก จากนั้นจึงเริ่มกระบวนการสร้างเม็ดเลือดแดงใหม่อีกครั้ง เพื่อทดแทนของเก่าที่ถูกกำจัดไป เมื่อเกิดความผิดปกติในกระบวนการสร้างเม็ดเลือดแดง หรือความปกติเกี่ยวกับเม็ดเลือดแดง จะส่งผลให้เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ ทำให้การทำงานของอวัยวะต่าง ๆ เกิดความผิดปกติขึ้น

อาการของภาวะโลหิตจาง

ผู้ที่มีภาวะโลหิตจางจะมีอาการแตกต่างกันไปออกไปตามสาเหตุ ตั้งแต่อาการเล็ก ๆ น้อย ๆ ไปจนถึงรุนแรง หรือในบางรายอาจไม่พบอาการผิดปกติใด ๆ จนกว่าภาวะโลหิตจางรุนแรงมากขึ้น ซึ่งอาการผิดปกติเป็นผลมาจากการทำงานของหัวใจที่หนักขึ้น เพื่อให้ร่างกายได้รับออกซิเจนจากเลือดมากขึ้น โดยอาการที่พบส่วนมาก ได้แก่

  • รู้สึกเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย แม้จะเป็นการทำกิจกรรมปกติในชีวิตประจำวัน
  • มีอาการตัวซีด อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น  
  • หายใจลำบากขณะออกแรง
  • มึนงง วิงเวียนศีรษะ
  • ปวดหัว
  • มีอาการมือและเท้าเย็น
  • ผิวซีดหรือผิวเหลือง
  • เจ็บหน้าอก ใจสั่น
  • ในขั้นรุนแรงอาจทำให้หัวใจทำงานหนักจนหัวใจล้มเหลว

สาเหตุของภาวะโลหิตจาง

โดยทั่วไป ภายในเม็ดเลือดแดงจะมีฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) เป็นส่วนประกอบหลักของเม็ดเลือดแดง มีหน้าที่ในการลำเลียงออกซิเจนจากปอดไปเซลล์และเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย แต่เมื่อร่างกายมีปริมาณเม็ดเลือดแดงน้อยลง ทำให้อวัยวะต่าง ๆ ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอจนเกิดความผิดปกติในการทำงานตามมา โดยมีสาเหตุจากหลายประการ

การเสียเลือด เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยในภาวะโลหิตจาง จากการเสียเลือดออกจากร่างกายทางใดทางหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการเสียเลือดแบบฉับพลัน เช่น อุบัติเหตุ การผ่าตัด การคลอดบุตรและการแท้งบุตร การตกเลือด ฯลฯ หรือเป็นการเสียเลือดทีละน้อยที่เรียกว่า เสียเลือดแบบเรื้อรังจากหลายสาเหตุ เช่น เสียเลือดจากการมีประจำเดือน เป็นโรคเรื้อรังที่ก่อให้เกิดการเสียเลือดอย่างโรคริดสีดวงทวารหรือโรคพยาธิปากขอ เป็นต้น ซึ่งการสูญเสียเลือดแบบเรื้อรังนี้ยังก่อให้เกิดอาการขาดธาตุเหล็ก (Iron Deficiency Anemia) ตามมาภายหลังได้   

การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อยลง
หลายปัจจัยส่งผลให้เม็ดเลือดแดงในเลือดน้อยลง ดังนี้

  • การขาดสารอาหาร เป็นผลมาจากการรับประทานอาหารที่ได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน โดยเฉพาะธาตุเหล็ก วิตามินบี 12 หรือกรดโฟลิก ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่จําเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง การขาดธาตุเหล็กเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยทั่วไปในภาวะโลหิตจาง
  • ฮอร์โมน ภายในเลือดจะมีฮอร์โมนที่ชื่อว่า อิริโธรโพอิติน (Erythropoietin) ที่ผลิตได้จากไต มีหน้าที่ในการกระตุ้นไขกระดูกในการสร้างเม็ดเลือดแดง แต่เมื่อร่างกายมีฮอร์โมนชนิดนี้ต่ำกว่าปกติจะส่งผลให้เกิดภาวะเลือดจางได้
  • ภาวะโรคเรื้อรัง โรคเรื้อรังหรือการรักษาโรคเรื้อรังบางโรคจะส่งผลกระทบต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง โดยการทำลายไขกระดูก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด การติดเชื้อ HIV โรคไตวายเรื้อรัง หรือโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
  • การตั้งครรภ์ ภาวะโลหิตจางสามารถเกิดขึ้นได้กับหญิงตั้งครรภ์ โดยเฉพาะในช่วงอายุครรภ์ 6 เดือนแรก เนื่องจากการขาดสารอาหารประเภทธาตุเหล็กและกรดโฟลิก รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในเลือด
  • โรคเกี่ยวกับไขกระดูก ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคที่เกี่ยวข้องกับไขกระดูก เช่น ไขกระดูกฝ่อ มะเร็งในไขกระดูก หรือการติดเชื้อในไขกระดูก จะส่งผลต่อการสร้างเม็ดเลือดแดงเช่นกัน เนื่องจากไขกระดูกมีหน้าที่ในการสร้างเม็ดเลือดแดง เกร็ดเลือด และเม็ดเลือดขาว เมื่อไขกระดูกไม่สามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดได้ จึงทำให้ปริมาณเม็ดเลือดแดงในเลือดลดน้อยลง

การทำลายเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ การทำลายเม็ดเลือดแดงที่เป็นผลมาจากการติดเชื้อหรือโรคในกลุ่มที่ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกหรือถูกทำลายไปเร็วกว่าปกติ เช่น ม้ามเกิดการขยายหรือโตขึ้น โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemias) รูปร่างเม็ดเลือดแดงผิดปกติ (Sickle Cell Anemia) การขาดเอนไซม์และยาบางชนิด ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง

การวินิจฉัยภาวะโลหิตจาง

โดยทั่วไปแพทย์จะวินิจฉัยผู้ที่มีภาวะโลหิตจางจากการชักประวัติเบื้องต้น ประวัติครอบครัวและการรักษาทางการแพทย์ และการตรวจร่างกาย เพื่อหาสาเหตุและการตรวจทางห้องปฏิบัติที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคล ซึ่งการตรวจทางห้องปฏิบัติที่สำคัญประกอบด้วย

  • การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (Complete Blood Count: CBC) เป็นการนับปริมาณเม็ดเลือดแดงว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ โดยวัดจากปริมาณฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดง ซึ่งเป็นค่ามาตรฐานที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน รวมไปถึงการตรวจดูลักษณะเม็ดเลือดว่ามีรูปร่าง ขนาด หรือสีที่ปกติหรือไม่ เพื่อจำแนกประเภทของภาวะโลหิตจางได้ ค่าปกติของฮีโมโกลบินตามเกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลก (The World Health Organization: WHO) ได้กำหนดไว้สำหรับเด็กอายุ 6 เดือน-6 ปีจะพบประมาณ 11 กรัมต่อเดซิลิตร และเด็กอายุ 6-14 ปี จะพบประมาณ 12 กรัมต่อเดซิลิตร ส่วนผู้ใหญ่จะพบประมาณ 12.5 กรัมต่อเดซิลิตรในเพศหญิง และ 13.5 กรัมต่อเดซิลิตรในเพศชาย ในกรณีวัดด้วยค่าความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงอัดแน่นหรือค่าฮีมาโตคริต (Hematocrit: Hct) ค่าฮีมาโตคริตปกติสำหรับผู้ใหญ่ในผู้ชายอยู่ระหว่างร้อยละ 40-52 และในผู้หญิงอยู่ระหว่างร้อยละ 35-47 ทั้งนี้เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะซีดด้วยการตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสถาบัน
  • การตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบิน (Hemoglobin Electrophoresis) เป็นการตรวจดูชนิดของฮีโมโกลบินในเลือด ซึ่งมีประโยชน์ในการช่วยวิเคราะห์ประเภทของภาวะโลหิตจางที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้
  • การตรวจนับปริมาณเม็ดเลือดแดงตัวอ่อน (Reticulocyte Count) เป็นการนับจำนวนเม็ดเลือดแดงตัวอ่อนที่พบอยู่ในเลือด เพื่อตรวจดูการสร้างเม็ดเลือดแดงตัวอ่อนจากไขกระดูกว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • การตรวจระดับธาตุเหล็กในเลือดและร่างกาย เป็นการตรวจวัดปริมาณธาตุเหล็กที่พบในร่างกาย เพื่อดูว่าผู้ป่วยมีภาวะขาดธาตุเหล็กเกิดขึ้นหรือไม่  
  • การตรวจหาเลือดปนในอุจจาระ เพื่อช่วยประเมินเภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร ติ่งเนื้อ หรือมะเร็งลำไส้ใหญ่
  • การตรวจไขกระดูก หากตรวจเลือดแล้วพบว่าเกล็ดเลือดเซลล์เม็ดเลือดแดง หรือเม็ดเลือดขาวของผู้ป่วยอยู่ในระดับที่ต่ำหรือสูงเกินไป แพทย์อาจต้องทำการตรวจไขกระดูกเพื่อหาสาเหตุของความผิดปกติที่เกิดขึ้น

การรักษาภาวะโลหิตจาง

ภาวะโลหิตจางมีลักษณะอาการไม่เฉพาะเจาะจงที่บอกได้ชัดเจน จึงจำเป็นต้องทราบสาเหตุการเกิดที่แน่ชัด การรักษาภาวะโลหิตจางยังขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ประเภทของโลหิตจาง สาเหตุการเกิด ระดับความรุนแรง ซึ่งเป้าหมายของการรักษา คือ การเพิ่มความสามารถในการลำเลียงออกซิเจนในร่างกายได้มากขึ้น โดยการรักษาจะประกอบไปด้วย

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารและวิตามินเสริม เนื่องจากภาวะโลหิตจางบางประเภทเกิดจากการรับประทานอาหารที่มีสารอาหารไม่เพียงพอ หรือภาวะบางอย่างจากโรค ซึ่งแพทย์จะแนะนำให้รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงและวิตามินต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วิตามินบี 12 กรดโฟลิก รวมถึงวิตามินซี ที่มีส่วนช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก เช่น เนื้อสัตว์ประเภทเนื้อแดง เครื่องใน อาหารทะเล ผักใบเขียวเข้ม ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว ไข่ นม เป็นต้น

รับประทานยาหรือฮอร์โมน ในบางรายแพทย์จะแนะนำให้ผู้ที่มีภาวะโลหิตจางรับประทานยา ฮอร์โมน หรือวิธีทางแพทย์อื่น ๆ เพื่อช่วยให้ร่างกายสามารถผลิตเม็ดเลือดแดงได้มากขึ้นหรือรักษาภาวะโลหิตจางจากบางสาเหตุ เช่น  

  • รับประทานยาปฏิชีวนะในการรักษาอาการติดเชื้อ
  • การให้ฮอร์โมนบางประเภท เพื่อช่วยปรับสมดุลฮอร์โมนในผู้ที่ประจำเดือนมามากผิดปกติ
  • การฉีดฮอร์โมนอิริโธรโพอิติน
  • เพื่อช่วยกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ไขกระดูก
  • การรักษาด้วยวิธีคีเลชั่นบำบัด (Chelation Therapy) เพื่อขับธาตุเหล็กส่วนเกินออกจากร่างกาย

เปลี่ยนถ่ายเลือด ในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะโลหิตจางรุนแรงหรือมีระดับของฮีโมโกลบินต่ำกว่า 8 กรัมต่อเดซิลิตร  แพทย์อาจแนะนำการรักษาด้วยวิธีการเปลี่ยนถ่ายเลือด โดยการรักษาด้วยวิธีนี้จะช่วยเพิ่มระดับของฮีโมโกลบินให้สูงขึ้น และยังช่วยบรรเทาอาการของผู้ป่วยให้ดีขึ้นด้วย

ปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดจากเลือดและไขกระดูก โดยการนำเซลล์ต้นกำเนิดที่ปกติไปแทนเซลล์ที่มีความผิดปกติ เพื่อช่วยให้การสร้างเม็ดเลือดแดงมีปริมาณมากขึ้น

ผ่าตัด เพื่อช่วยรักษาการเสียเลือดมากในอวัยวะนั้น ๆ จากโรคเรื้อรังบางชนิด แต่ในกรณีที่ตรวจไม่พบอาการเลือดออกจากอวัยวะอื่น แต่มีอาการซีดรุนแรงและม้ามโต แพทย์อาจพิจารณาให้ตัดม้ามออก เนื่องจากเกิดการทำลายเม็ดเลือดแดงที่ผิดปกติในม้าม ทำให้เม็ดเลือดแดงถูกทำลายในปริมาณมาก

ภาวะแทรกซ้อนของภาวะโลหิตจาง

ภาวะโลหิตจางสามารถก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาได้หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง หรือปล่อยให้เป็นเรื้อรัง ซึ่งจะส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ที่ผิดปกติไป เนื่องจากการลำเลียงออกซิเจนไปยังอวัยวะต่าง ๆ ทำได้ไม่ดี จึงเกิดปัญหาสุขภาพตามมา เช่น อาการเหนื่อยง่ายกว่าปกติในการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ร่างกายอ่อนแอ ติดเชื้อได้ง่าย แผลหายได้ช้า ท้องเสีย เป็นต้น อาการเหล่านี้มักไม่ร้ายแรง  

ในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นภาวะโลหิตจางมีโรคประจำอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น การติดเชื้อ HIV โรคเอดส์ โรคมะเร็ง อาจส่งผลให้การรักษาของโรคทำได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเพิ่มโอกาสการเกิดโรคแทรกซ้อนใหม่ได้   

บางรายที่มีอาการรุนแรง อาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmia) เนื่องมาจากการทำงานหนักของหัวใจในการส่งเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกายมากขึ้น เพื่อชดเชยปริมาณออกซิเจนที่ไม่เพียงพอในเลือดจากจำนวนเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ จึงทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ ไม่สม่ำเสมอ อาจเต้นเร็วหรือช้าเกินไป ซึ่งสามารถนำไปสู่โรคหัวใจโต หรือเกิดอาการหัวใจวายได้

ทั้งนี้ ภาวะโลหิตจางจากโรคทางพันธุกรรมบางโรค เช่น โลหิตจางจากโรคธาลัสซีเมีย หรือโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงผิดปกติ หากมีความผิดปกติระดับรุนแรงมากสามารถก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจนถึงเสียชีวิตได้

การป้องกันภาวะโลหิตจาง

ภาวะโลหิตจางเกิดได้จากหลายสาเหตุ ทั้งปัจจัยที่ควบคุมได้และไม่ได้ เบื้องต้น การป้องกันภาวะโลหิตจางจากสาเหตุที่พบได้ทั่วไปสามารถทำได้ตามคำแนะนำดังต่อไปนี้

  • เลือกรับประทานอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็ก วิตามิน และสารอาหาร เช่น เนื้อสัตว์ ตับหมู นม ไข่ เลือดหมู ธัญพืช โดยเฉพาะผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ ทารกและวัยรุ่น
  • รับประทานวิตามินเสริมโดยขอคำปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ สำหรับผู้ที่ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจากการรับประทานอาหาร
  • ผู้สูงอายุหรือผู้รับประทานอาหารมังสวิรัติ ควรพบแแพทย์เป็นระยะ เพื่อตรวจสอบภาวะโลหิตจาง เนื่องจากการรับประทานอาหารประเภทโปรตีนและวิตามินที่ไม่เพียงพอ
  • ผู้ที่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นภาวะโลหิตจางควรปรึกษาแพทย์ เพื่อป้องกันความเสี่ยงในการส่งผ่านภาวะโลหิตจางทางพันธุกรรม
  • ผู้ที่กำลังตั้งครรภ์อาจป้องกันการเกิดภาวะโลหิตจางด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และอุมไปด้วยแร่ธาตุที่สำคัญต่อร่างกาย เช่น ปลา เนื้อแดงไร้ไขมัน ไข่ ถั่ว และผักใบเขียว เป็นต้น นอกจากนี้ อาจรับประทานวิตามินเตรียมตั้งครรภ์ โฟลิค และธาตุเหล็ก เพื่อช่วยรักษาระดับเซลล์เม็ดเลือดแดงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ทั้งนี้ ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรให้ดีก่อนการใช้วิตามิน หรืออาหารเสริมใด ๆ เสมอ และไปตามนัดฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ