เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร

เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร

เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร

           ��᷺��ԫ�����ҧ��¢ͧ����ժ��Ե��Сͺ���� 2 ��кǹ������� ���

            

เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร
�᷺��ԫ�� (catabolism) ��� ������������������������ ATP ��ù�����硵�͹ (NAD+, NADP+ ��� FAD) �����õ鹵�����Ѻ����ѧ������

            

เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร
��Ṻ��ԫ�� (anabolism) �繡���� ATP ��� NADH (�ҧ��ԡ��������� NADH, NADPH ��� FADH2) ��������õ鹵ͷ����ҡ��кǹ����᷺��ԫ��㹡���ѧ������ͧ���Сͺ��ҧ� �ͧ����ժ��Ե

            ���������� ��᷺��ԫ����Сͺ���¡�кǹ������¤�� �᷺��ԫ������繡�������������� (��������š��) ��������š�������л�͹ ATP ��ù�����硵�͹ (NAD+, NADP+ ��� FAD) �����õ鹵�����Ѻ����ѧ���������Ѻ��кǹ�����Ṻ��ԫ���������ҧ��ͧ���Сͺ�ͧ��ҧ��µ���

            ��ѧ�ҹ�������硵�͹�繵������������ҧ�᷺��ԫ�������Ṻ��ԫ�� �������������ҧ��������������� ��кǹ����᷺��ԫ������¹ ADP ����� ATP �������¹��ù�����硵�͹���Ҿ�͡��䴫� (NAD+, NADP+ ��� FAD) ����������Ҿ�մ�ǫ� (NADH, NADPH ��� FADH2) ��Шж١�����㹡�кǹ�����Ṻ��ԫ�� ��ѧ�ҡ��鹡������ù�����硵�͹���Ҿ�͡��䴫� (NAD+, NADP+ ��� FAD) ��Ѻ�������кǹ����᷺��ԫ������͹���

เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร
          

           ��кǹ�����᷺��ԫ���ͧ�������÷������ѧ�ҹ (��������õ �õչ ��ѹ ��Сô��Ǥ���ԡ) ���͡�� 3 ��鹵͹ �ѧ���

           1. �������¹�ŧ�����ҧ�����š�šѺ˹����ç���ҧ (interchange between macromolecules and building units) ��觨��繡�����������˹����ç���ҧ���������ѧ�ҹ��������硵�͹
           2. �������¹�ŧ�����ҧ˹����ç���ҧ�Ѻ���š�ŧ���� �� acetyl CoA
           3. ����Ҽ�ҭ���š�ŧ���� ����繢ͧ���� �� ����͹��͡䫴�

           㹢�鹵͹����ͧ��Т�鹵͹������������ѧ�ҹ�������硵�͹��͹��ҧ�ҡ

เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร
เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร

เมตาบอลิซึม (METABOLISM)
             เมตาบอลิซึม คือกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ ซึ่งสามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภท ได้ดังนี้
             1. กระบวนการสังเคราะห์พลังงานจากอาหารที่เรารับประทานเข้าไป เช่น สังเคราะห์เอากรดอะมิโนกับกลูโคส จากคาร์โบไฮเดรต ซึ่งปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์นี้เรียกว่า ปฎิกิริยาอะนาบอลิก โดยมีจะมีการสร้างโมเลกุลใหญ่ๆขึ้นมา เช่น โปรตีนกับไกลโคเจน แล้วนำไปเก็บไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อต่างๆ (เก็บสำรองไว้)
             2. กระบวนการสลาย คือการสลายโมเลกุลใหญ่ในข้อ 1 ที่เก็บสำรองไว้นั้น ให้ไปเป็นโมเลกุลเล็ก เพื่อนำไปใช้เป็นพลังงานได้ทันที พลังงานที่ว่านี้ก็คือเรี่ยวแรงที่นำไปใช้ในการออกกำลังกาย ยืน เดิน นั่ง ต่างๆนั่นเอง หมายความว่า มีการสำรองไว้ตามข้อ 1 ก่อน จากนั้น เมื่อไรที่ร่างกายต้องการใช้ ก็จะเข้าสู่ข้อ 2. คือสลายของที่ได้จากข้อ 1. เพื่อนำมาเป็น เมื่อกล่าวถึงเมแทบอลิซึม (metabolism) ทุกคนก็คงจะทราบว่า "เมแทบอลิซึม คือ ปฏิกิริยาเคมีที่เร่งโดยเอนไซม์เพื่อเปลี่ยนพลังงานและสสารที่ร่างกายรับมาจากสิ่งแวดล้อมมาใช้ในการดำรงชีพ" แต่บางคนก็คงจะกำลังสงสัยว่าเมแทบอลิซึมกับไฟฟ้าเคมี (electrochemistry) สัมพันธ์กันอย่างไร

             ในความเป็นจริงแล้วปฏิกิริยาเคมีสำคัญๆ ที่เกิดในกระบวนการเมแทบอลิซึมนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับการให้และการรับอิเล็กตรอน หรือออกซิเดชัน-รีดักชัน (oxidation-reduction reaction) ซึ่งเป็นหลักการที่สำคัญในไฟฟ้าเคมี มาถึงขั้นนี้หลายๆ คนอาจจะพอมองออกแล้วว่า ไฟฟ้าเคมีกับเมแทบอลิซึมสัมพันธ์กันอย่างไร ซึ่งเราจะได้ศึกษาในรายละเอียดกันต่อไป

เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร

กระบวนการเมแทบอลิซึม
ที่มาภาพ : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electrochemistry/web/redox_metabolism2.htm

หลักการของเมแทบอลิซึม
             คือ การนำเอาสารอาหารและพลังงานแสงมาเปลี่ยนให้เป็นปัจจัยที่สำคัญ ซึ่งมี 3 อย่าง ได้แก่
             1. พลังงานชีวเคมี (biochemical energy) สารชีวเคมีที่สำคัญที่สุด ในกระบวนเมแทบอลิซึม ก็คือ adenosine 5'-triphosphate หรือ ATP เมื่อแตกสลายเป็น adenosine 5'diphosphate (ADP) และฟอสเฟต (Pi) แล้วจะให้พลังงานจำนวนมาก ซึ่งพลังงานนี้จะถูกใช้ในการผลักดันให้ปฏิกิริยาที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เอง สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น ปฏิกิริยาการรวมตัวเพื่อสร้างโมเลกุล เป็นต้น
             2. อิเล็กตรอน (electrons) สารชีวเคมีที่สามารถรับและถ่ายอิเล็กตรอนได้ในเมแทบอลิซึม คือ nicotinamide adenine dinucleotide หรือ NAD+ เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้วจะอยู่ในสภาพรีดิวซ์ (NADH) เมื่อถ่ายอิเล็กตรอนแล้ว ก็จะกลับไปอยู่ในสภาพออกซิไดซ์ (NAD+) ได้เหมือนเดิม nicotinamide adenine dinucleotide phosphate หรือ NADP+ เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้วจะอยู่ในสภาพรีดิวซ์ (NADPH) เมื่อถ่ายอิเล็กตรอนแล้ว ก็จะกลับไปอยู่ในสภาพออกซิไดซ์ (NADP+) ได้เหมือนเดิม flavin adenine dinucleotide หรือ FAD เมื่อรับอิเล็กตรอนแล้วจะอยู่ในสภาพรีดิวซ์ (FADH2) เมื่อถ่ายอิเล็กตรอนแล้ว ก็จะกลับไปอยู่ในสภาพออกซิไดซ์ (FAD) ได้เหมือนเดิม
             ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับการรับและถ่ายโอนอิเล็กตรอน เราเรียกว่าเป็นปฏิกิริยา oxido – reduction หรือปฏิกิริยารีดอกซ์ (redox reaction) ซึ่งเป็นปฏิกิริยาที่สำคัญในไฟฟ้าเคมี ซึ่งสารนำอิเล็กตรอนเหล่านี้มีประโยชน์ต่อเมแทบอลิซึมมาก เพราะ ปฏิกิริยาจำนวนมากในเมแทบอลิซึมเป็นปฏิกิริยาออกซิเดชัน – รีดักชัน ปฏิกิริยาออกซิเดชัน – รีดักชันบางชนิดให้พลังงานชีวเคมีเพื่อสร้างสาร ATP ได้
             3. สารต้นตอสำหรับกระบวนการชีวสังเคราะห์สังเคราะห์ (biosynthetic precursor) ได้แก่สารที่มีโครงสร้างง่ายๆ นับตั้งแต่คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) แอมโมเนีย (NH3) อะซิเตต (CH3COO-) รวมไปถึงกลูโคสและกรดอะมิโนที่ร่างกายได้จากการย่อยสลายอาหาร

เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร

เมแทบอลิซึมคืออะไรมีความสำคัญต่อกลไกการทำงานของร่างกายมนุษย์อย่างไร

http://jiaogulan4u.blogspot.com/2011/04/metabolism.html

การเผาผลาญคืออะไร

การเผาผลาญในร่างกาย (Metabolism) คืออะไร การเผาผลาญ คือ ปฏิกิริยาในร่างกายระดับเซลล์ที่ทำให้เกิดพลังงานแก่ร่างกาย เพื่อนำไปใช้ในการทำงานของเซลล์แต่ละเซลล์ รวมไปจนถึงพลังงานในการเคลื่อนไหวร่างกาย ย่อยสารอาหาร และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอในร่างกาย

อัตราเมตาบอลิซึมคืออะไร

อัตราเมแทบอลิซึมคืออัตราการเปลี่ยนแปลงสารอาหารโดยระบบต่างๆ ภายในร่างกาย เพื่อให้ได้เป็นพลังงานและทำให้ร่างกายเจริญเติบโต

เพราะเหตุใด สิ่งมีชีวิตจึงต้องมีกระบวนการแทบอลึซึม

คำตอบคือสำคัญมากค่ะ เพราะเรียกง่ายๆ ก็คือ ระบบนี้เป็นระบบที่ช่วยรักษาสมดุลให้กับร่างกายของพวกเรานั่นเอง เพราะไม่ว่าเราจะกินอะไรเข้าไปก็ตาม ร่างกายของเราจะมีการพิจารณาว่าสามารถนำเอาสารอาหารใดไปใช้ได้บ้าง และแน่นอนว่าถ้ามีมากจนเกินความจำเป็น ร่างกายเราก็จะเก็บรักษาสารอาหารเอาไว้ในรูปของไขมันนั่นเอง