เมืองประเทศราชคือเมืองอะไร

การปกครองในสมัยสุโขทัยจะมีลักษณะเป็นการกระจายอำนาจการบริหารจากราชธานีออกไปสู่หัวเมืองต่าง ๆ ซึ่งหัวเมืองในอาณาจักรสุโขทัยแบ่งออกเป็น 4 ชั้น ในแต่ละชั้นกษัตริย์ทรงใช้อำนาจการปกครอง ดังนี้

เมืองประเทศราชคือเมืองอะไร

ที่มารูปภาพ : https://sites.google.com/site/social00083/hawkhx-yxy1

1. เมืองหลวง (ราชธานี) อาณาจักรสุโขทัย มีกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ดังนั้นพระมหากษัตริย์ ดังนั้นพระมหากษัตริย์จึงทรงรับผิดชอบดูแลทั้งในด้านการปกครอง ด้านการศาสนา และด้านศิลปวัฒนธรรม โดยมีบรรดาขุนนางข้าราชการคอยช่วยเหลือในการดำเนินกิจการ
2. เมืองลูกหลวง (หัวเมืองชั้นใน) เป็นเมืองหน้าด่านาตั้งอยู่รายรอบราชธานีทั้ง 4 ทิศ คือ
ทิศเหนือ ได้แก่ เมืองศรีสัชนาลัย (สวรรคโลก)
ทิศใต้ ได้แก่ เมืองสระหลวง (พิจิตรเก่า)
ทิศตะวันออก ได้แก่ เมืองสองแคว (พิษณุโลก)
ทิศตะวันตก ได้แก่ เมืองนครชุม (ปากคลองสวนหมาก หน้าเมืองกำแพงเพชร)
เมืองลูกหลวงเหล่านี้ กษัตริย์จะทรงแต่งตั้งพระราชโอรส หรือเจ้านายเชื้อพระวงศ์ชั้นสูงไปปกครองดูแล โดยรับนโยบายจากเมืองหลวง
3. เมืองพระยามหานคร (หัวเมืองชั้นนอก) เป็นเมืองที่อยู่ห่างจากเมืองหลวงออกไป พระมหาษัตริย์จะทรงแต่งตั้งขุนนางชั้นสูงหรือผู้ที่มีความสามารถไปปกครองดูแล เมืองพระยามหานครในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมีหลายเมือง เช่น เมืองพระบาง เมืองเชียงทอง เมืองบางพาน เมืองบางฉลัง เป็นต้น
เมืองเหล่านี้มีลักษณะการปกครองเหมือนกับหัวเมืองชั้นใน
4. เมืองประเทศราช (เมืองขึ้น) เป็นเมืองชายแดนที่อยู่นอกราชอาณาจักร จะทรงให้ชาวพื้นเมืองเป็นเจ้าเมืองปกครองเอง พระองค์จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับการปกครองภายใน ยกเว้นกรณีที่จำเป็น
ในยามศึกสงครามหัวเมืองเหล่านี้จะต้องส่งกองทัพและเสบียงอาหารไปช่วย แต่ในยามที่ไม่มีศึกจะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาให้กับอาณาจักรสุโขทัย
ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชมีเมืองประเทศราช ดังนี้ ทิศเหนือ ได้แก่ เมืองมะละกา เมืองยะโฮร์ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ เมืองเซ่า (หลวงพระบาง) เมืองเวียงจันทน์ ทิศตะวันตก ได้แก่ เมืองทวาย เมืองหงสาวดี เมืองเมาะตะมะ

เมืองประเทศราชคือเมืองอะไร

http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/1630

เมืองประเทศราชคือเมืองอะไร

เป็น การปรับเปลี่ยนยุคสมัยจากราชวงศ์มังราย และสมัยพม่าปกครง เป็นราชวงศ์เชื้อเจ็ดตน สมัยนี้ล้านนาเกี่ยวข้องกับราชธานีศูนย์กลางอำนาจใหม่คือ ธนบุรีและรัตนโกสินทร์ ถือเป็นยุคของการฟื้นฟูบ้านเมืองหรือที่เรียกว่า ” เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง ” ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธ์นี้เองจึงอาจเป็นที่มาของงานสถาปัตยกรรมที่ หลากหลายเช่นกัน

ศูนย์กลางอำนาจเดิมยังคงอยู่ที่เชียงใหม่ แต่อย่างใรก็ตามอำนาจของเมืองต่าง ๆ คือ เมืองลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน คงมีเท่าเทียมเป็นอิสระต่อกันดังนั้นจึงถือได้ว่างานสถาปัตยกรรมในช่วงนี้มี ความหลากหลายทางด้านรูปแบบละคงเอกลักษณ์เป็นงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไว้อย่าง มาก

หลักฐานงานสถาปัตยกรรมในช่วงนี้ปรากฏทั้งงานสถาปัตยกรรมเนื่องในพุทธศาสนา ทั้งเจดีย์ วิหาร อุโบสถ หอไตร โขงพระเจ้า เป็นต้น และสถาปัตยกรรมที่อยู่าศัย อาทิสถาปัตยกรรมชนชั้นปกครอง เช่น หอคำ เค้าสนามหลวง คุ้มเจ้านาย เป็นต้น และบ้านเรือนที่อยู่าศัย เป็นต้น

สถาปัตยกรรมเนื่องในศาสนาช่วงเวลานี้มีตัวอย่างสำคัญเช่น
เจดีย์ เจดีย์วัดพระธาตุจอมยอง เมืองลำพูน ที่มีรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับเจดีย์ที่เมืองยอง ในเขตรัฐฉาน ประเทศพม่า ทั้งนี้เป็นผลจากการอพยพชาวยองหรือชาวลื้อเข้ามาอยู่ในดินแดนล้านนา

วิหาร วิหารจามเทวี วัดปงยางคก เมืองลำปาง ในเขตเชียงใหม่พบวิหารจำนวนมาก เช่น วิหารวัดต้นแกว๋น วิหารวัดป่าแดด วิหารวัดบวกครกหลวง เป็นต้น วิหารเหล่านี้ยังคงสืบทอดรูปแบบวิหารแบบเดิม โดยใช้หลังคาซ้อนกันเป็นตับ ระบบโครงสร้างม้าต่างไหม และประดับตกแต่งด้วยงานลายคำ งานแกะไม้ และงานปูนปั้น

งานประดับสถาปัตยกรรมในช่วงนี้นิยมใช้กระจกจืนหรือกระจกเกรียบประดับ นอกจากนั้นยังปรากฏรูปแบบวิหารทรงปราสาท ดังตัวอย่างเช่นวิหารวัดปงสนุก เมืองลำปาง , วิหารวัดปราสาท เมืองเชียงใหม่ เป็นต้น

อุโบสถ อุโบสถสองสงฆ์ วัดพระสิงห์ เมืองเชียงใหม่ ยังคงสืบทดรูปแบบวิหารสกุลช่างเชียงใหม่ไว้ย่างลงตัว

หอไตร หอไตรวัดดวงดี , หอไตรวัดฟ่อนสร้อย เมืองเชียงใหม่ เป็นต้น หอไตรเหล่านี้ใช้เป็นที่เก็บรักษาคัมภีร์ใบลานและพับสาต่าง ๆ นอกจากนี้ยังปรากฏหอไตรกลางน้ำด้วย ดังเช่นหอไตรวัดพุทธเอิ้น แม่แจ่ม เชียงใหม่ เป็นต้น

หอคำ หอคำลำปาง ( พบหลักฐานจากภาพถ่ายเก่า ปัจจุบันไม่ปรากฏแล้ว ) หอคำพระเจ้ามโหตรประเทศ เมืองเชียงใหม่ ได้ย้ายจากที่เดิมมาเป็นวิหารวัดพันเตาในปัจจุบัน

คุ้มเจ้านาย ปรากฏทั่วทุกเมืองในล้านนาช่วงเวลานี้ ส่วนใหญ่ปรากฏหลักฐานเป็นคุ้มเจ้านายในสมัยหลัง ใช้อาคารก่อิฐถือปูน ดังตัวอย่างสำคัญที่คุ้มเจ้าบุรีรัตน์ เมืองเชียงใหม่

นอกจากนั้นในช่วงเวลานี้ยังคงปรากฏสิ่งก่อสร้างเนื่องในวัฒนธรรมการถือผี ด้วย กล่าวคือ คงมีการสร้างหอผีอันเป็นความเชื่อในเรื่องผีรักษาพื้นที่ อาจแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือหอผีในพื้นที่สาธารณะ โดยมักจะเรียกว่า ” หอเสื้อ ” ดังเช่น หอเสื้อวัด หอเสื้อธาตุ ( ผีรักษาพระเจดีย์ ) เป็นต้น นิยมก่อสร้างเป็นงานก่ออิฐถือปูนอาจมีหรือไม่มีการประดับตกแต่งก็ได้

และหอผีในที่อยู่อาศัยอันเกี่ยวข้องกับผีบรรพบุรุษ หรือที่เรียกว่า ” ผีปู่ย่า ” โดยส่วนใหญ่ใช้เป็นอาคารหลังคาคลุมมีรูปแบบคล้ายกับเรือนที่อยู่อาศัยจริง

สถาปัตยกรรมในวามเชื่อเรื่องผีนี้คงเริ่มปรากฏหลักฐานอย่างเด่นชัดในสมัยนี้ และน่าจะส่งอิทธิพลหรือมีการสืบทอดรูปแบบมาสู่ยุคปัจจุบันด้วย

สำหรับอาคารที่อยู่อาศัยของชนชั้นปกครองระดับล่าง ( พญาต่าง ๆ, พ่อแค่วน แก่บ้านเป็นต้น ) หรือผู้คหบดีหรือ คงเป็นบ้านเรือนที่ใช้ไม้แข็งแรงสร้าง โดยนิยมเป็นเรือนใหญ่และเรือนเล็กอยู่ในพื้นที่เดียวกัน นิยมประดับกาแลในส่วนยอดจั่ว และหำยนต์ในส่วนเหนือกรอบประตู ดังเช่น เรือนพญาวงศ์ เป็นต้น สถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัยเหล่านี้มีการรวบรวมไว้ที่สำนักส่งเสริมศิลป วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ส่วนชนชั้นล่างนั้นคงอาศัยบ้านเรืนขนาดเล็ก หรือใช้วัสดุที่หาง่ายละไม่เสียค่าใช้จ่ายมากนักตามวิถีชีวิตของชาวล้านนา

เมืองประเทศราชมีเมืองอะไรบ้าง

ใน พ.ศ.2437 ทรงจัดทั้งมณฑลเทศาภิบาลขึ้น เมืองประเทศราชกลายเป็นส่วนหนึ่งของพระราชอาณาจักร เมืองประเทศราชทางเหนือ คือ นครเชียงใหม่,นครน่าน,นครลำปาง,นครลำพูน,แพร่ กลายเป็นมณฑลพายัพ เมืองประเทศราชทางใต้คือ ปัตตานี ยะลา ระแงะ(ภายหลังรวมกับอำเภอบางนรา แล้วเปลี่ยนชื่อ เป็น นราธิวาส) กลายเป็นมณฑลปัตตานี เมืองประเทศราชทางทิศ ...

ประเทศราชมีอะไรบ้าง

ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้ราชวงศ์หยวนของจีน (พ.ศ. 1813–1899), กรุงศรีอยุธยาภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (พ.ศ. 2337–2427), นครเชียงใหม่ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437)

เจ้าเมืองประเทศราชคือใคร

4. เมืองประเทศราช (เมืองขึ้น) เป็นเมืองชายแดนที่อยู่นอกราชอาณาจักร จะทรงให้ชาวพื้นเมืองเป็นเจ้าเมืองปกครองเอง พระองค์จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับการปกครองภายใน ยกเว้นกรณีที่จำเป็น

ประเทศราชมีความหมายว่าอย่างไร

(ปฺระเทดสะราด) น. เมืองที่มีเจ้าผู้ครองเมืองของตนเอง แต่อยู่ภายใต้อำนาจควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์ของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งเจ้าเมืองประเทศราชนั้นมีหน้าที่ส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในเวลาเกิดศึกสงครามต้องเกณฑ์กำลังทหารเข้าร่วมกองทัพหลวงด้วย.