ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง

ส่วนหูชั้นในหรือส่วนของคอเคลีย (Cochlea) ซึ่งมีลักษณะขดอยู่เป็นก้นหอย เมื่อกระดูกโกลนทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือนผ่านไปยังคอเคลีย ผนังด้านในจะมีเส้นใยรูปร่างคล้ายต้นกกสองถึงสามหมื่นเส้น ขณะที่คลื่นเสียงเดินทางเข้าไปมันจะไปพบกันเส้นใยที่มีคลื่นความถี่เรโซแนนซ์ (Resonant frequency) เดียวกัน ทำให้เกิดพลังงาน เส้นไฟเบอร์เหล่านี้ไม่ใช่สิ่งที่ส่งสัญญาณไปยังสมองของเราโดยตรง แต่ใกล้ๆกันจะมีอวัยวะส่วนพิเศษที่มีเซลล์ขน (Hair cell) เมื่อเส้นใยเกิดการสั่นเซลล์ขนเหล่านี้จะเคลื่อนไหวและส่งสัญญาณไฟฟ้าไปยังเส้นประสาทของคอเคลียและต่อไปยังสมอง โดยระดับความถี่เสียงที่แตกต่างกันจะทำให้เกิดการสั่นสะเทือนในตำแหน่งเฉพาะ และเสียงที่ดังกว่าก็จะทำให้เซลล์ขนเคลื่อนไหวมากกว่า สมองจะทำหน้าที่ตีความข้อมูลดิบที่ถูกส่งไปนี้ ทำให้เราได้ยินเสียงที่เกิดขึ้น ในระดับความดังและความถี่ต่างๆ เราเลยสามารถเพลิดเพลินไปกับเสียงดนตรี หรือฟังบทสนทนากับคนที่เรารักได้

ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง
ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง

     ��÷�褹��������ͧ��ҧ �Ъ����������ö�͡���觷���Ңͧ���§������Ҩҡ��ȷҧ�
�� ������§�Ҩҡ�ҧ������ �٢�ҧ��Ҩ����Թ���§��͹�٢�ҧ������硹��� ���٢ͧ��
���Ԩ�����ö�Ѻ���§����դ����ѧ�ͧ���§����ش 0 ഫ��� (decibel:dB) ����٧�ش 120
ഫ��� (�������ͧ�������§ ����� 20-20,000 ���õ��) �дѺ���§����դ�����ʹ����
������Թ����Ѻ������ ��� �����ѧ����ҳ 75 ഫ��� (decibel:dB) ���͹��¡���
     ���ͧ�ҡ���§�������ʷ���դ����Ӥѭ��ͤ�����դ����������ҧ�ҡ��͡�����¹���
��������� ��ШԵ� �����§���Ҩ���ѹ���µ�ͤ����蹡ѹ ������§������Թ����դ���
�ѧ�ҡ�Թ�������Ѻ�ѧ�����ҹҹ ���ռš�з���͡�����Թ���Դ����٭����
������Թ��������

ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง
�����ѧ�ͧ���§�дѺ㴷������ѹ���µ�͡�����Թ
�ͧ�س

� �ͧ���֡�Ҩҡ���������������§�ѹ��Д

���������������§������� ? ʧ��¨ѧ

ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง


       �繡�����º��º�����ѧ�ͧ���§�Ѻ�дѺ�س����Է���٧��鹫���Ѵ����
������������ ������س������٧��鹫�����¶֧�͡�ʷ������ѹ���µ����ҧ������ҡ���
㹷ӹͧ���ǡѹ ��Ҥ����ѧ�ͧ���§����Ѵ����˹���ഫ��� (decibel:dB) �ҡ���
����ռš�з���͡�����Թ�ͧ�ؤ�Ź���蹡ѹ ���ѹ���µ�͡���٭���¡�����Թ���
�ѡ���Դ��鹪��� ����������դ����纻Ǵ ��駹��������Ѻ�Ѩ��� 2 ��С�ä�� �дѺ�����ѧ
�ͧ���§����������ҷ�����Թ���§��鹵Դ��͡ѹ �·ء� 5 ഫ��ŷ����������ѡ�з����
������ʹ��µ�͡�����ԹŴŧ����˹�� �дѺ�����ѧ���㴷������ѹ���µ�͡�����Թ
�������������ö�֡����ҡ ����������������§�

ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง

��õ�Ǩ������Թ�����ҧ�� ���繵�ͧ��Ǩ�ء���������

ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง

ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง

เสียงที่เราได้ยิน คือ อัตราการถ่ายโอนพลังงานของแหล่งกำเนิดเสียงต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรือที่เรียกว่า “กำลังเสียง” (Power of sound wave) ซึ่งมีหน่วยเป็นจูลต่อวินาที (J/s) หรือ “วัตต์” (Watt)

โดยเสียงเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดในลักษณะของการแผ่ขยายออกไปในรูปทรงกลม มีแหล่งกำเนิดเสียงเป็นจุดศูนย์กลาง ซึ่งกำลังของเสียงที่ส่งออกจากแหล่งกำเนิดต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ผิวทรงกรม เรียกว่า “ความเข้มของเสียง” (Intensity) และระดับความเข้มของเสียงนั้น ถูกตรวจวัดในรูปของ “ความดัง” (Volume) ในหน่วยเดซิเบล (Decibel) ซึ่งมนุษย์สามารถรับรู้ถึงเสียงได้ตั้งแต่ที่ระดับเสียง 0 จนถึงราว 120 เดซิเบล โดยเสียงที่ดังเกินกว่า 120 เดซิเบล คือเสียงที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้รับฟังได้

นอกจากนี้ ความเข้มของเสียงยังขึ้นอยู่กับระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงและผู้รับ เพราะเมื่อคลื่นเสียงเคลื่อนที่ออกห่างจากแหล่งกำเนิดมากขึ้นเท่าใด ความเข้มและความดังของเสียงจะลดลงเท่านั้น

นอกจากความเข้มของเสียงแล้ว “ความถี่” (Frequency) ของคลื่นเสียง ยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญต่อการได้ยินเสียงของมนุษย์ ความถี่มีหน่วยเป็น “เฮิรตซ์” (Hertz) ซึ่งมนุษย์สามารถรับคลื่นเสียงที่ระดับความถี่ ตั้งแต่ 20 ถึง 20,000 เฮิรตซ์ หรือเป็นช่วงความถี่ที่เรียกว่า “โซนิค” (Sonic)

มนุษย์สามารถรับเสียงได้ดีที่สุด ในช่วงความถี่ 1,000 ถึง 6,000 เฮิรตซ์ โดยเสียงที่มีระดับความถี่ต่ำกว่า 20 เฮิรตซ์ เรียกว่า “คลื่นใต้เสียง” หรือ “อินฟราโซนิค” (Infrasonic) เสียงที่เกิดจากแหล่งกำเนิดขนาดใหญ่ เช่น การสั่นสะเทือนของสิ่งก่อสร้าง เป็นเสียงที่มนุษย์ไม่สามารถรับรู้ได้เช่นเดียวกับคลื่นเสียงที่มีความถี่สูงกว่า 20,000 เฮิรตซ์ หรือที่เรียกว่า “คลื่นเหนือเสียง” หรือ “อัลตร้าโซนิค” (Ultrasonic)  แต่สัตว์บางชนิด เช่น ค้างคาว หรือโลมา สามารถใช้ประโยชน์คลื่นเสียงในความถี่นี้ ในการสื่อสารและการระบุตำแหน่งได้

นอกจากนี้ แหล่งกำเนิดเสียงต่างกันยังให้กำเนิดเสียงในช่วงความถี่ที่ต่างกันอีกด้วย โดยที่มนุษย์เราสามารถจำแนกเสียงต่างๆตามระดับเสียง (Pitch) หรือเรียกเสียงที่มี “ความถี่ต่ำ” ว่า “เสียงทุ้ม” และเรียกเสียงที่มี “ความถี่สูง” ว่า “เสียงสูง/แหลม” ซึ่งแตกต่างจากระดับความดังเบาของเสียงที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของแหล่งกำเนิดเสียงหรือความเข้มของเสียง โดยมีแหล่งกำเนิดเสียง คุณสมบัติของตัวกลาง และระยะทางที่ส่งผลต่อระดับความดังเบาของเสียง

การรับเสียงของมนุษย์

หู (Ear) เป็นอวัยวะที่ใช้ในการรับเสียงของมนุษย์ โดยมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน ได้แก่

1) หูชั้นนอก ประกอบด้วยใบหูซึ่งจะทำหน้าที่รับคลื่นเสียง ก่อนส่งเสียงไปตามช่องหูจนถึงชั้นเยื่อแก้วหู (Tympanic membrane) ซึ่งกั้นระหว่างหูชั้นนอกและหูชั้นกลาง

2) หูชั้นกลาง มีลักษณะเป็นโพรงอากาศ ประกอบด้วยกระดูกขนาดเล็ก 3 ชิ้น ที่เรียงต่อกันเป็นโซ่ที่เรียกว่า “ค้อน” (Malleus) “ทั่ง” (Incus) และ “โกลน” (Stapes) ทำหน้าที่รับแรงสั่นสะเทือนและขยายเสียงต่อจากเยื่อแก้วหูก่อนส่งต่อไปยังหูชั้นใน

3) หูชั้นใน ประกอบด้วยอวัยวะรูปก้นหอย หรือ “คลอเคลีย” (Cochlea) ภายในบรรจุของเหลวและเซลล์ขนจำนวนมากที่ทำหน้าที่รับเสียงจากกระดูกโกลนในหูชั้นกลาง ก่อนแปลงเป็นสัญญาณส่งไปยังโสตประสาทและสมอง ซึ่งทำหน้าที่จำแนก แยกแยะ และแปลความหมายของคลื่นเสียงต่างๆ

ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง
ความถี่เสียงช่วงใดที่หูของคนไม่ได้ยินเสียง
ลักษณะภายวิภาคของหู

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเสียง

แสงเดินทางเร็วกว่าเสียงหลายล้านเท่า

เสียงในธรรมชาติที่ดังที่สุด คือ เสียงจากการระเบิดของภูเขาไฟ

หากเราเดินทางเร็วกว่าเสียงจะก่อให้เกิดการทะลุกำแพงเสียง (Sound barrier) หรือก่อให้เกิดคลื่นกระแทกที่เรียกว่า “โซนิคบูม” (Sonic boom) คือการชนกันของคลื่นเสียงในอากาศ เพราะว่าแหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่เร็วกว่าเสียงของมันเอง เช่น การบินของเครื่องบินเจ็ตที่ก่อให้เกิดคลื่นกระแทกคล้ายวงกลมสีขาวด้านหลัง ซึ่งเกิดจากการควบแน่นของไอน้ำในอากาศ

เมื่อวัตถุถูกทำให้สั่นด้วยความถี่ตรงกับความถี่ธรรมชาติ (Natural frequency) ของวัตถุนั้น จะทำให้เกิด “ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์” (Resonance) ขึ้น ซึ่งเป็นการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรงจากการสะสมพลังงานไว้เป็นจำนวนมากของวัตถุชิ้นนั้น ส่งผลให้เกิดเสียงที่มีระดับความดังมากขึ้นกว่าปกติ โดยมนุษย์ได้นำหลักการนี้ มาใช้ในการสร้างเครื่องดนตรีหลายชนิด เช่น ซอ กีตาร์ และไวโอลิน

ถ้าเราสามารถเปล่งเสียงต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลา 8 ปี 7 เดือน 6 วัน เราสามารถอุ่นกาแฟหนึ่งแก้วให้ร้อนได้ด้วยพลังงานจากคลื่นเสียงของเราเอง

มนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่ช่วงความถี่กี่เฮิรตซ์

คนเราได้ยินเสียงที่ความถี่ 20 - 20,000 เฮิรตซ์ ความถี่ที่ต ่ำกว่า 20 เฮิรตซ์ เรียกว่า คลื่นใต้เสียง (infrasound) ความถี่ที่สูงกว่า 20,000 เฮิรตซ์ ขึ้นไป เรียกว่า คลื่นเหนือเสียง (ultrasound) จะเห็นได้ว่า

ข้อใดคือช่วงของระดับเสียงที่หูมนุษย์สามารถได้ยินและไม่เป็นอันตรายต่อการได้ยิน

ปกติจะสามารถรับเสียงที่มีความดังของเสียงต่ำสุด 0 เดซิเบล (decibel:dB) และสูงสุด 120. เดซิเบล (ความถี่ของคลื่นเสียง ตั้งแต่ 20-20,000 เฮิรตซ์) ระดับเสียงที่มีความปลอดภัยใน การได้ยินสำหรับมนุษย์ คือ ความดังประมาณ 75 เดซิเบล (decibel:dB) หรือน้อยกว่า

คนหูหนวก จะสูญเสียการได้ยินอยู่ในระดับใด

ระดับการได้ยินน้อยกว่าหรือเท่ากับ 25 เดซิเบล เป็นการได้ยินปกติ ระดับ 1 การได้ยิน 26-40 เดซิเบล มีภาวะหูตึงเล็กน้อย ระดับ 2 การได้ยิน 41-60 เดซิเบล มีภาวะหูตึงปานกลาง ระดับ 3 การได้ยิน 61-80 เดซิเบล มีภาวะหูตึงอย่างรุนแรง ระดับ 4 การได้ยิน 81 เดซิเบล ขึ้นไป มีภาวะหูหนวก

คลื่นเสียงชนิดใดที่มีความถี่ต่ำกว่าช่วงความถี่ที่มนุษย์ได้ยิน

และเสียงที่ต่ำกว่า 20 หรือเรียกอีกอย่างว่าเสียงที่อยู่ต่ำกว่าการได้ยินของมนุษย์คือ คลื่นใต้เสียง (Infrasound) หรือคลื่นอินฟราโซนิค (infrasonic wave)