ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการสูญเสียน้ำออกจากร่างกาย

การขาดน้ำ...อันตรายกว่าที่คิด

          ชีวิตมนุษย์ออฟฟิศอย่างเราๆ ในแต่ละวัน มักใช้เวลาหมดกับการเอาจริงเอาจังกับการทำงาน จนหลงลืมบางสิ่งที่สำคัญไป เช่น การดื่มน้ำ


          กิจวัตรง่ายๆ ที่เราลืมกันไปเลย ในภาวะร่างกายที่ปกติแข็งแรง เราก็จะใช้พลังงานจากร่างกายอย่างเต็มที่ จนบางเราก็ความต้องการเล็กๆ น้อยๆ ที่เราไม่ทันสังเกตว่าร่างกายส่งสัญญาณเรียกร้องออกมา ทำให้เราละเลยมันไป นานวันเข้า เมื่อเราหลงลืมไม่ใส่ใจดูแลร่างกายบ่อยๆ ก็อาจเกิดผลเสียอย่างใหญ่หลวงได้ วันนี้เรามาสังเกตสัญญาณบอกเหตุว่าร่างกายของเราขาดน้ำแล้วกันเถอะค่ะ

          แต่ก่อนที่จะสังเกตอาการเรามารู้กันก่อนว่า สาเหตุง่ายๆ ที่ร่างกายขาดน้ำก็คือ การดื่มน้ำน้อยเกินไป หรือ ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายในแต่ละวัน ที่เกิดจากการเสียเหงื่อหลังออกกำลังกายอย่างหนัก หรือการสูญเสียน้ำในร่างกาย มากกว่าปกติในหน้าร้อนที่มีอุณหภูมิความร้อนสูงมากจนทำให้เป็นโรคลมแดด หน้ามืด วิงเวียนศรีษะ และเป็นลมได้

  • กระหายน้ำ
  • อ่อนเพลีย / เหนื่อยง่าย
  • ปวดศรีษะ / วิงเวียนศรีษะ
  • ปัสสาวะน้อย 4-6 ชั่วโมง / 1 ครั้ง
  • ชีพจรเต้นเร็ว หายใจ หอบถี่
  • ความดันโลหิตต่ำ บางรายอาการรุนแรง จนเกิดอาการชักได้

ดูแลตัวอย่างไร เมื่อร่างกายขาดน้ำ

  • ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย 4-8 แก้ว ต่อวัน (แก้วน้ำขนาด 200มล.)
  • ในกรณีที่ร่างกายขาดน้ำ เนื่องจากอาการท้องเสีย นอกจากดื่มน้ำแล้ว ควรดื่มน้ำเกลือแร่ เพื่อลดอาการอ่อนเพลีย จากการสูญเสียน้ำในร่างกายไปด้วย
  • หลีกเลี่ยงสถานที่อบอ้าว ควรหาจุดที่อากาศถ่ายเท ร่มรื่น เพื่อระบายความร้อนออกจากร่างกาย

               ขอบคุณบทความดีๆ จาก

ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการสูญเสียน้ำออกจากร่างกาย

            นพ.วีระยุทธ บุญเกียรติเจริญ


โรงพยาบาลเปาโล รังสิต โทร 0-2577-8111

เป็นตัวกลางในการเกิดปฏิกิริยาเคมีทุกชนิด ในกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย ปฏิกิริยาเคมีในร่างกายทุกชนิดต้องอาศัยน้ำ เซลล์จะไม่สามารถทำงานได้ถ้าไม่มีน้ำ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ กระบวนการการย่อยอาหาร กระบวนการดูดซึมอาหาร และกระบวนการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย น้ำที่เป็นของเหลวของเลือด ทำหน้าที่ขนส่งอาหารและออกซิเจนให้แก่เซลล์ อีกทั้งนำของเสียและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์มาขับถ่ายออกจากร่างกาย กระบวนการไหลเวียนเลือด และกระบวนการขับถ่ายของเสียในร่างกายไม่สามารถเกิดขึ้นได้

นอกจากนี้น้ำช่วยให้การขับถ่ายกากอาหารในลำไส้ใหญ่เป็นไปโดยสะดวก ความผิดปกติของการถ่ายอุจจาระเกิดขึ้น เนื่องจากขาดสมดุลของการดูดซึมน้ำกลับเข้าสู่เซลล์ลำไส้ เชื้อโรคที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคอุจจาระร่วงหลายชนิด สร้างสารพิษที่มีผลต่อกลไกการควบคุมสมดุลสารน้ำภายในลำไส้

สารพิษรวมทั้งสารเคมีในร่างกายที่อาจเป็นพิษ ถูกกำจัดออกจากร่างกายโดยอาศัยน้ำ เลือดทำหน้าที่ขนส่งสารเหล่านั้นไปทั่วร่างกายซึ่งสารนั้นละลายในน้ำ ตับเป็นอวัยวะสำคัญในการทำลาย หรือเปลี่ยนแปลงสารพิษด้วยกลไกทางเคมีมากมาย หลายชนิด บางคนกล่าวเปรียบเทียบว่าตับเป็นโรงงานผลิตเอนไซม์ที่ทรงพลัง มากกว่าโรงงานใด ๆ ในโลก กระบวนการขับถ่ายสารพิษเกิดขึ้นร่วมกับการขับถ่ายทางปัสสาวะและอุจจาระ และน้ำช่วยควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย และช่วยรักษาระดับความเป็นกรดด่างของเลือดรวมทั้งของเหลวต่าง ๆ ในร่างกาย น้ำช่วยระบายความร้อนของร่างกายในรูปของเหงื่อ ซึ่งถือเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพยิ่ง
การสูญเสียน้ำ

ร่างกายเรามีกาสูญเสียน้ำรวมทั้งสิ้นประมาณ 3–5 ลิตร ซึ่งใกล้เคียงกับปริมาณที่ได้รับเลยทีเดียว ปริมาณของน้ำในร่างกายคนไม่แน่นอน ขึ้นกับอายุ ปริมาณของไขมันในร่างกาย และกิจกรรมของแต่ละคน คนที่ทำงานหนักกลางแจ้งอาจสูญเสียน้ำ 5 –12 ลิตรต่อวัน หรือคนที่มีโรคภัยไข้เจ็บก็อาจเสียสมดุลของน้ำในร่างกายได้ง่าย โดยร่างกายจะสูญเสียน้ำทาง

- ผิวหนัง มีทั้งที่เรามองเห็นออกมาในรูปของเหงื่อ และน้ำที่ระเหยไปโดยที่เรามองไม่เห็น
- ปอด โดยการหายใจออก
- ทางอุจจาระ
- ทางปัสสาวะ

แล้วเราควรดื่มน้ำ ปริมาณ หรือ มากแค่ไหนใน 1 วัน ??

เราควรพยายามดื่มน้ำให้เป็นนิสัยโดย สำหรับผู้ชายควรดื่มไม่น้อยกว่า  3.7 ลิตร/วัน และหญิงควรไม่น้อยกว่า  2.7 ลิตรต่อวัน หรือวิธีง่ายๆ ก็สังเกตสีของปัสสาวะ ถ้าหากปัสวะมีสีเข้มแสดงว่าเราดื่มน้ำน้อยไป ถ้าหากสีปัสาวะต้องมีสีเหลือจางๆสภาพใส ไร้มูกหรือสิ่งเจอปนถือว่าอยู่ในระดับปรกติ

หวังว่าทุกคน คงจะให้ความสำคัญกับการดื่มน้ำมากขึ้นและ ฝึกให้เป็นความเคยชินถึงแม้บางครั้งเราไม่รู้สึกหิวกระหายน้ำก็ตาม และลดการดื่มน้ำหวาน น้ำอัดลม กาแฟ ชานมไข่มุก มาดื่มน้ำเปล่าในอุณภูมิห้องปรกติเป็นประจำเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด สำหรับคนที่ออกกำลังกาย ระหว่างออกควรจิบน้ำไปด้วยเป็นระยะ จิบ เพราะขณะที่เราออกกำลังกายร่างกายเราจะสูญเสียน้ำเพื่อระบายความร้อน ออกมาในรูปของเหงื่อ ถ้าเราไม่จิบน้ำอาจเกิดภาวะร่างกายขาดน้ำได้ง่าย

หน้าที่สำคัญที่สุดของน้ำ คือ เป็นตัวกลางในการเกิดปฏิกิริยาเคมีทุกชนิดในกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย ปฏิกิริยาเคมีในร่างกายทุกชนิดต้องอาศัยน้ำ เซลล์จะไม่สามารถทำงานได้ถ้าไม่มีน้ำ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ กระบวนการการย่อยอาหาร กระบวนการดูดซึมอาหาร และกระบวนการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย

น้ำที่เป็นของเหลวของเลือดทำหน้าที่ขนส่งอาหารและออกซิเจนให้แก่เซลล์ อีกทั้งนำของเสียและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์มาขับถ่ายออกจากร่างกาย กระบวนการไหลเวียนเลือดและกระบวนการขับถ่ายของเสียในร่างกายไม่สามารถเกิดขึ้นได้

ถ้าปราศจากสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
น้ำช่วยให้การขับถ่ายกากอาหารในลำไส้ใหญ่เป็นไปโดยสะดวก ความผิดปกติของการถ่ายอุจจาระเกิดขึ้นเนื่องจากขาดสมดุลของการดูดซึมน้ำกลับเข้าสู่เซลล์ลำไส้ เชื้อโรคที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคอุจจาระร่วงหลายชนิดสร้างสารพิษที่มีผลต่อกลไกการควบคุมสมดุลสารน้ำภายในลำไส้

สารพิษ รวมทั้งสารเคมีในร่างกายที่อาจเป็นพิษ ถูกกำจัดออกจากร่างกายโดยอาศัยน้ำ เลือดทำหน้าที่ขนส่งสารเหล่านั้นไปทั่วร่างกายซึ่งสารนั้นละลายในน้ำ ตับเป็นอวัยวะสำคัญในการทำลายหรือเปลี่ยนแปลงสารพิษด้วยกลไกทางเคมีมากมายหลายชนิด บางคนกล่าวเปรียบเทียบว่าตับเป็นโรงงานผลิตเอนไซม์ที่ทรงพลังมากกว่าโรงงานใดๆในโลก กระบวนการขับถ่ายสารพิษเกิดขึ้นร่วมกับการขับถ่ายทางปัสสาวะและอุจจาระ

เหตุการณ์ใดบ้างที่ทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำ

ภาวะขาดน้ำ (Dehydration) คือภาวะที่ร่างกายสูญเสียน้ำมากกว่าที่ได้รับ ทำให้กระหายน้ำและปัสสาวะมีสีเข้ม มักมีสาเหตุมาจากการอาเจียน ท้องเสีย การออกกำลังกาย หรือการใช้ยาบางชนิด สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกวัย แต่มักเกิดขึ้นได้มากกับทารก เด็กเล็ก และผู้สูงอายุ หากร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไปจะทำให้เซลล์ เนื้อเยื่อ และอวัยวะต่าง ...

ร่างกายได้รับน้ำมากที่สุดและสูญเสียออกจากร่างกายมากที่สุดทางใด

ร่างกายได้รับน้ำ ปริมาณมากที่สุดจากเครื่องดื่ม 1,600 มิลลิลิตรและสูญเสียน้ำ ปริมาณมากที่สุด ออกไปกับปัสสาวะ 1,500 มิลลิลิตร ความรู้เพิ่มเติมสำ หรับครู น้ำ ในร่างกายแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ น้ำ ภายในเซลล์ (intracellular fluid ; ICF)

ร่างกายจะตอบสนองต่อภาวะขาดน้ำอย่างไร

อาการกระหายน้ำ และริมฝีปากแห้ง เวียนศีรษะ โดยเฉพาะอยู่ในท่ายืน เนื่องจากความดันโลหิตต่ำ และเมื่อสูญเสียน้ำในระดับที่รุนแรง จะก่อให้เกิดอาการสับสน ซึ่งเป็นผลมาจากออกซิเจนภายในสมองไม่เพียงพอ ผิวหนังจะสูญเสียความยืดหยุ่น อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น ด้วยร่างกายพยายามรักษาความดันโลหิตให้อยู่ในระดับที่ปกติ

ปัจจัยใดที่ส่งผลลดการหลั่งของฮอร์โมน ADH

ถ้าเราดื่มน้ำมากเกินไปซึ่งได้ร่วมกับการดื่มแอลกอฮอล์ทำให้สารเหลวในร่างกายจะเจือจางลง ฮอร์โมน ADH จะถูกหลั่งออกมาน้อยลง ไตจะขับปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ความเข้มข้นปกติ การดื่มแอลกอฮอล์จะร่วมยับยั้งการหลั่งฮอร์โมน ADHอีกด้วย ทำให้ปัสสาวะบ่อยมีผลให้สารน้ำในร่างกายต่ำ ทำให้ความดันโลหิตต่ำ รู้สึกมึนงง ปวดศีรษะ และกระหาย ...