โครงสร้างประชากรของไทยมีลักษณะอย่างไร

  • ประเด็นวิจัย
    • โควิด-19
    • โมเดลใหม่ในการพัฒนาประเทศ
    • ระบบเศรษฐกิจ
    • นโยบายพลังงาน
    • นโยบายสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาสีเขียว
    • นโยบายเกษตรและการจัดการน้ำ
    • นโยบายการศึกษา
    • นโยบายแรงงาน
    • นโยบายนวัตกรรม
    • กฎหมายเพื่อการพัฒนา
    • ระบบขนส่งสาธารณะ
    • สิทธิและสวัสดิการสังคม
    • การต่อต้านคอร์รัปชัน
    • เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
  • ทีดีอาร์ไอชวนอ่าน
    • Policy Pop up
    • งานวิจัย
    • ข่าว
    • บทความ
    • บทสัมภาษณ์
    • สิ่งพิมพ์
    • อินโฟกราฟฟิก
  • คิดยกกำลังสอง
  • คลิปความรู้
    • คลิปข่าว
    • Daily In Depth
    • กิจกรรมและสัมมนา
  • กิจกรรมความรู้
    • งานสัมมนาวิชาการประจำปี
    • งานสัมมนา
    • งานแถลงข่าว
    • กิจกรรมความรู้
  • เกี่ยวกับเรา
    • เกี่ยวกับเรา
    • กรรมการและผู้บริหารสถาบัน
    • บุคลากร
    • เส้นทางนักวิจัย
    • ร่วมงานกับเรา
    • ติดต่อเรา

Menu

  • ประเด็นวิจัย
    • โควิด-19
    • โมเดลใหม่ในการพัฒนาประเทศ
    • ระบบเศรษฐกิจ
    • นโยบายพลังงาน
    • นโยบายสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาสีเขียว
    • นโยบายเกษตรและการจัดการน้ำ
    • นโยบายการศึกษา
    • นโยบายแรงงาน
    • นโยบายนวัตกรรม
    • กฎหมายเพื่อการพัฒนา
    • ระบบขนส่งสาธารณะ
    • สิทธิและสวัสดิการสังคม
    • การต่อต้านคอร์รัปชัน
    • เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
  • ทีดีอาร์ไอชวนอ่าน
    • Policy Pop up
    • งานวิจัย
    • ข่าว
    • บทความ
    • บทสัมภาษณ์
    • สิ่งพิมพ์
    • อินโฟกราฟฟิก
  • คิดยกกำลังสอง
  • คลิปความรู้
    • คลิปข่าว
    • Daily In Depth
    • กิจกรรมและสัมมนา
  • กิจกรรมความรู้
    • งานสัมมนาวิชาการประจำปี
    • งานสัมมนา
    • งานแถลงข่าว
    • กิจกรรมความรู้
  • เกี่ยวกับเรา
    • เกี่ยวกับเรา
    • กรรมการและผู้บริหารสถาบัน
    • บุคลากร
    • เส้นทางนักวิจัย
    • ร่วมงานกับเรา
    • ติดต่อเรา

ภาพความเปลี่ยนแปลงของประชากรไทย

ภาพความเปลี่ยนแปลงของประชากรไทย

วันที่2014-10-02
  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

ในช่วงที่ผ่านมา จำนวนประชากรของไทยมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มาดูกันว่า โครงสร้างประชากรของไทย การกระจายตัวของประชากรกลุ่มต่างๆ ในภูมิภาค รวมไปถึงลักษณะสำคัญทางประชากร เศษฐกิจและสังคม มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร และภาพในอนาคตของโครงสร้างประชากรไทยจะเป็นอย่างไร

จัดทำโดย ทีดีอาร์ไอ ภายใต้โครงการแผนงานสนับสนุนวิชาการเพื่อการขับเคลื่อนระบบสวัสดิการสังคม ซึ่งสนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ThaiPublica > ประเด็นสืบสวน > โครงสร้างประชากร 30 ปีข้างหน้า (1) : สิ่งที่ทุกคนต้องตระหนักในวันนี้ คนไทยเข้าสู่สังคมคนแก่เร็วกว่าใครในอาเซี่ยน 20 ปี

โครงสร้างประชากรกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ หรือสังคมคนแก่ เป็นประเด็นที่ได้ยินบ่อยมากขึ้นในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา หลายคนมองเป็นเรื่อง “ไกลตัว” แต่ความจริงเป็นเรื่อง “ใกล้ตัว” อย่างคาดไม่ถึง และเป็น “โจทย์” ที่ทุกคน ทุกภาคส่วน ต้องรับมือตั้งแต่วันนี้

เพราะประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ (aging society) มาตั้งแต่ปี 2547

และจะเข้าสู่ “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” ในปี 2574

จากรายงาน “การศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบเชิงนโยบายต่อการพัฒนาประเทศจากผลการคาดประมาณประชากรของไทย พ.ศ. 2553-2583” จัดทำโดย “คณะอนุกรรมการคาดประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583” สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ซึ่งเผยแพร่เมื่อกุมภาพันธ์ 2556 มีข้อมูลตัวเลขสถิติที่น่าสนใจ คือ

ในปี 2553 ประเทศไทยมีประชากรอายุ 65 ปี ขึ้นไปคิดเป็นสัดส่วน 9% ของประชากรทั้งหมด และจะเพิ่มขึ้นเป็น 14% ในปี 2564 และจะเพิ่มขึ้นเป็น 20% ในปี 2574 เมื่อนั้นจะเรียกประเทศไทยว่าเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” ได้แล้ว

ขณะที่ สหประชาชาติคาดการณ์ว่า สัดส่วนผู้สูงอายุของไทยมากกว่าประเทศอื่นๆ ในอาเซียน และไทยก้าวเข้าสู่สังคมคนแก่เร็วกว่าประเทศส่วนใหญ่ในอาเซียนประมาณ 20 ปี

โครงสร้างประชากรของไทยมีลักษณะอย่างไร

นอกจากไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงวัยแล้ว มีอีกปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กันคือ อัตราการเพิ่มของประชากรลดลง

เมื่อ 50 ปีก่อน อัตราการเพิ่มประชากรเคยสูงมากเกิน 3% ต่อปี แต่ปัจจุบันลดลงเหลือ 0.5% ต่อปี และแนวโน้มจะลดต่ำลงและมีอัตราเข้าใกล้ศูนย์ หรืออาจจะติดลบหลังปี 2569

ส่วนอัตราเจริญพันธุ์รวมหรือจำนวนบุตรเฉลี่ยต่อสตรีคนหนึ่งตลอดวัยเจริญพันธุ์ ซึ่งเคยสูงมากกว่า 5 คนก่อนมีโครงการวางแผนครอบครัวแห่งชาติ ได้ลดลงเหลือ 1.6 คนในปี 2553 และจะเป็น 1.3 คนในปี 2583

นอกจากนี้ ภาพรวมประชากรไทยกำลังอยู่ในสภาพ “คงตัว” คือ จำนวนประชากรจะไม่เพิ่มขึ้นไปจากที่มีอยู่ในปัจจุบันที่มีจำนวน 64 ล้านคน (ไม่นับรวมแรงงานย้ายถิ่นจากประเทศเพื่อนบ้าน) ตลอดช่วง 30 ปีข้างหน้า โดยประชากรไทยจะมีจำนวนสูงสุด 66.4 ล้านคน ในปี 2569 หลังจากนั้นจะปรับลดลงอยู่ในสภาพคงตัว

แนวโน้มโครงสร้างประชากรในอีก 30 ปีข้างหน้า แตกต่างจากในรอบ 50 ปีที่ผ่านมาอย่างมาก

โดยในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา ประชากรไทยเพิ่มขึ้นมากกว่าเท่าตัว คือ จากประมาณ 26 ล้านคน ในปี 2503 เพิ่มขึ้นเป็น 63.8 ล้านคนได้ในปี 2553

ภายใต้สถานการณ์จำนวนประชากรเริ่มคงที่ เด็กเกิดน้อยลง คนแก่เพิ่มขึ้นเร็ว ย่อมส่งผลกระทบเชิงนโยบายต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในด้านต่างๆ อาทิ ด้านแรงงาน ด้านการศึกษา ด้านฐานะการคลัง ด้านสิ่งแวดล้อม และสวัสดิการผู้สูงอายุ เป็นต้น

เพราะฉะนั้น ปัญหาโครงสร้างประชากรกำลังเป็น “โจทย์” ท้าทายประเทศไทย และเป็นเรื่องใกล้ตัวของทุกๆ คน ที่ต้องเตรียมตัวพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

อ่านเพิ่มเติม 1.เสวนา “เกิดน้อย ด้อยคุณภาพ อนาคตประเทศไทยไปทางไหน” … ถ้าให้รัฐทำ เจ๊งแน่!
2.ThaiPublica Forum “สุมหัวคิด” หนี้สาธารณะรัฐบาลไทย โอกาส-ความเสี่ยงกับภาวะ fiscal Cliff ในอนาคต

โครงสร้างประชากรมีอะไรบ้าง

-โครงสร้างประชากร (Population structure) หมายถึง ส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ก าหนดขึ้นจาก ลักษณะต่าง ๆ ของประชากร เช่น อายุ เพศ การศึกษา เชื้อชาติ ศาสนา อาชีพและอื่นๆ -พีระมิดประชากร (population pyramid) หมายถึง รูปกราฟแท่งแนวนอน ที่แสดงให้เห็น โครงสร้างของประชากรจ าแนกตามเพศและหมวดอายุ (ส่วนใหญ่ 5 ปี) โดยอาจแสดงเป็นจ านวน ...

ลักษณะประชากรของไทยมีแนวโน้มเป็นอย่างไร

โดยมีการคาดการณ์ว่า ประชากรไทยจะเพิ่มขึ้นสูงสุดเกือบ 70 ล้านคน (69,685,486 คน) ในปี 2025 ก่อนที่จะมีแนวโน้มลดลงเหลือ 65,372,345 คน ในปี 2050 หล่นไปอยู่อันดับที่ 31 ของโลก

พีระมิดประชากรของประเทศไทยมีลักษณะเป็นแบบใด

2. พีระมิดแบบคงที่(stationary pyramid) เป็นพีระมิดประชากรที่มีรูปแบบคล้าย ทรงกรวยปากแคบ หรือมีโครงสร้างประชากรในแต่ละช่วงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ ซึ่งแสดงถึง รูปแบบของอัตราการเกิดและอัตราการตายของประชากรที่ต่ํา พบโครงสร้างประชากรแบบนี้ได้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ไทย เป็นต้น

สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากรอย่างไรบ้าง

ประเทศไทยเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากรศาสตร์ครั้งสำคัญ คือ มีอัตราการเจริญพันธุ์ต่ำและประชากรสูงอายุอย่างรวดเร็ว UNFPA ประเทศไทยสนับสนุนการพัฒนานโยบายประชากรแบบใหม่ที่เน้นการคาดการณ์และจัดการผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจจากการเปลี่ยนแปลงนี้ นอกจากการเปลี่ยนผ่านสู่สังคมสูงวัยแล้ว UNFPA ประเทศไทยยังทำงานร่วมกับ ...